นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 12:23
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 12:25
คุณลี ขอถามเลยนะ มีที่ประเทศไหนไหนโลก ที่ขึ้นค่าแรง เกือบ 100 % แบบเราบ้าง
คุณยกตัวอย่างจีน มา แต่จีนก้อไม่ได้ขึ้น ทีเดียว เกือบ 100 %
เค้าก้อขึ้นไปทีละขั้น 20-30 % ก้อว่ากันไป
ผมว่าเราต้อง ว่ากันที่ข้อมูลที่ถูกต้อง...
http://www.apecthai....news.php?id=848
จาก LINK นะครับ..
1/1/54 รัฐบาล ม้าก ปรับค่าแรง..
1/8/54 ปูชนะ การเลือกตั้งจาก นโยบาย 300 บาท ยังไม่มีการปรับ...
1/4/55 รัฐบาล ปู ขึ้นครั้งแรก กรุงเทพมหานคร + จังหวัดใกล้เคียง 300 บาท..
- 8 เดือนหลังเลือกตั้งชนะ ที่ สลิ่มทั้งเห่าทั้งหอนว่า เมื่อไรจะ ขึ้นค่าแรงตามสัญญา...
ลองไปกด ตัวเลขนะครับ... ทุกจังหวัดขึ้นมาประมาณ 39%.. ไม่มีเกิน40%..
ไม่ใช่ 100%
1/1/56 รัฐบาล ปู ขึ้นครั้งที่สอง 300 บาท ทั่วประเทศ..
- 8 เดือนหลังขึ้นครั้งแรก... ทุกจังหวัด 300 บาทเท่ากันเหมด.. เฉลี่ยทุกจังหวัดขึ้นมา 23% ไม่มีเกิน 36%
ไม่ใช่ 100%
ปรับสองครับ ห่างกัน 8 เดือน ครั้งละ 39% กับ 23%... ไม่ใช่ขั้นบันไดอีกหรือ... ไม่มีเวลาปรับตัวอีกหรือ...
>อำมาตย์น้อย.. เช
"ทำไมมันประกาศปรับขึ้นทีละ 20% - 30% ปีละ 2 ครั้งไม่ได้ ทำไมจะต้องน้ำแตกฉ่าปรี้ดๆๆๆ... ขึ้นค่าแรงทีเดียว 100%"<
/span>
ผมแปดเดือนครั้ง.. ยาวกว่าอีก... แล้วจะปรี๊ดๆ หาอะไร...
เหอๆๆ ผม มีแต่หลักฐาน... สลิ่มเอาไงดีครับ...
ค่าแรงแถว นครพนม แพร่ น่าน ฯลฯ เดิมวันละ 150 ปรับเพิ่มเป็น 300 บาท แบบนี้ไม่ 100% หรือครับ ท่านคนกลาง(หว่างขาแม้ว)ในสามโลก
คุณเช ทำขายหน้าอีกแล้วนะครับ... ไอ้นิสัย นึกเอาเอง ไม่มีข้อมูล.. ไม่หายนะครับ..
ถ้าเอาอคติออก แล้ว ลอง ศึกษา Link ที่ผมให้ไป ก็คงไม่หน้าแหกแบบนี้... แสดงว่าไม่ได้เปิดดู..
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 12:25
คุณรูุ้ไหมคุณลี ที่บริษัทขายส่งที่ญี่ปุ่นที่ผมติดต่อด้วย
เด็กยกของได้เงินเดือนเดือนละแสนกว่าเยน คิดเป็นเงินไทยก็ประมาณ 3-4 หมื่นบาท
เขาก็ยังต้องอยู่อย่างกระเบียดกระเสียร อยู่ห้องเช่าเล็กๆ กินประหยัดๆ ทั้งๆ ที่เงินเดือน 3-4 หมืนบาท
เพราะอะไรครับ
เพราะคำตอบของอัตราการครองชีพไม่ได้อยู่ที่เงินเดือนเท่านั้น ยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกหลายอย่าง
คุณจะขึ้นเงินเดือนให้แรงงานเท่าไหร่ก็ได้ แต่ค่าครองชีพอย่างอื่นมันก็จะกระโดดตามกันไป
นอกจากนี้ถ้าเป็นธุรกิจที่เกี่ยวกับการส่งออกนำเข้า ยิ่งต้องคิดให้มากขึ้น เพราะเราจะมีปัญหาในการแข่งขันในตลาดโลก
คุณอาจจะบอกว่า ไอ้พวกธุรกิจพวกนี้มันควรจะตายไปได้แล้ว
ผมถามว่าเมืองไทยเรามีศักยภาพเพียงพอที่จะเข้าไปแข่งขันในธุรกิจที่ไม่ต้องพึ่งพาความได้เปรียบของแรงงานแล้วหรือยัง
ทุกวันนี้เรารับจ้างประกอบรถยนต์ ถ้าเราไม่พึ่งพาความได้เปรียบทางแรงงาน เราสามารถผลิตรถยนต์ในแบรนด์ไทยเพื่อไปแข่งในตลาดโลกแล้วหรือยัง
ที่จริงยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกมาก ถ้าการขึ้นค่าแรงแบบง่ายๆ ปัญญาอ่อนแบบรัฐบาลนี้ทำได้
ทำไมรัฐบาลอีกมากมายในโลกนี้ถึงไม่ทำกัน ก็แข่งกันขึ้นค่าแรงให้หมดทั่วโลกสิ
เศรษฐกิจทั่วโลกจะได้ดีขึ้น
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 12:27
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
โอ้ว ๆ ๆ คิดเหมือนผมเลย
บ้านผม แม่จะขายก๋วยเตี๋ยว อะ่ครับ
สมัยก่อนแม่ผมจะขายแค่ชามละ 10 บาท แต่ตอนนี้ ขึ้นไป ชามละ 20 กำลังจะขึ้นเป็น 25 เดือนหน้า ครับ เพราะสู้ค่าของที่แพงไม่ไหว
คนแถวบ้านผม ก่อนหน้าจะได้ค่าแรง 300 ได้เงินวันละ 220 บาท ก๋วยเตี๋ยว 10 บาท
กับตอนนี้ได้ 300 แต่ค่าก๋วยเตี๋ยวบ้านผม 20 บาท
เค้าบ่นกัน
ห้าาาาาาาาาาาาาาาา
ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 12:28
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 12:29
เฮ้อ คุณลี นี่ โลกสวยม๊วกกกกกกกกกกก
แต่ไม่ได้มองความเป็นจริงเลย
ส่วนคนกลางครับ อ่านให้ข้อมูลให้หมดดีกว่า
ไม่ขึ้นทีละ 20-30% แล้วหรือครับ...
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 12:37
คุณรูุ้ไหมคุณลี ที่บริษัทขายส่งที่ญี่ปุ่นที่ผมติดต่อด้วย
เด็กยกของได้เงินเดือนเดือนละแสนกว่าเยน คิดเป็นเงินไทยก็ประมาณ 3-4 หมื่นบาท
เขาก็ยังต้องอยู่อย่างกระเบียดกระเสียร อยู่ห้องเช่าเล็กๆ กินประหยัดๆ ทั้งๆ ที่เงินเดือน 3-4 หมืนบาท
เพราะอะไรครับ
เพราะคำตอบของอัตราการครองชีพไม่ได้อยู่ที่เงินเดือนเท่านั้น ยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกหลายอย่าง
คุณจะขึ้นเงินเดือนให้แรงงานเท่าไหร่ก็ได้ แต่ค่าครองชีพอย่างอื่นมันก็จะกระโดดตามกันไป
นอกจากนี้ถ้าเป็นธุรกิจที่เกี่ยวกับการส่งออกนำเข้า ยิ่งต้องคิดให้มากขึ้น เพราะเราจะมีปัญหาในการแข่งขันในตลาดโลก
คุณอาจจะบอกว่า ไอ้พวกธุรกิจพวกนี้มันควรจะตายไปได้แล้ว
ผมถามว่าเมืองไทยเรามีศักยภาพเพียงพอที่จะเข้าไปแข่งขันในธุรกิจที่ไม่ต้องพึ่งพาความได้เปรียบของแรงงานแล้วหรือยัง
ทุกวันนี้เรารับจ้างประกอบรถยนต์ ถ้าเราไม่พึ่งพาความได้เปรียบทางแรงงาน เราสามารถผลิตรถยนต์ในแบรนด์ไทยเพื่อไปแข่งในตลาดโลกแล้วหรือยัง
ที่จริงยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกมาก ถ้าการขึ้นค่าแรงแบบง่ายๆ ปัญญาอ่อนแบบรัฐบาลนี้ทำได้
ทำไมรัฐบาลอีกมากมายในโลกนี้ถึงไม่ทำกัน ก็แข่งกันขึ้นค่าแรงให้หมดทั่วโลกสิ
เศรษฐกิจทั่วโลกจะได้ดีขึ้น
เพราะรัฐบาลประเทศอื่นโง่ครับ ขึ้นค่าแรงขั้นต่ำได้ก็ไม่ขึ้น
กู้ฟรีประชาชนไม่ต้องจ่ายก็ไม่ยอมกู้ โง่โพดๆ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 12:59
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 13:27
แล้วถ้าเค้ามีรายได้ไม่พอ เค้าจะซื้อมือถือรุ่นใหม่ทำไมครับ
ก็เขาไม่่พอเพียงไงครับ
แต่มันไม่เกี่ยวกับรายได้เขา คุณไม่เข้าใจหรือ?
เขาควรมีรายได้สูงพอที่จะกินอยู่อย่างสบายๆ ไม่ต้องคิดว่าเงินจะพอหรือเปล่าหากลูกป่วย
สูงขึ้นไปกว่านั้นคือเขาควรสามารถเข้าถึงสินค้า/บริการทั้งหลายในตลาดได้พอสมควร (แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาจำเป็นต้องมีของเหล่านั้น)
นั่นคือคุณภาพชีวิตไงครับ
ส่วนคุณ ผมถามหน่อยว่าคุณรายได้ไม่พอทำไมต้องไปเป็นหนี้เพื่อกู้เงินมาซื้อบ้านราคาแพง ทำไมไม่เช่าบ้านหลังเล็กๆ อยู่?
แสดงว่าคนงานระดับล่าง มีปัญญาผ่อนมือถือ แต่ก็ยังลำบากอยู่ใช่มั้ยครับ
ส่วนผม ถึงจะผ่อนบ้านเดือนละสองหมื่อนกว่า ผมก็ไม่ได้ลำบากอะไรเลยครับ
เห็นความแตกต่างมั้ยครับ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 13:30
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
แต่ถ้าเงินเหลือเยอะกว่า เราก็สามารถเอาเงินจำนวนที่เยอะกว่าไปทำอย่างอื่นได้มากกว่านะครับ
ลองพยายามตอบดู พอไหวมั้ย
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 13:51
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
กะแล้วเชียว
หะแรก นึกว่าจะเป็นคุณลี ที่เข้ามาตอบแบบนี้
กลับเป็นคุณเฮนซะนี่
ทั้งวัน รายจ่ายคุณเฮนมีแค่ข้าวจานเดียวหรืออย่างไร
ตัวอย่างของผม คือเมื่อสามารถทำให้ราคาเครื่องอุปโภคบริโภคพื้นฐานไม่แพง
ค่าแรงก็ไม่จำเป้นต้องสูงเกินไป
อย่าลืมว่า ทั้งวัน เราไม่ได้กินข้าวจานเดียวนะครับ
เรามีน้ำ ไฟ เสื้อผ้า ยารักษาโรค น้ำยาล้างจาน ค่ารถ ค่าขนมไปโรงเรียนลูก
สมมุติว่ารัฐสามารถควบคุม หรือถึงขั้นกระชากค่าครองชีพลงมาได้
ทุกอย่างจะวินๆ มากกว่ามั๊ยครับ
รวมไปถึงเรื่องใหญ่อย่างการลงทุนจากต่างชาติ ที่จะทำให้เราสู้เพื่อนบ้านได้อย่างสบาย
ปัญหาแรงงานต่างด้าวเราก็ลดน้อยลงไป
การเพิ่มค่าแรง และทำให้ค่าครองชีพเพิ่ม
มันก็เป็นเพียงการลดค่าเงินบาทให้อ่อนลงไปเท่านั้น
นึกถึงประเทศอะไร ที่ต้องกำเงินเป้นกระสอบไปซื้อของสิครับ
อยู่ที่รัฐบาลไหน จะมีปัญญาทำได้
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:12
300 บาท นโยบายมันออก 2 ทาง ตอบแบบทฤษฎีนะ
1. แรงงาน เงินเยอะขึ้น ใช้สอย ใช้จ่ายมากขึ้น มันก็กระตุ้นเศรษฐกิจได้ แต่ก็อย่าลืมว่าคนเงินเยอะขึ้น ก็มีส่วนนึงต้องกู้เยอะเพิ่ม จนแบงค์ชาติต้องติดตาม สินเชื่อบุคคล เพราะถ้าโตมากเกินไปมันก็อันตราย หากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจก็มีสิทธิพังทั้งประเทศ
2. ผู้ประกอบการเอกชน ต้องแบกต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น จากค่าจ้างที่สูง ดังนั้น ผู้ประกอบการต้องปรับตัวเพื่อรักษาระดับกำไรของตัวเอง ต้องสร้างรายได้มากขึ้น (มาจากส่วนนึงที่แรงงานรายได้เพิ่มขึ้น) กับอีกส่วนนึง ต้องลดต้นทุนบางอย่างชดเชย ในระยะ 1-2 ปี ส่วนตัวผมว่านโยบายค่าแรง 300 บาท ยังไม่เห็นผลชัดเจน เพราะบางธุรกิจก็เอาตัวรอดใช้ทุนเก่าช่วยหนุนบ้าง กับอีกส่วนนึง บางธุรกิจก็ขายดีรายได้เยอะก็มีก็รอดตัวไป แต่หลังจาก 2 -3 ปีนี้ ต้องติดตามว่ามีธุรกิจบางแห่งอาจจะปิดกิจการ หรือเตรียมหาฐานการผลิตใหม่ๆ นอกประเทศไทย ส่วนตัวผมเชื่อว่า ประเทศเพื่อนบ้านรอบๆเรานี้ เขาก็เตรียมพัฒนาฝีมือแรงงานแข่งไทยแน่นอน ยิ่งมี AEC ประเทศเล็ก อย่าง พม่า ลาว กัมพูชา รวมถึงเวียดนาม เขาก็เริ่มเปิดประเทศมากขึ้นเรื่อยๆ ลองสังเกตของ Brand Name ดังๆ นอกจาก Made in China แล้ว ยังมี Made in Vietnam กับ Made in Cambodia ลองไปเดินดูในห้างดังๆ แถวๆ สยามนะครับ
แต่เท่าที่ได้ข้อมูลเชิงลึกๆมา บริษัทต่างชาติมีแนวโน้มยังคงฐานการผลิตที่ไทย แต่ไม่ได้เพิ่มกำลังการผลิตในประเทศไทยมากนัก ถ้าจะขยายคงไปเน้นแถวๆ เวียดนาม อินโด หรือจีน ซึ่งค่าแรงถูกกว่าไทย ส่วนฝีมือแรงงานก็ไม่ด้อยกว่าไทยมากแล้วนะ
ผมมองว่า ประเทศต้องวางยุทธศาสตร์ชาติให้ชัดเจน ตอนนี้ประเทศอื่นๆเขาปรับตัวมาสู้ไทยแล้ว แม้แต่ข้าวเรายังเสียแชมป์เลย เพราะอะไรก็ไม่อยากจะบอกทุกๆคน คงทราบกันดี
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:17
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:21
สนับสนุนให้เพิ่มร้อยเท่าเลยครับ เราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
รัฐบาลก่อนๆ มันโง่จริงๆ ครับ ที่ไม่รู้ว่าขึ้นค่าแรงเยอะๆ แล้วเราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:21
กระทู้นี้ขำมากมาย
ใช้ตรรกะ คุยกะพวก ตักกู มันก็ตอบดื้อๆ ว่าต้อง 300 บาท ไม่ต้องไปดูเลยว่าคณะกรรมการไตรภาคีเขาศึกษาผลกระทบกันขนาดไหน
ไม่ใช่กระทบเฉพาะผู้ใช้แรงงาน แต่มันไปทุก sector
แล้วเรื่องปรับค่าแรง 300 บาท เป็นสองรอบน่ะ
แน่ใจหรือว่า เป็นนโยบายรัฐบาลทั้งสองรอบ
รอบแรกเป็น คณะกรรมการไตรภาคี และแยกการพิจารณาตามค่าครองชีพของแต่ละจังหวัดหรือเปล่า
เหตุเพราะผมได้ข้อมูลจากสมาคมเอสเอ็มอีที่พยายามอธิบายกับรัฐบาลปูเอ๋อมาตั้งแต่สองปีที่แล้ว
ในยุคที่ประธาน สอท. เป๋ไปจากอุดมการณ์เดิมนั่นล่ะ
ฟ้าสีทองผ่องอำไพ ประชาชนจะเป็นใหญ่ในแผ่นดิน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:23
สนับสนุนให้เพิ่มร้อยเท่าเลยครับ เราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
รัฐบาลก่อนๆ มันโง่จริงๆ ครับ ที่ไม่รู้ว่าขึ้นค่าแรงเยอะๆ แล้วเราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
ที่แท้ เป็นเพราะอย่างนี้เอง ผมถึงต้องกินฟาสฟู้ดจานละ500บาท ที่เวเนเชี่ยน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:26
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
กะแล้วเชียว
หะแรก นึกว่าจะเป็นคุณลี ที่เข้ามาตอบแบบนี้
กลับเป็นคุณเฮนซะนี่
ทั้งวัน รายจ่ายคุณเฮนมีแค่ข้าวจานเดียวหรืออย่างไร
ตัวอย่างของผม คือเมื่อสามารถทำให้ราคาเครื่องอุปโภคบริโภคพื้นฐานไม่แพง
ค่าแรงก็ไม่จำเป้นต้องสูงเกินไป
อย่าลืมว่า ทั้งวัน เราไม่ได้กินข้าวจานเดียวนะครับ
เรามีน้ำ ไฟ เสื้อผ้า ยารักษาโรค น้ำยาล้างจาน ค่ารถ ค่าขนมไปโรงเรียนลูก
สมมุติว่ารัฐสามารถควบคุม หรือถึงขั้นกระชากค่าครองชีพลงมาได้
ทุกอย่างจะวินๆ มากกว่ามั๊ยครับ
รวมไปถึงเรื่องใหญ่อย่างการลงทุนจากต่างชาติ ที่จะทำให้เราสู้เพื่อนบ้านได้อย่างสบาย
ปัญหาแรงงานต่างด้าวเราก็ลดน้อยลงไป
การเพิ่มค่าแรง และทำให้ค่าครองชีพเพิ่ม
มันก็เป็นเพียงการลดค่าเงินบาทให้อ่อนลงไปเท่านั้น
นึกถึงประเทศอะไร ที่ต้องกำเงินเป้นกระสอบไปซื้อของสิครับ
อยู่ที่รัฐบาลไหน จะมีปัญญาทำได้
ผมเข้าใจประเด็นท่านครับ... และก็เข้าใจด้วยว่า ท่านจงใจให้ค่าอาหารเป็น สัดส่วนที่มากกว่า ของค่าแรง...
แต่
1 ผมว่า ค่าครองชีพเราไม่มีทางพุ่งเร็วเท่า ค่าแรงที่เพิ่มครับ..
ค่าแรงขั้นต่ำ เราเพิ่มเฉลี่ย 70% ใน 2 ปี... ถามว่า 2 ปีที่ผ่านมา ค่าครองชีพเราเพิ่มเท่าไรครับ...
ท่านต้องหาตัวเลขมาแย้งครับ อย่าเดา..
2 ถึงแม้ว่าแบบที่สอง ค่าอาหาร ดูแพงกว่า... มันก็ขึ้นกับว่า เราใช้จ่ายกับค่านี้เท่าไรด้วยครับ.. เช่นตัวอย่าง #313 ของผม..
สุดท้าย พอค่าแรงสูงขึ้น..มันก็อยู่ที่ การใช้ของคนที่ได้ค่าแรงว่า จะกินล้างกินผลาญ... หรือ จะประหยัด...
แต่ถ้าค่าแรงที่เค้าอยู่ไม่ได้... เค้าไม่มีทางเลือก ตั้งแต่ต้น..
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:27
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
ผู้ใช้แรงงานเค้าอยากได้ปัจจัยสี่ถูกๆ หรือซื้อไอโฟนถูกๆหล่ะฮะ ต้องเลือกนะ อย่างใดอย่างหนึ่ง
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:30
สนับสนุนให้เพิ่มร้อยเท่าเลยครับ เราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
รัฐบาลก่อนๆ มันโง่จริงๆ ครับ ที่ไม่รู้ว่าขึ้นค่าแรงเยอะๆ แล้วเราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
เหอๆ.. จับประเด็นได้แค่นั้น...
แถม ท่านที่พร่ำเพ้อเป็น เด็กออทิสติก มาหลายหน้า ว่า
ปูแย่โง่งั่ง ขึ้นแม่ม 100% ทีเดียว มันต้อง ขึ้น ที่ละ 20-30%...
ต้องมา แอบกด Like... เพราะ เจอหลักฐานที่ว่า...
ไม่มี จังหวัดไหนขึ้น 100%.. ที่สำคัญ เค้า ขึ้นเฉลี่ย.. 39% กับ 23%
เฉลีย 82% ใน 2 ปี...
Edited by hentai, 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:30.
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:33
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
ผู้ใช้แรงงานเค้าอยากได้ปัจจัยสี่ถูกๆ หรือซื้อไอโฟนถูกๆหล่ะฮะ ต้องเลือกนะ อย่างใดอย่างหนึ่ง
โถๆ เหลือ อยู่ประเด็นเดียวแล้วใช่ไหม...
ก็ได้ ถามว่า...
ค่าแรงเราขึ้นมา 82% ใน 2 ปี...
ไม่ทราบ consumer price index ขึ้นมาเท่าไร..ครับ
เด๋วให้ผมหา แล้วจะได้เงิบกันอีก...
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:34
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
พอดีคนงานมีลูก1คนครับ ให้กินกันคนละจานละกัน
แบบแรกค่าข้าว 35 กิน 6 จานต่อวัน เป็นเงิน 210 บาท เหลือตัง300-210=90 บาท
แบบ 2 ค่าข้าว 15 กิน 6 จานต่อวันเป็นเงิน 90 บาท เหลือตัง 200-90=110 บาท
แบบสองเหลือตังเก็บไปเที่ยวเมกาเยอะกว่านะครับ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:38
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:40
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
ค่าแรงวันละ 200 ค่าข้าวแกงจานละ 15 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 20,000 บาทกับค่าแรงวันละ 2,000 ค่าข้าวแกงจานละ 150 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 25,000 บาทอันหลังดีกว่าครับไจแอนท์
ค่าแรงวันละ 30000 ค่าข้าวแกงจานละ 150 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 25,000 บาท ดีกว่าอีกครับ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:42
Consumer Price Index
http://www.tradingec...price-index-cpi
ดูซะ แล้วบอกหน่อยว่า มัน ขึ้น หรือ ลด มา กี่%...
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:43
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
พอดีคนงานมีลูก1คนครับ ให้กินกันคนละจานละกัน
แบบแรกค่าข้าว 35 กิน 6 จานต่อวัน เป็นเงิน 210 บาท เหลือตัง300-210=90 บาท
แบบ 2 ค่าข้าว 15 กิน 6 จานต่อวันเป็นเงิน 90 บาท เหลือตัง 200-90=110 บาท
แบบสองเหลือตังเก็บไปเที่ยวเมกาเยอะกว่านะครับ
ในที่สุดก็เจอ.. ดีใจด้วยนะครับ...
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:44
แล้วถ้าเค้ามีรายได้ไม่พอ เค้าจะซื้อมือถือรุ่นใหม่ทำไมครับ
ก็เขาไม่่พอเพียงไงครับ
แต่มันไม่เกี่ยวกับรายได้เขา คุณไม่เข้าใจหรือ?
เขาควรมีรายได้สูงพอที่จะกินอยู่อย่างสบายๆ ไม่ต้องคิดว่าเงินจะพอหรือเปล่าหากลูกป่วย
สูงขึ้นไปกว่านั้นคือเขาควรสามารถเข้าถึงสินค้า/บริการทั้งหลายในตลาดได้พอสมควร (แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาจำเป็นต้องมีของเหล่านั้น)
นั่นคือคุณภาพชีวิตไงครับ
ส่วนคุณ ผมถามหน่อยว่าคุณรายได้ไม่พอทำไมต้องไปเป็นหนี้เพื่อกู้เงินมาซื้อบ้านราคาแพง ทำไมไม่เช่าบ้านหลังเล็กๆ อยู่?
แสดงว่าคนงานระดับล่าง มีปัญญาผ่อนมือถือ แต่ก็ยังลำบากอยู่ใช่มั้ยครับ
ส่วนผม ถึงจะผ่อนบ้านเดือนละสองหมื่อนกว่า ผมก็ไม่ได้ลำบากอะไรเลยครับ
เห็นความแตกต่างมั้ยครับ
ไม่เห็นครับ
คุณไม่มีปัญญาซื้อบ้านเพราะมันเกินเงินที่คุณมี คุณเลือกซื้อบ้านแทนที่จะเช่าอยู่ และผ่อนกับธนาคาร 30 ปี
ส่วนคนงานคนนั้นไม่มีปัญญาซื้อมือถือเพราะมันเกินเงินที่เขามี เขาเลยเลือกมายืมเงินเมียคุณแล้วผ่อนกับเมียคุณอาจจะซัก 6 งวด
คุณเป็นหนี้ 30 ปี ส่วนเชาเป็นหนี้ 6 เดือน ผมไม่เห็นความแตกต่างครับ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:45
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
พอดีคนงานมีลูก1คนครับ ให้กินกันคนละจานละกัน
แบบแรกค่าข้าว 35 กิน 6 จานต่อวัน เป็นเงิน 210 บาท เหลือตัง300-210=90 บาท
แบบ 2 ค่าข้าว 15 กิน 6 จานต่อวันเป็นเงิน 90 บาท เหลือตัง 200-90=110 บาท
แบบสองเหลือตังเก็บไปเที่ยวเมกาเยอะกว่านะครับ
ในที่สุดก็เจอ.. ดีใจด้วยนะครับ...
เฉยๆครับ ไม่เห็นจะน่าดีใจตรงไหน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:47
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
ค่าแรงวันละ 200 ค่าข้าวแกงจานละ 15 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 20,000 บาทกับค่าแรงวันละ 2,000 ค่าข้าวแกงจานละ 150 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 25,000 บาทอันหลังดีกว่าครับไจแอนท์
ค่าแรงวันละ 100000 ค่าข้าวแกงฟรี(เพราะเอาข้าวเน่าในโกดังที่รับจำนำแพงๆมาเทแจก) ค่าคอมพิวเตอร์ 20000
อันนี้ดีที่สุดครับ
มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:48
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
กะแล้วเชียว
หะแรก นึกว่าจะเป็นคุณลี ที่เข้ามาตอบแบบนี้
กลับเป็นคุณเฮนซะนี่
ทั้งวัน รายจ่ายคุณเฮนมีแค่ข้าวจานเดียวหรืออย่างไร
ตัวอย่างของผม คือเมื่อสามารถทำให้ราคาเครื่องอุปโภคบริโภคพื้นฐานไม่แพง
ค่าแรงก็ไม่จำเป้นต้องสูงเกินไป
อย่าลืมว่า ทั้งวัน เราไม่ได้กินข้าวจานเดียวนะครับ
เรามีน้ำ ไฟ เสื้อผ้า ยารักษาโรค น้ำยาล้างจาน ค่ารถ ค่าขนมไปโรงเรียนลูก
สมมุติว่ารัฐสามารถควบคุม หรือถึงขั้นกระชากค่าครองชีพลงมาได้
ทุกอย่างจะวินๆ มากกว่ามั๊ยครับ
รวมไปถึงเรื่องใหญ่อย่างการลงทุนจากต่างชาติ ที่จะทำให้เราสู้เพื่อนบ้านได้อย่างสบาย
ปัญหาแรงงานต่างด้าวเราก็ลดน้อยลงไป
การเพิ่มค่าแรง และทำให้ค่าครองชีพเพิ่ม
มันก็เป็นเพียงการลดค่าเงินบาทให้อ่อนลงไปเท่านั้น
นึกถึงประเทศอะไร ที่ต้องกำเงินเป้นกระสอบไปซื้อของสิครับ
อยู่ที่รัฐบาลไหน จะมีปัญญาทำได้
ไจแอนท์
ค่าแรงกับราคาสินค้าพื้นฐานหากมันขึ้นพร้อมกันไปด้วยกันมันไม่มัญหาหรอก มันเป็นเพียงตัวเลข
แต่ที่คุณควบคุมไม่ได้คือราคาสินค้าอื่นๆ เช่นน้ำมัน เครื่องใช้/สินค้าที่ต้องนำเข้า บ้าน ฯลฯ
คุณกดค่าแรงไว้ แต่ของพวกนั้นราคามันสูงขึ้นๆ สูงขึ้นทุกวัน ทำให้คนจนลงจนลง
คุณไม่เข้าใจหรือ?
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:53
แล้วถ้าเค้ามีรายได้ไม่พอ เค้าจะซื้อมือถือรุ่นใหม่ทำไมครับ
ก็เขาไม่่พอเพียงไงครับ
แต่มันไม่เกี่ยวกับรายได้เขา คุณไม่เข้าใจหรือ?
เขาควรมีรายได้สูงพอที่จะกินอยู่อย่างสบายๆ ไม่ต้องคิดว่าเงินจะพอหรือเปล่าหากลูกป่วย
สูงขึ้นไปกว่านั้นคือเขาควรสามารถเข้าถึงสินค้า/บริการทั้งหลายในตลาดได้พอสมควร (แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาจำเป็นต้องมีของเหล่านั้น)
นั่นคือคุณภาพชีวิตไงครับ
ส่วนคุณ ผมถามหน่อยว่าคุณรายได้ไม่พอทำไมต้องไปเป็นหนี้เพื่อกู้เงินมาซื้อบ้านราคาแพง ทำไมไม่เช่าบ้านหลังเล็กๆ อยู่?
แสดงว่าคนงานระดับล่าง มีปัญญาผ่อนมือถือ แต่ก็ยังลำบากอยู่ใช่มั้ยครับ
ส่วนผม ถึงจะผ่อนบ้านเดือนละสองหมื่อนกว่า ผมก็ไม่ได้ลำบากอะไรเลยครับ
เห็นความแตกต่างมั้ยครับ
ไม่เห็นครับ
คุณไม่มีปัญญาซื้อบ้านเพราะมันเกินเงินที่คุณมี คุณเลือกซื้อบ้านแทนที่จะเช่าอยู่ และผ่อนกับธนาคาร 30 ปี
ส่วนคนงานคนนั้นไม่มีปัญญาซื้อมือถือเพราะมันเกินเงินที่เขามี เขาเลยเลือกมายืมเงินเมียคุณแล้วผ่อนกับเมียคุณอาจจะซัก 6 งวด
คุณเป็นหนี้ 30 ปี ส่วนเชาเป็นหนี้ 6 เดือน ผมไม่เห็นความแตกต่างครับ
โอ้ว ผมต้องเช่าบ้านแบบเดียวกับคนงานด้วยรึปล่าวครับ ถึงจะถูกต้อง ทั้งๆที่ผมไม่เดือดร้อนเลยซักนิดกับเงินค่าผ่อนบ้านที่ผมผ่อนอยู่
แล้วราคาที่ดินมันจะขยับเพิ่มขึ้นบ้างมั้ยครับในอีก30ปี หรือว่าอีก 6 เดือนราคามือถือของคนงานจะราคาเพิ่มขึ้น
ผมยอมเป็นหนี้30ปี แต่ไม่ยอมเป็นหนี้ 6เดือน แต่คุณคงใช้แนวคิดเดียวกับคนงานระดับล่างเช่าบ้านอยู่เอา แต่เอาเงินไปผ่อนมือถือ ก็โอเคนะ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:57
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
ค่าแรงวันละ 200 ค่าข้าวแกงจานละ 15 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 20,000 บาทกับค่าแรงวันละ 2,000 ค่าข้าวแกงจานละ 150 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 25,000 บาทอันหลังดีกว่าครับไจแอนท์
ค่าแรงวันละ 100000 ค่าข้าวแกงฟรี(เพราะเอาข้าวเน่าในโกดังที่รับจำนำแพงๆมาเทแจก) ค่าคอมพิวเตอร์ 20000
อันนี้ดีที่สุดครับ
คุณเช... ไม่ขึ้น ปรี๊ดทีเดียว 100% แล้วหรือครับ...
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 14:57
สนับสนุนให้เพิ่มร้อยเท่าเลยครับ เราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
รัฐบาลก่อนๆ มันโง่จริงๆ ครับ ที่ไม่รู้ว่าขึ้นค่าแรงเยอะๆ แล้วเราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
ริดกุน
ประเทศไทยไม่ได้อยู่ในสังคมปิดนะ
คุณไปมองเมืองไทยเหมือนเป็นคนละ entity กับประเทศอื่น
โลกปัจจุบันมันเชื่อมต่อถึงกันเป็นผืนเดียว สินค้าผลิตออกมาขายทั่วโลกราคาเกือบราคาเดีัยวกันทั้งหมด
คุณต้องมองประชากรไทยเป็นประชากรโลก และทำให้คนไทยมีอำนาจซื้อเท่ากับประชากรในส่วนอื่นๆ ของโลก
นั่นคือการลดความยากจนในส่วนของคนไทยที่รัฐบาลไทยต้องรับผิดชอบ
ปกติบ้านคุณผลิตมาม่าเองเหรอ?
คุณกินมาม่านั่นก็มีบริษัทอื่นเขาทำมาให้คุณกิน เวลาคุณซื้อกินเงินคุณไม่สนใจหรอกว่ามันของไทยหรือของนอก
เช่นเดียวกัน ในอเมริกาคนอเมริกันมันก็ใช้สินค้าผลิตจากเมืองจีน/เมืองไทยได้โดยไม่ต้องสนใจว่ามันผลิตจากไหนเพราะบ้านมันเองไม่ได้ผลิตอยู่แล้ว
คุณไปยึดติดอยู่ว่าการใช้สินค้าที่ผลิตจากเมืองนอกมันไม่ดี
ก็คุณผลิตเองไม่ได้ คุณก็ต้องซื้อเขา
การที่คุณจะซื้อเขาได้โดยไม่ลำบาก คุณก็ต้องมีกำลังซื้อสูง
แต่นี่คุณไปเล่นกดค่าแรงและราคาสินค้าในประเทศ
คนที่จะได้ประโยชน์ก็มีเพียงต่างชาติท่เข้ามาใช้แรงงานราคาถูกและฝรั่งขี้นกตกงานที่เข้ามาอยู่ในเมืองไทยได้เป็นเดือนๆ ด้วยเศษเงินเพียงน้อยนิด
Edited by Leeporter ขี้แพ้, 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:03.
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:03
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
ผู้ใช้แรงงานเค้าอยากได้ปัจจัยสี่ถูกๆ หรือซื้อไอโฟนถูกๆหล่ะฮะ ต้องเลือกนะ อย่างใดอย่างหนึ่ง
คุณไม่เข้าใจหรือ
การซื้อไอโฟนกับความสามารถในการซื้อไอโฟนมันไม่เหมือนกันนะครับ
คุณสร้างความสามารถในการซื้อให้เขา แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาต้องไปซื้อไอโฟนทั้งหมด
เขาอาจไปซื้อสินค้าอื่นที่ผลิตทั้งโดยคนไทยและโดยต่างชาติที่เขาจำเป็นต้องใช้ซึ่งเมื่อก่อนเขาไม่มีความสามารถ
เช่น เขาอาจจะเช้าไปกินร้านฟูจิได้เดือนละครั้งโดยไม่เดือดร้อนจากเดิมที่เขาไม่สามารถเลย
ซึ่งจะเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจอย่างฟูจิที่จะไปจ้างงานเพิ่มขึ้นจากกำลังซื้ออันมหาศาลของฐานปิระมิด
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:03
สนับสนุนให้เพิ่มร้อยเท่าเลยครับ เราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
รัฐบาลก่อนๆ มันโง่จริงๆ ครับ ที่ไม่รู้ว่าขึ้นค่าแรงเยอะๆ แล้วเราจะได้ซื้อของจากต่างประเทศได้ถูกๆ
ริดกุน
ประเทศไทยไม่ได้อยู่ในสังคมผิดนะ
คุณไปมองเมืองไทยเหมือนเป็นคนละ entity กับประเทศอื่น
โลกปัจจุบันมันเชื่อมต่อถึงกันเป็นผืนเดียว สินค้าผลิตออกมาขายทั่วโลกราคาเกือบราคาเดีัยวกันทั้งหมด
คุณต้องมองประชากรไทยเป็นประชากรโลก และทำให้คนไทยมีอำนาจซื้อเท่ากับประชากรในส่วนอื่นๆ ของโลก
นั่นคือการลดความยากจนในส่วนของคนไทยที่รัฐบาลไทยต้องรับผิดชอบ
ปกติบ้านคุณผลิตมาม่าเองเหรอ?
คุณกินมาม่านั่นก็มีบริษัทอื่นเขาทำมาให้คุณกิน เวลาคุณซื้อกินเงินคุณไม่สนใจหรอกว่ามันของไทยหรือของนอก
เช่นเดียวกัน ในอเมริกาคนอเมริกันมันก็ใช้สินค้าผลิตจากเมืองจีน/เมืองไทยได้โดยไม่ต้องสนใจว่ามันผลิตจากไหนเพราะบ้านมันเองไม่ได้ผลิตอยู่แล้ว
คุณไปยึดติดอยู่ว่าการใช้สินค้าที่ผลิตจากเมืองนอกมันไม่ดี
ก็คุณผลิตเองไม่ได้ คุณก็ต้องซื้อเขา
การที่คุณจะซื้อเขาได้โดยไม่ลำบาก คุณก็ต้องมีกำลังซื้อสูง
แต่นี่คุณไปเล่นกดค่าแรงและราคาสินค้าในประเทศ
คนที่จะได้ประโยชน์ก็มีเพียงต่างชาติท่เข้ามาใช้แรงงานราคาถูกและฝรั่งขี้นกตกงานที่เข้ามาอยู่ในเมืองไทยได้เป็นเดือนๆ ด้วยเศษเงินเพียงน้อยนิด
ก็เลยต้องขึ้นค่าแรง?
ถ้างั้นแล้วที่ผมพูดมันผิดตรงไหน ก็ขึ้นร้อยเท่าไปเลยสิครับ
จะเอาแค่มีกำลังซื้อเท่ากับคนอื่นทำไม เราต้องเพิ่มกำลังซื้อให้ประเทศไทยเยอะๆ ครับ
ไหนๆ เราก็เจอหนทางสุดยอดในการทำให้เงินบาทแข็งแล้ว
อืม ว่าแต่ ตอนที่เงินบาทจะหลุด 30 บาทอยู่ร่อมร่อ ก็เห็นคนในรัฐบาลเก้าอี้ร้อนกันใหญ่แล้วครับ
สงสัยจะฉลาดสู้คุณลีไม่ได้ ไม่อยากให้คนไทยมีกำลังซื้อของเมืองนอกเยอะๆ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:11
แม่เจ้า ... กระทู้นี้ชักยาวไกล ... ตอนแรกก็มาแค่ค่าแรงในประเทศ ค่าใช้จ่ายพื้นฐานของแรงงาน ซักพักเริ่มออกไปอัตราแลกเปลี่ยน ซักพักเริ่มไปเที่ยวเมืองนอก ...
แบบนี้คุยกันให้ตายก็ไม่จบหรอกครับ ...
คงต้องรอให้เงินค่าแรงขึ้นจนเงินเฟ้อเหมือนซิมบับเวนั่นแหละ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:14
ก็เลยต้องขึ้นค่าแรง?
ถ้างั้นแล้วที่ผมพูดมันผิดตรงไหน ก็ขึ้นร้อยเท่าไปเลยสิครับ
จะเอาแค่มีกำลังซื้อเท่ากับคนอื่นทำไม เราต้องเพิ่มกำลังซื้อให้ประเทศไทยเยอะๆ ครับ
ไหนๆ เราก็เจอหนทางสุดยอดในการทำให้เงินบาทแข็งแล้ว
อืม ว่าแต่ ตอนที่เงินบาทจะหลุด 30 บาทอยู่ร่อมร่อ ก็เห็นคนในรัฐบาลเก้าอี้ร้อนกันใหญ่แล้วครับ
สงสัยจะฉลาดสู้คุณลีไม่ได้ ไม่อยากให้คนไทยมีกำลังซื้อของเมืองนอกเยอะๆ
เอางี้ ริดกุน
งั้นคุณก็ลดค่าแรงลงไปเหลือวันละ 10 บาท แล้วควบคุมราคาสินค้าทั้งประเทศให้ลงไปในสัดส่วนเดียวกันเหลือข้าวแกงจานละ 1 บาท
เมืองไทยจะได้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน ถล่มสินค้าจากเมืองจีนให้ตายคามือไปเลย
สงสัยคนในรัฐบาลจะฉลาดสู้คุณไม่ได้ ไม่รู้ว่าต้องกดค่าแรงให้ต่ำสุดๆ เพื่อให้ส่งออกได้
เมืองไทยมีแต่คนส่งออกหรือ ริดกุน?
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:20
เอางี้ ริดกุน
งั้นคุณก็ลดค่าแรงลงไปเหลือวันละ 10 บาท แล้วควบคุมราคาสินค้าทั้งประเทศให้ลงไปในสัดส่วนเดียวกันเหลือข้าวแกงจานละ 1 บาท
เมืองไทยจะได้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน ถล่มสินค้าจากเมืองจีนให้ตายคามือไปเลย
สงสัยคนในรัฐบาลจะฉลาดสู้คุณไม่ได้ ไม่รู้ว่าต้องกดค่าแรงให้ต่ำสุดๆ เพื่อให้ส่งออกได้
เมืองไทยมีแต่คนส่งออกหรือ ริดกุน?
เลือก ทางสายกลาง ครับ คุณลี
อย่าให้ มันต่ำเกินไป เพราะถ้าต่ำเกินไป
อุปสงค์ จากต่างชาติ ก็มากกว่า อุปทาน ในประเทศ จะส่งออกได้ครับ
ก็เช่นเดียวกับ ถ้าเพิ่มค่าแรง สูงเกินไป
สินค้าของเรา เมื่อต้นทุนสูง เกินไป
อุปสงค์ จากต่างชาติ ก็น้อยกว่า อุปทาน ในประเทศ จะส่งออกไงครับ
ญาติผม ที่ทำของส่งออกนอก ก็ประสบปัญหา เรื่องค่าแรง
แม้เขาไม่ได้ จ้างแรงงานมากนัก
แต่เขาต้องซื้อต่อ จากโรงงาน ที่มีต้นทุน สูงขึ้นอยู่ดี
ส่งออกยากครับ วันนั้น เขาถึงกับ
มาถาม ว่าร้านพี่ชายผม ซึ่งขายไม่ดี จากผลกระทบ 300 บาท อยู่แล้ว (เพราะราคา พลาสติกขึ้น ขณะที่ คนซื้อ ซื้อน้อยลงมาก ร้านพี่ผม อยู่ตลาดโพธ์ชัย หนองคาย ครับ)
จะลองรับ สินค้า ของญาติ ผม ไปขายหน้าร้าน บ้างไหม ลักษณะฝากขาย
เพราะส่งออก ไม่ดี เลยต้องทำอย่างนี้ ไงครับ
ผมจึงว่า 300 บาท มันก็เกิน จากทางสายกลาง ไงครับ
ขอให้พวกเรา ชาวหลากสี และพันธมิตร จงมีชีวิตรอด จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ฝีมือปูนา ไปตลอดรอดฝั่งด้วยครับ
PEMDAS ย่อมาจาก ลำดับการคำนวณ Parentheses , Exponentials , Multiply , Divide , Add , Subtract
FWGHSO ย่อมาจาก ลำดับการประเมินผลของ query FROM, WHERE, GROUP BY, HAVING, SELECT, ORDER BY
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:22
แม่เจ้า ... กระทู้นี้ชักยาวไกล ... ตอนแรกก็มาแค่ค่าแรงในประเทศ ค่าใช้จ่ายพื้นฐานของแรงงาน ซักพักเริ่มออกไปอัตราแลกเปลี่ยน ซักพักเริ่มไปเที่ยวเมืองนอก ...
แบบนี้คุยกันให้ตายก็ไม่จบหรอกครับ ...
คงต้องรอให้เงินค่าแรงขึ้นจนเงินเฟ้อเหมือนซิมบับเวนั่นแหละ
ตอนนี้ ค่าแรงขึ้นแล้ว... แต่เงินเฟ้ออยู่ที่ 3-4% คงยากละครับ..
ต้อง พยายาม แช่งให้ มากกว่านี้หน่อย...
http://www.tradingec...d/inflation-cpi
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:23
เอาง่ายๆ พูดเรื่องคอมกับไอโฟนมันอาจจะดูฟุ่มเฟือยเกินไป
ผมยกตัวอย่างน้ำมันซึ่งเป็นของที่จำเป็นก็แล้วกัน เพราะถึงคุณจะนั่งรถเมล์ ก็ต้องใช้น้ำมันอยู่ดี
สมมุติว่าเมืองไทยน้ำมันลิตรละ 50 บาทเท่าสิงคโปร์ สหรัฐ ญี่ปุ่น
ค่าแรง 300 ข้าวจานละ 20 น้ำมันลิตรละ 50 บาท
กับค่าแรง 3,000 ข้าวจานละ 200 น้ำมันลิตรละ 50 บาท อันไหนดีกว่า
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:25
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
ผู้ใช้แรงงานเค้าอยากได้ปัจจัยสี่ถูกๆ หรือซื้อไอโฟนถูกๆหล่ะฮะ ต้องเลือกนะ อย่างใดอย่างหนึ่ง
คุณไม่เข้าใจหรือ
การซื้อไอโฟนกับความสามารถในการซื้อไอโฟนมันไม่เหมือนกันนะครับ
คุณสร้างความสามารถในการซื้อให้เขา แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาต้องไปซื้อไอโฟนทั้งหมด
เขาอาจไปซื้อสินค้าอื่นที่ผลิตทั้งโดยคนไทยและโดยต่างชาติที่เขาจำเป็นต้องใช้ซึ่งเมื่อก่อนเขาไม่มีความสามารถ
เช่น เขาอาจจะเช้าไปกินร้านฟูจิได้เดือนละครั้งโดยไม่เดือดร้อนจากเดิมที่เขาไม่สามารถเลย
ซึ่งจะเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจอย่างฟูจิที่จะไปจ้างงานเพิ่มขึ้นจากกำลังซื้ออันมหาศาลของฐานปิระมิด
คุณเข้าใจทีผมพูดไหมครับ
ถ้าคุณขึ้นค่าแรง ของที่ผลิตในประเทศก็ขึ้นทั้งหมด ปัจจัยสี่ก็ขึ้นตามไปด้วย ถึงคุณจะมีขึ้นเยอะขึ้น แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าคุณซื้อปัจจัยสี่ได้มากขึ้น
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:26
ผมเข้าใจประเด็นท่านครับ... และก็เข้าใจด้วยว่า ท่านจงใจให้ค่าอาหารเป็น สัดส่วนที่มากกว่า ของค่าแรง...
แต่
1 ผมว่า ค่าครองชีพเราไม่มีทางพุ่งเร็วเท่า ค่าแรงที่เพิ่มครับ..
ค่าแรงขั้นต่ำ เราเพิ่มเฉลี่ย 70% ใน 2 ปี... ถามว่า 2 ปีที่ผ่านมา ค่าครองชีพเราเพิ่มเท่าไรครับ...
ท่านต้องหาตัวเลขมาแย้งครับ อย่าเดา..
2 ถึงแม้ว่าแบบที่สอง ค่าอาหาร ดูแพงกว่า... มันก็ขึ้นกับว่า เราใช้จ่ายกับค่านี้เท่าไรด้วยครับ.. เช่นตัวอย่าง #313 ของผม..
สุดท้าย พอค่าแรงสูงขึ้น..มันก็อยู่ที่ การใช้ของคนที่ได้ค่าแรงว่า จะกินล้างกินผลาญ... หรือ จะประหยัด...
แต่ถ้าค่าแรงที่เค้าอยู่ไม่ได้... เค้าไม่มีทางเลือก ตั้งแต่ต้น..
ผมคงไม่สามารถหาตัวเลขมาเทียบให้ดูได้นะครับ ว่าการขึ้นของอันไหนมากกว่ากัน
สิ่งที่ผมต้องการจะชี้ คือจุดบอดของการขึ้นค่าแรง ที่มันไม่ใช่การแก้ปัญหาที่แท้จริง
เพราะมีส่วนกระทบไปถึงหลายส่วน ตามที่เคยพูดกับคุณลีมาแล้ว
ทีนี้ ลองคิดตามที่ผมพุดดู
แรงงานได้ค่าแรงเพิ่ม จนถึงตอนที่รัฐหมดโปรโมชั่นลดหย่อนภาษี
ผู้ผลิต ผู้ประกอบการต่างชาติ จะสามารถยืนหยัดไปได้นานแค่ไหน
เมื่อผุ้ประกอบการทั้งไทย ทั้งต่างชาติ ยืนหยัดสู้ค่าแรงที่เพิ่มขึ้นแบบก้าวกระโดดไม่ได้
คุณว่า ในอนาคตอันไกล้ จะเกิดการย้ายฐานการผลิตออกไปสู่ชาติที่ค่าแรงถูกกว่าได้หรือไม่
นี่คือสิ่งที่ผมกังวล จึงพุดถึงการที่หากรัฐจะปรับเปลี่ยนไปเป็นการลดค่าครองชีพ
ซึ่งมันจะทำให้ไม่กระทบต่อเนื่องได้มากเท่าการเพิ่มค่าแรง
ภาคการผลิตก็จะยังคงอยู่ ผู้ประกอบการยืนอยู่ได้ SME มีปัญญาใช้แรงงานที่ไม่แพงนัก
แรงงานก็ยังคงมีงานทำต่อไป
ในทางกลับกัน แรงงานส่วนหนึ่งได้ค่าแรงเพิ่มขึ้น
กินได้ อยู่ได้ เข้าถึงคอมพิวเตอร์เพื่อลุกหลานได้
แต่กลับมีอีกจำนวนหนึ่งที่ถูกคัดออก ไร้งานทำ เพราะโรงงานผู้ผลิตย้ายฐาน
คุณว่า อันไหนมันจะคุ้มค่ากับภาพรวมทั้งประเทศได้มากกว่า
ตัวอย่างที่ผมยก เพื่อแสดงถึงความเป้นไปได้นะครับ
แน่นอนว่า คำพุดของผมยังพิสูจน์ไม่ได้
ค่าแรงพึ่งถูกปรับทั่วประเทศ และภาคการผลิตบางส่วน ยังถูกยื้อด้วยนโยบาย
จนถึงวันที่นโยบายหมดไป ผู้ผลิตต้องจ่ายค่าแรงในจำนวนนั้นจริง
วันนั้น เราคงมีโอกาสได้พิสูจน์คำพูดของผม
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:28
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
ค่าแรงวันละ 200 ค่าข้าวแกงจานละ 15 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 20,000 บาทกับค่าแรงวันละ 2,000 ค่าข้าวแกงจานละ 150 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 25,000 บาทอันหลังดีกว่าครับไจแอนท์
ผมคงต้องถามว่า หากค่าแรงและค่าครองชีพผันผวนตามกัน
แรงงานเหล่านั้น จะสามารถมีเงินเหลือให้ซื้อคอมพิวเตอร์ให้ลูกหลานได้หรือไม่ครับ
ยังไม่ถามว่า ซื้อไปทำไมด้วยนะ
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:30
เอาง่ายๆ พูดเรื่องคอมกับไอโฟนมันอาจจะดูฟุ่มเฟือยเกินไป
ผมยกตัวอย่างน้ำมันซึ่งเป็นของที่จำเป็นก็แล้วกัน เพราะถึงคุณจะนั่งรถเมล์ ก็ต้องใช้น้ำมันอยู่ดี
สมมุติว่าเมืองไทยน้ำมันลิตรละ 50 บาทเท่าสิงคโปร์ สหรัฐ ญี่ปุ่น
ค่าแรง 300 ข้าวจานละ 20 น้ำมันลิตรละ 50 บาท
กับค่าแรง 3,000 ข้าวจานละ 200 น้ำมันลิตรละ 50 บาท อันไหนดีกว่า
ถ้าค่าแรง 3,000 จะมีคนตกงานมั้ยครับ อย่าว่าแต่ข้าวจานละ 200 เลย จานละบาท ก็ไม่มีจะแดรก
เขียนดักไว้ก่อน อย่าเปรียบเทียบกับประเทศอื่น เพราะตำแหน่งการแข่งขันของคนในโลกไม่เหมือนกัน มีข้อดี ข้อด้อยไม่เหมือนกัน คุณต้องมองให้ชัดเจน
เราจะขึ้นค่าแรงเท่า สรอ. ก็ได้ ถ้าประเทศเราเหมือน สรอ.
แต่เราไม่เหมือนน เข้าใจป่ะ
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:31
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
กะแล้วเชียว
หะแรก นึกว่าจะเป็นคุณลี ที่เข้ามาตอบแบบนี้
กลับเป็นคุณเฮนซะนี่
ทั้งวัน รายจ่ายคุณเฮนมีแค่ข้าวจานเดียวหรืออย่างไร
ตัวอย่างของผม คือเมื่อสามารถทำให้ราคาเครื่องอุปโภคบริโภคพื้นฐานไม่แพง
ค่าแรงก็ไม่จำเป้นต้องสูงเกินไป
อย่าลืมว่า ทั้งวัน เราไม่ได้กินข้าวจานเดียวนะครับ
เรามีน้ำ ไฟ เสื้อผ้า ยารักษาโรค น้ำยาล้างจาน ค่ารถ ค่าขนมไปโรงเรียนลูก
สมมุติว่ารัฐสามารถควบคุม หรือถึงขั้นกระชากค่าครองชีพลงมาได้
ทุกอย่างจะวินๆ มากกว่ามั๊ยครับ
รวมไปถึงเรื่องใหญ่อย่างการลงทุนจากต่างชาติ ที่จะทำให้เราสู้เพื่อนบ้านได้อย่างสบาย
ปัญหาแรงงานต่างด้าวเราก็ลดน้อยลงไป
การเพิ่มค่าแรง และทำให้ค่าครองชีพเพิ่ม
มันก็เป็นเพียงการลดค่าเงินบาทให้อ่อนลงไปเท่านั้น
นึกถึงประเทศอะไร ที่ต้องกำเงินเป้นกระสอบไปซื้อของสิครับ
อยู่ที่รัฐบาลไหน จะมีปัญญาทำได้
ไจแอนท์
ค่าแรงกับราคาสินค้าพื้นฐานหากมันขึ้นพร้อมกันไปด้วยกันมันไม่มัญหาหรอก มันเป็นเพียงตัวเลข
แต่ที่คุณควบคุมไม่ได้คือราคาสินค้าอื่นๆ เช่นน้ำมัน เครื่องใช้/สินค้าที่ต้องนำเข้า บ้าน ฯลฯ
คุณกดค่าแรงไว้ แต่ของพวกนั้นราคามันสูงขึ้นๆ สูงขึ้นทุกวัน ทำให้คนจนลงจนลง
คุณไม่เข้าใจหรือ?
คุณลีครับ
ชนชั้นแรงงาน มีโอกาสมากแค่ไหนที่จะต้องใช้สินค้านำเข้า
เทียบกับสินค้าอุปโภค บริโภคพื้นฐานหรือปัจจัย 4
ค่าแรงเพิ่ม ค่าครองชีพเพิ่ม แรงงานรวยขึ้นมั๊ยครับ
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:32
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
ผู้ใช้แรงงานเค้าอยากได้ปัจจัยสี่ถูกๆ หรือซื้อไอโฟนถูกๆหล่ะฮะ ต้องเลือกนะ อย่างใดอย่างหนึ่ง
คุณไม่เข้าใจหรือ
การซื้อไอโฟนกับความสามารถในการซื้อไอโฟนมันไม่เหมือนกันนะครับ
คุณสร้างความสามารถในการซื้อให้เขา แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาต้องไปซื้อไอโฟนทั้งหมด
เขาอาจไปซื้อสินค้าอื่นที่ผลิตทั้งโดยคนไทยและโดยต่างชาติที่เขาจำเป็นต้องใช้ซึ่งเมื่อก่อนเขาไม่มีความสามารถ
เช่น เขาอาจจะเช้าไปกินร้านฟูจิได้เดือนละครั้งโดยไม่เดือดร้อนจากเดิมที่เขาไม่สามารถเลย
ซึ่งจะเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจอย่างฟูจิที่จะไปจ้างงานเพิ่มขึ้นจากกำลังซื้ออันมหาศาลของฐานปิระมิด
คุณเข้าใจทีผมพูดไหมครับ
ถ้าคุณขึ้นค่าแรง ของที่ผลิตในประเทศก็ขึ้นทั้งหมด ปัจจัยสี่ก็ขึ้นตามไปด้วย ถึงคุณจะมีขึ้นเยอะขึ้น แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าคุณซื้อปัจจัยสี่ได้มากขึ้น
คุณครับ คุณขึ้นค่าแรง 2 เท่ามันไม่ได้ทำให้ราคาสินค้าเพิ่มขึ้น 2 เท่านะครับ เพราะราคาสินค้ามันมีต้นทุนส่วนอื่นด้วย
และยังมี demand supply จากส่วนอื่นมาดึงไม่ให้มันสูงเกินไปอีก เพราะไม่งันของมันขายไม่ได้
แต่มันจะทำให้คนส่วนหนึ่งมีเงินเหลือเพิ่มขึ้น
บวกกับการทำให้ราคาผลผลิตการเกษตรสูงขึ้นให้มีผลตอบแทนสูงกว่าค่าแรงที่เพิ่มขึ้น
ฐานล่างสุดของปิรามิดมันจะเป็นตัวหมุนเงินกลับเข้ามาให้ทุกอย่างมันปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่
ที่จะตายไปก็คือธุรกิจประเภทส่งออกแบบทำนาบนหลังคนซึ่งไม่ปรับเปลี่ยนเลย ซึ่งมันควรตายไปตั้งแต่ 10 ปีที่แล้วอยู่แล้ว
ธุรกิจพวกนะัันก็จะต้องปรับเปลี่ยนไปทำอย่างอื่นที่คนอื่นเขาทำกัน
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:33
ดูมู้นี้มาหลายวันแล้วถ้าการขึ้น300มันดีจริงตามที่เฮนไตว่า ทำไมรัฐบาลไม่สั่งให้ขึ้นเป็น1000บาทไปเลยครับ ชาวบ้านและเกษตรกรจะได้ลืมตาอ้าปากได้ คนจนจะได้หมดไปจากประเทศไทย
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:37
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
แบบแรกผมเหลือตัง... 265 บาท
แบบสองผมเหลือตัง... 185 บาท
อะไรดีกว่ากัน..
แบบแรก ค่าข้าว 35 ... ตังค์เหลือ 265 หาร 35 จะซื้อข้าวกินได้อีก 7.5 ชาม
แบบสอง ค่าข้าว 15 ... ตังค์เหลือ 185 หาร 15 จะซื้อข้าวกินได้อีก 12.3 ชาม
อะไรดีกว่ากัน
กะแล้ว..
เหอๆ วันนึงกินข้าว 7 จาน หรือครับ...
ถ้า กินแบบปกติ 3 จาน
แบบแรก มีเงินเหลือ 195
แบบสอง มีเงินเหลือ 155
อะไรดีกว่ากัน..
หรือ เวลาไปเที่ยวเมกา ค่าแรง 1 วัน
แบบแรก แลกเป็นเงิน USD ที่ rate 30 บาทได้ ... 10$
แบบสอง แลกได้ 6.6$
แบบไหนซื้อของกินที่เมกา ได้เยอะกว่าครับ..
ถ้าจะดัดจริตว่า ว่าแรงแค่นี้ ไปเที่ยวเมกาไม่ได้... ไปเที่ยวประเทศไหน ที่ต้องเปลี่ยนค่าเงิน..
มันก็เหมือนกัน.. หรือว่า เค้าไม่ควรเที่ยว..
ซื้อของ ที่นำเข้าก็อีก... ถามว่า ทั้งสองแบบ แบบไหน ใช้เวลาเก็บตังน้อยกว่ากัน กว่าจะซื้อ iPhone ได้ครับ...
ถ้าอยากซื้อ...
ผู้ใช้แรงงานเค้าอยากได้ปัจจัยสี่ถูกๆ หรือซื้อไอโฟนถูกๆหล่ะฮะ ต้องเลือกนะ อย่างใดอย่างหนึ่ง
คุณไม่เข้าใจหรือ
การซื้อไอโฟนกับความสามารถในการซื้อไอโฟนมันไม่เหมือนกันนะครับ
คุณสร้างความสามารถในการซื้อให้เขา แต่ไม่ได้หมายความว่าเขาต้องไปซื้อไอโฟนทั้งหมด
เขาอาจไปซื้อสินค้าอื่นที่ผลิตทั้งโดยคนไทยและโดยต่างชาติที่เขาจำเป็นต้องใช้ซึ่งเมื่อก่อนเขาไม่มีความสามารถ
เช่น เขาอาจจะเช้าไปกินร้านฟูจิได้เดือนละครั้งโดยไม่เดือดร้อนจากเดิมที่เขาไม่สามารถเลย
ซึ่งจะเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับธุรกิจอย่างฟูจิที่จะไปจ้างงานเพิ่มขึ้นจากกำลังซื้ออันมหาศาลของฐานปิระมิด
คุณเข้าใจทีผมพูดไหมครับ
ถ้าคุณขึ้นค่าแรง ของที่ผลิตในประเทศก็ขึ้นทั้งหมด ปัจจัยสี่ก็ขึ้นตามไปด้วย ถึงคุณจะมีขึ้นเยอะขึ้น แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าคุณซื้อปัจจัยสี่ได้มากขึ้น
แปลก... 2ปี ค่าแรงขึ้น 82% แต่ CPI ต่อใ้ห้ขึ้นก็ไม่เกิน 20%...
ท่านเล่น จินตนาการซะ.. ว่าของจะขึ้นจนซื้ออะไรไม่ได้...
หลักฐานครับ... นี่..
http://www.tradingec...price-index-cpi
"คนโง่มักจะชอบว่าคนอื่นว่าโง่"
"ถ้าคนเราคิดเหมือนกันหมด ก็ไม่มีเลือกตั้งซิครับ"
"ผมไม่พูด เรื่อง 112 แล้ว นะครับ กรุณาอย่าถาม (17 พค 2012)"
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:41
นึกภาพอย่างนึงตามผมดูนะ
ค่าแรง 300 ค่าข้าว 35 บาท
กับค่าแรง 200 ค่าข้าว 15 บาท
อะไรดีกว่ากัน
ค่าแรงวันละ 200 ค่าข้าวแกงจานละ 15 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 20,000 บาทกับค่าแรงวันละ 2,000 ค่าข้าวแกงจานละ 150 บาท ค่าคอมพิวเตอร์ 25,000 บาทอันหลังดีกว่าครับไจแอนท์
ผมคงต้องถามว่า หากค่าแรงและค่าครองชีพผันผวนตามกัน
แรงงานเหล่านั้น จะสามารถมีเงินเหลือให้ซื้อคอมพิวเตอร์ให้ลูกหลานได้หรือไม่ครับ
ยังไม่ถามว่า ซื้อไปทำไมด้วยนะ
Edited by Leeporter ขี้แพ้, 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:44.
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:41
ก๋วยเตี๋ยวจากราคา 20 - 25 บาท ขึ้นราคาไปเป็น 35 - 40 - 45 บาท มันขึ้นไปกี่เปอร์เซ็นต์วะ
ปล.ไม่ยกราคาข้าวแกง เพราะข้าวแกงเป็นสินค้าควบคุม ใครขายเกินราคาติดคุก 7 ปี
Edited by เช neverdie, 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:42.
มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล
ตอบ 10 เมษายน พ.ศ. 2556 - 15:45
คุณเฮนกับคุณลี ชอบเอามาแต่มุมเดียวมาพูดเสมอ
ผมถามงี้ดีกว่า
สมมุติ คุณเงินเดือน 20000 บาท ผ่อนรถเดือนละ 7000 บาท
ที่เหลือ ใช้กินข้าว ซื้อเสื้อผ้า ส่งให้แม่ ค่าน้ำมัน เดือนๆ นึง เหลือเงินไม่กี่ร้อย
นี่คือตัวอย่างของชนชั้นกลางทั่วไปนะครับ
ผมถามว่า เมื่อแรงงานได้ค่าแรง 300 ค่าข้าวเพิ่มขึ้นจาก 25-30 เป้น 30-35
คุณจะเดือดร้อนมั๊ยครับ
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน