Jump to content


Photo
* * * * - 1 votes

ลองอ่านๆดูครับ ใครเข้าใจผิดกันแน่....


  • Please log in to reply
159 ความเห็นในกระทู้นี้

#1 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:39

http://forum.banrasd...d.php?tid=28888

 

พวกเสื้อแดงเข้าใจว่า

 

"คุณ tvnews ครับ อันนี้เขาแก้รัฐธรรมนูญ น่ะครับ ไม่ใช่ พรบ. หรือกฎหมายอื่นๆ น่ะครับ ไม่มีในข้อกำหนดในรัฐธรรมนูญน่ะครับ ให้ ตลก ไปวินิจฉัย อย่ามั่วครับ"

 

"รัฐธรรมนูญ ไม่เกี่ยวข้องกับ พรบ.
ตลก มีหน้าที่วินิจฉัย พรบ. ว่าขัด รธน. หนือไม่?
ไม่มีหน้าที่ไปล้วงลูกกระบวนการ การแก้ไขรัฐธรรมนูญ
เพราะมีประธานรัฐสภา ซึ่งเป็นประมุขฝ่ายนิติบัญญัติทำหน้าที่อยู่แล้ว"

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..."


Edited by คนกรุงธน, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:40.

"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#2 อู๋ ฮานามิ

อู๋ ฮานามิ

    สมาชิกหน้าเก่า

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,018 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:43

มานโพสต์แบบฆ่าตัวตายชัดๆ เลย 


ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด

 

เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ


#3 pooyong

pooyong

    สมาชิกขั้นไม่สูง แต่สูงอายุ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,292 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:51

ช่าง มานะพยายามเข้าไปอ่าน น้อ :D


การรับใช้แผ่นดิน คือความเบิกบาน

#4 Emolution

Emolution

    โคตรพ่อโคตรแม่ควายแดง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,029 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:54

พยายามซะจริงๆ



#5 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:58

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#6 Shariff

Shariff

    สมาชิกหน้าตาดี

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,802 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:01

จำนวนคอมเม้นท์/วิว น่าสงสารดี

 

 

dPSoeA.JPG


"การปลดปล่อยตัวเองออกจากความเป็นทาสทางความคิดมิใช่ใครอื่น, มีแต่เราเท่านั้นที่จะต้องกระทำ "จากเพลง Redemption song.

#7 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:09

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

เป็นไงล่ะ เห็นเงิบกันหมดนี่ หายหัวกันไปเลย

:lol: :lol: :lol:


"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#8 winwin191

winwin191

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,520 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:09

จำนวนคอมเม้นท์/วิว น่าสงสารดี


dPSoeA.JPG

ตั้งแต่แดงวิชาการเริ่มแยกออกมา คอมเม้นท์น้อยมาก

Edited by winwin191, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:09.

คนเก่งเป็นง่าย คนดีเป็นยาก

#9 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:10

 

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

เป็นไงล่ะ เห็นเงิบกันหมดนี่ หายหัวกันไปเลย

:lol: :lol: :lol:

 

คงไม่อยากสอนวัวไถนา


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#10 เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,247 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:11

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

 

อธิบายหน่อยค่ะน้องดอนยอ พี่ขิงไม่เข้าใจว่า เราต้องรู้ลึกขนาดไหน รู้จริงขนาดไหนเกี่ยวกับเรื่องนี้ พวกเราออกมาต้าน พรบ พอพวกขี้ข้าสุดซอยข่มขืนรัฐธรรมนูญจนตายหมู่ยกเข่งเราเลยปิดซอยฉลองไม่ได้หรือคะ  :lol:


ทักษิณเป็นเทพเจ้าจริงๆนะ ไม่เชื่อถาม เสื้อแดง ดูสิ

#11 ควันหลง

ควันหลง

    I am Royalist

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,696 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:12

 

 

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

เป็นไงล่ะ เห็นเงิบกันหมดนี่ หายหัวกันไปเลย

:lol: :lol: :lol:

 

คงไม่อยากสอนวัวไถนา

 

 

ไม่ต้องหรอกครับ อาจารย์  :lol:


Edited by ควันหลง, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:12.


#12 คนทุกที่

คนทุกที่

    ชนชั้นกลาง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,480 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:12

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

แล้วที่ถูกต้องมันคืออะไรคะ รบกวนให้ความกระจ่าง 



#13 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:14

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

 

 

ไอ้ที่แก้ไขมันไม่ใช่ร่างกฏหมายว่างั้นเถอะ...

 

:lol: 



#14 แมวน้อยสีน้ำเงิน

แมวน้อยสีน้ำเงิน

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,491 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:20

*
POPULAR

จดหมายถึง...ควายแดง โดย ปู จิตกร บุษบา

1.รัฐธรรมนูญแก้ได้ครับ ศาลไม่ได้บอกเลยว่า รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมไม่ได้

2.แต่ในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ต้องกระทำตามขั้นตอนอย่างสุจริต นี่กลับกระทำโดยทุจริต เช่น ร่างที่เสนอกับร่างที่พิจารณา เป็นคนละฉบับกัน มีการเขียนเพิ่มในเนื้อหาโดยพลการ ไม่อยู่ในร่างที่สภารับหลักการตั้งแต่ต้น, ในการประชุมพิจารณา มีการตัดสิทธิการอภิปรายของเสียงส่วนน้อย ไม่เป็นไปตามหลักนิติธรรม, รวบรัดปิดการประชุม และเร่้งรีบลงมติ ซ้ำยังมีการใช้บัตรของผู้อื่นมาลงมติอย่างทุจริต (กดบัตรแทนกัน) นับเป็นการกระทำที่เลวทราม และผิดกฎหมาย

3.ในการแก้ไขนั้น ต้องไม่กระทำเพื่อผลการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพแห่งอำนาจ อันมีผลถึงการเปลี่ยนโครงสร้างของอำนาจ โดยเอาอำนาจที่สมดุลดีแล้ว มาเป็นประโยชน์กับฝ่ายตัวเอง กล่าวคือ การออกแบบให้ ส.ว. มาจากการเลือกตั้ง ผสมไปกับการสรรหา การกำหนดว่าผู้เป็นผัวเมียพี่น้องและพ่อแม่ลูก จะอยู่ในสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาในเวลาเดียวกันไม่ได้ การบังคับให้ ส.ว. ต้องเว้นวรรค จะเป็นต่อกันสองสมัยไม่ได้ ก็เพื่อให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลสภาผู้แทนราษฎรตามหน้าที่อย่างสุจริต ไม่มีผลประโยชน์หรือสายสัมพันธ์ทับ ซ้อน เราไม่เชื่อว่า เครือญาติจะกล้าหาญถ่วงดุลกัน หรือถอดถอนกันอย่างสุจริต ตรงไปตรงมา เราไม่ต้องการให้ ส.ว.เก่าสะสมอำนาจและสานประโยชน์จากพรรคการเมือง แล้วใช้ฐานการเลือกตั้งของพรรคการเมือง เข้ามาเป็น ส.ว. เราจึงออกกติกาไว้อย่างเคร่งครัด แต่คุณกลับจะยกเลิกกติกาเกหล่านั้น อันมีผลให้คุณได้อำนาจเพิ่มขึ้น การตรวจสอบถ่วงดุลลดลง เท่ากับคุณได้พยายามเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอำนาจ โดยในการเปลี่ยนแปลงนี้ ใช้วิธีที่ไม่สุจริตตามข้อ 2

4.ศาลจึงวินิจฉัยว่า เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจ โดยไม่เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ จึงตัดวินว่า การแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งนี้ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ

5.ทั้งหมดที่อธิบายมา จะว่ายากก็ยาก จะว่าง่ายก็ง่าย หากมิได้แย่งกินหญ้ากับควาย เชื่อว่าจะเข้าใจได้ในไม่ช้า

ขอบคุณที่แกล้งโง่และโวยวาย ทำให้ได้มีโอกาสอธิบายให้ "คน" "ดีๆ" ได้รู้ไปด้วย อิอิ...


"เสียงข้างมากเพียงหนึ่งวัน ใช้อ้างความชอบธรรม 4 ปี"


#15 idecon

idecon

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,580 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:24

ใช่ครับ
สลิ่มอย่ามั่ว
ต้องเชื่อฟังแดง
เพราะมีประสบการณ์สูง
ถูกยุบพรรคมาแล้วสองรอบ
แมงสาบทำด้ายป่าว

#16 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:26

 

 

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

เป็นไงล่ะ เห็นเงิบกันหมดนี่ หายหัวกันไปเลย

:lol: :lol: :lol:

 

คงไม่อยากสอนวัวไถนา

 

ไม่เห็นวัวนะ เห็นแต่ควายแดงวิ่งกันพล่านไปหมด

:D :D :D


"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#17 GKTH

GKTH

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 243 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:35

การวินิจฉัยกรณีนี้ของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญใช้อำนาจผ่านมาตรา 68 วรรคสองของรัฐธรรมนูญครับ

 

มาตรา 68 วรรค 2 บัญญัติว่า "ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง (พฤติการล้มล้างการปกครอง) ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งให้เลิกการกระทำดังกล่าว  แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว"

 

นอกจากนี้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญ มาตรา 216 วรรคที่ 6 บัญญัติให้ "วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ" แต่ ร่าง พรบ. ดังกล่าวยัง "ถูกดอง" อยู่โดยยังไม่รู้ว่าจะถูกนำเข้าพิจารณาในสภาเมื่อไหร่ (http://www.thairath....tent/pol/333015) ดังนั้น

มาตรา 300 บัญญัติว่า "ในระหว่างที่ยังมิได้ตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ  ให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจออกข้อกำหนดเกี่ยวกับวิธีพิจารณาและการทำคำวินิจฉัยได้ แต่ทั้งนี้ ต้องตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้"

 

และก็เป็นไปตามข้อ 6.3 ของอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยการพิจารณาวินิจฉัยกรณีบุคคลหรือพรรคการเมืองใช้สิทธิหรือเสรีภาพในทางการเมืองโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ (http://www.constitut...ang=thindex.php)

 

สิ่งที่ศาลฯ ได้พิพากษาเมื่อวานนั้นก็เป็นการวินิจฉัยผ่านกระบวนการทางรัฐธรรมนูญทั้งสิ้นและรวมถึงข้อบังคับของสภา

และด้วยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญดังกล่าว ศาลฯ ก็ย่อมมีอำนาจวินิจฉัยเนื่องด้วยเพราะข้อความในมาตรา 68 วรรคหนึ่งของรัฐธรรมนูญแหละครับ 

มาตรา 68 วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า "บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถึทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนีั้ มิได้"

 

ไม่รู้ดอนยอนจะเข้าใจหรือเปล่า?


Edited by GKTH, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:37.


#18 ทรงธรรม

ทรงธรรม

    ต่อให้ต้องเรียนจนแก่ ก็จะเรียนต่อไป คนเราพัฒนาได้ทุกคน

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,157 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:35

ศาลรัฐธรรมนูญ (อังกฤษ: constitutional court) เป็นศาลสูงที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญ โดยมีอำนาจหลักที่จะวินิจฉัยว่า กฎหมายใดมีปัญหาเรื่องความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ขัดกับสิทธิและเสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้หรือไม่

 

http://th.wikipedia....i/ศาลรัฐธรรมนูญ

 

คือ ถ้าตามความเข้าใจ แบบ ชาวบ้าน ธรรมดา

 

ที่ไม่ใช่ นักกฏหมาย แบบผม

 

ต้องเข้าใจว่า อันการกระทำใด ๆ ก็ตาม

 

ที่เป็น การ ตรากฏหมาย หรือ การวินิจฉัย กฏหมาย

 

ที่เป็นการ ส่อว่า จะขัด รัฐธรรมนูญ

 

ศาล รธน ย่อมจะมี สิทธิ เข้ามาตัดสิน ได้

 

 

ผมถามว่า ร่างแก้ไข รัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ พรบ

 

แล้วถ้า ร่างแก้ไขผ่าน มัน คือ " กฏหมาย " ใช่หรือไม่

 

เพราะมันจะเป็น รธน. ข้อใหม่ ให้ปฏิบัติตาม

 

 

เช่นนี้ คือการ ตรา กฏหมาย ใหม่ ใช่หรือไม่

 

 

ถ้าใคร ๆ ที่มีหน้าที่ แต่ สามารถ ตรากฏหมาย

 

ที่ขัดจาก กฏหมายสูงสุด เดิม ได้ตลอด

 

โดยเป็นการขัดในส่วนที่ เป็นสาระสำคัญ

 

ย้อนแย้ง กันอย่างชัดเจน

 

ผมถามว่า เช่นนี้ กฏหมายเดิม จะมี ความสำคัญ อย่างไร

 

 

แล้วถ้าให้แก้ไป แก้มา ได้ตลอด โดย

 

ไม่มี บรรทัดฐาน ใด ๆ ตั้งไว้ เป็นขอบเขตเลย

 

ถามว่า นี่จะ ควรเป็น กฏหมาย สูงสุด ของประเทศ

 

หรือ กฏของ เผ่า มนุษย์กินคน ดีเล่า

 

 

หาก ไม่ถือว่า ผิดกฏหมาย จากเดิม

 

หรือ ศาล รธน ไม่มีอำนาจ วินิจฉัย แล้ว

 

ก็ไม่สมควร มีศาล ไว้ตั้งแต่ต้น เพราะ มันเปล่าประโยชน์


ขอให้พวกเรา ชาวหลากสี และพันธมิตร จงมีชีวิตรอด จากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ฝีมือปูนา ไปตลอดรอดฝั่งด้วยครับ

 

PEMDAS ย่อมาจาก ลำดับการคำนวณ Parentheses , Exponentials , Multiply , Divide , Add , Subtract

 

FWGHSO ย่อมาจาก ลำดับการประเมินผลของ query  FROM, WHERE, GROUP BY, HAVING, SELECT, ORDER BY


#19 hinotori

hinotori

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,899 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:47

*
POPULAR

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

 

เมื่อกี้ไปถามเด็กประถมมา

 

"น้องๆ น้อง รู้จัก ศาลรัฐธรรมนูญไหม"

 

"รู้คับ"

 

"แล้วเขาทำหน้าที่อะไร"

 

"ก็ตัดสินคดีที่เกี่ยวข้องกับรัฐธรรมนูญไงคับ"

 

"อ้าว แล้วน้องรู้ได้ไง"

 

"โถ่พี่ แค่ชื่อก็บอกแล้วว่า ศาลรัฐธรรมนูญ ถ้าไม่ทำคดีเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ แล้วจะให้ไปทำอะไรล่ะคับ"

 

.......................

..............

.......

...

.

 

เด็กรู้  .......ควายไม่รู้....... กรูฮา :D



#20 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:54

^ ^ ^

555+ ฮามากมาย :D :D :D


"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#21 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:07

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ

 

     มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม 

 

     มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

      มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ดังต่อไปนี้

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา
เป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง
มากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว
ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

 

ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  

ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้

และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2

นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6

และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้

แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......

แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  

แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย 


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#22 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:10

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ

 

     มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม 

 

     มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

      มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ดังต่อไปนี้

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา
เป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง
มากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว
ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

 

ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  

ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้

และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2

นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6

และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้

แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......

แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  

แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย 

 

 

แล้วใครเป็นคนตีความตาม 3,6,291

 

หรือหมายความว่า ถ้าสภาบอกใช้ได้ มันก็แสดงว่าไม่ขัดรัฐธรรมนูญว่างั้น

 

:lol: 


Edited by 55555, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:12.


#23 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:13

มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม

 

เล่นตีความเอียงเป็นศาลข้างบ้านเลยนะดอหย่อน :lol:

 

ส่วนที่ ๘ การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๑๕๔

ร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาให้ความเห็น ชอบแล้ว ก่อนที่นายกรัฐมนตรี จะนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยตาม มาตรา ๑๕๐ หรือร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาลงมติยืนยันตามมาตรา ๑๕๑ ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนำ ร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายอีกครั้งหนึ่ง

(๑) หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา รวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้เสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา แล้วแต่กรณี แล้วให้ประธานแห่งสภาที่ได้รับความเห็นดังกล่าวส่งความเห็นนั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจ้งให้นายกรัฐมนตรีทราบโดยไม่ชักช้า

(๒) หากนายกรัฐมนตรีเห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้ง ต่อรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้ส่งความเห็นเช่นว่านั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจ้งให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภาทราบ โดยไม่ชักช้า


Edited by คนกรุงธน, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:18.

"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#24 น้องจุบุจุบุ

น้องจุบุจุบุ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,006 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:14

ผมว่ามันจำมาจากทีัวีเสื้อแดงรายการที่ชอบออกมาด่านั้นละ เมื่อวานผมนั้งดูอยู่ช่วง 2 ทุ่มกว่าๆ

ผมไม่คิดว่าจะมีคนเชื่อรายการพวกนี้ด้วย

 

คนพวกนี้น่าสงสาร หมกมุ่นอยู่แต่อำมาตย์ ไพร่ ศาลเอีัยง ปฏิวัติ วิสัยทัศหยุดที่ปี 49

ไปชุมนุมเสื้อแดงก็ไม่ได้เงินแล้วก็บอกว่าเสื้อแดงไม่ได้จ้างไปด้วยใจ

ก็แน่สิก็พวกคุณไปเองเต็มใจไปแล้วใครจะจ้างคุณละ 

 

คนพวกนี้น่าสงสารวันๆทำได้แต่ดูทีวีเสื้อแดงแล้วก็มาโพสหมกมุ่นอยู่ในบ้านราดไม่ก็ราชดำนา



#25 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:15

 

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ

 

     มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม 

 

     มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

      มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ดังต่อไปนี้

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา
เป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง
มากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว
ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

 

ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  

ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้

และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2

นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6

และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้

แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......

แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  

แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย 

 

 

แล้วใครเป็นคนตีความตาม 291

 

หรือหมายความว่า ถ้าสภาบอกใช้ได้ มันก็แสดงว่าไม่ขัดรัฐธรรมนูญว่างั้น

 

:lol: 

 

ถูก   เพราะถือว่าสมาชิก  สภาฯ  มาจากประชาชน  และในระบอบประชาธิปไตย

ถือว่าเสียงประชาชนเป็นใหญ่  หรือ  อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน  แล้วเขามีบัญญัติไว้แล้วว่า  

 

ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#26 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:17

มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม

 

เล่นตีความเอียงเป็นศาลข้างบ้านเลยนะดอหย่อน :lol:

   ต้องดูมาตรา  6  เเละ  291  ประกอบด้วย


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#27 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:19

อ่านตรงนี้ด้วยนะดอหย่อน...

http://www.thaigoodview.com/node/87426
รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายชนิดหนึ่ง
แต่เป็นกฎหมายที่มีเนื้อหาสาระแตกต่างไปจากกฎหมายทั่วไปเพราะจะเกี่ยวข้อง กับสิทธิเส​รีภาพของประชาชนและกลไกที่มีความสำคัญต่างๆ เช่นฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ

รัฐธรรมนูญจึงเป็นกฎหมายที่มุ่งคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนรัฐธรรมนูญ ยังแตกต่าง​จากกฎหมายชนิดอื่นเพราะโดยทั่วไปรัฐธรรมนูญจะเป็นกฎหมายสูงสุด ของประเทศ กฎหมายอื่น ๆ เช่น พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวงหรือการดำเนินการใด ๆ จะขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญไม่ได้ ประเทศทั้งหลายมักจะมีรัฐธรรมนูญด้วยกันทั้งสิ้นแต่บางประเทศรัฐธรรมนูญจะ ไม่เป็นลาย​ลักษณ์อักษร เช่น ประเทศอังกฤษ บางประเทศเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และไทย

ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญฉบับแรกเมื่อ วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475

วันรัฐธรรมนูญตรงกับ วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย

รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 18 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550

"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#28 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:19

 

 

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ

 

     มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม 

 

     มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

      มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ดังต่อไปนี้

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา
เป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง
มากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว
ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

 

ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  

ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้

และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2

นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6

และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้

แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......

แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  

แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย 

 

 

แล้วใครเป็นคนตีความตาม 291

 

หรือหมายความว่า ถ้าสภาบอกใช้ได้ มันก็แสดงว่าไม่ขัดรัฐธรรมนูญว่างั้น

 

:lol: 

 

ถูก   เพราะถือว่าสมาชิก  สภาฯ  มาจากประชาชน  และในระบอบประชาธิปไตย

ถือว่าเสียงประชาชนเป็นใหญ่  หรือ  อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน  แล้วเขามีบัญญัติไว้แล้วว่า  

 

ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

 

 

มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

:lol:

 

อ่านคำพิพากษา ให้ละเอียดก่อน

 

แล้วอย่าลืมไปอ่าน อำนาจและหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญด้วย..

 

แล้วค่อยมาแถ...

 

ดอนยอเขียนมา ยังห่างไกลหลักเหตุผลที่เอามาแถมาก..

 

:lol:



#29 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:19

ผมว่ามันจำมาจากทีัวีเสื้อแดงรายการที่ชอบออกมาด่านั้นละ เมื่อวานผมนั้งดูอยู่ช่วง 2 ทุ่มกว่าๆ

ผมไม่คิดว่าจะมีคนเชื่อรายการพวกนี้ด้วย

 

คนพวกนี้น่าสงสาร หมกมุ่นอยู่แต่อำมาตย์ ไพร่ ศาลเอีัยง ปฏิวัติ วิสัยทัศหยุดที่ปี 49

ไปชุมนุมเสื้อแดงก็ไม่ได้เงินแล้วก็บอกว่าเสื้อแดงไม่ได้จ้างไปด้วยใจ

ก็แน่สิก็พวกคุณไปเองเต็มใจไปแล้วใครจะจ้างคุณละ 

 

คนพวกนี้น่าสงสารวันๆทำได้แต่ดูทีวีเสื้อแดงแล้วก็มาโพสหมกมุ่นอยู่ในบ้านราดไม่ก็ราชดำนา

ประเด็นมันอยู่ที่ว่า  ถ้าแบบที่ผมว่าไม่ถูก  ที่ถูกควรจะเป็นอย่าง

พร้อมเหตุผลด้วย


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#30 GKTH

GKTH

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 243 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:20

ประสาทกินละ !

กลายเป็นว่าจะตัดสินว่าร่างไหนล้มล้างการปกครองหรือไม่เป็นหน้าที่ของรัฐสภา

 

ปวดตับอ่อน



#31 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:22

 

มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม

 

เล่นตีความเอียงเป็นศาลข้างบ้านเลยนะดอหย่อน :lol:

   ต้องดูมาตรา  6  เเละ  291  ประกอบด้วย

 

อย่าลืมดูมาตรานี้ประกอบด้วย...

ส่วนที่ ๘ การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๑๕๔

ร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาให้ความเห็น ชอบแล้ว ก่อนที่นายกรัฐมนตรี จะนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยตาม มาตรา ๑๕๐ หรือร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาลงมติยืนยันตามมาตรา ๑๕๑ ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนำ ร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายอีกครั้งหนึ่ง

(๑) หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา รวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้เสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา แล้วแต่กรณี แล้วให้ประธานแห่งสภาที่ได้รับความเห็นดังกล่าวส่งความเห็นนั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจ้งให้นายกรัฐมนตรีทราบโดยไม่ชักช้า

(๒) หากนายกรัฐมนตรีเห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้ง ต่อรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้ส่งความเห็นเช่นว่านั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจ้งให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภาทราบ โดยไม่ชักช้า

ในระหว่างที่ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา วินิจฉัย ให้นายกรัฐมนตรีระงับการดำเนินการ เพื่อประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวไว้จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำ วินิจฉัย ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นมีข้อความขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนู​ญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ และข้อความดังกล่าวเป็นสาระสำคัญ ให้ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป


"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#32 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:25

 

อ่านตรงนี้ด้วยนะดอหย่อน...

http://www.thaigoodview.com/node/87426
รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายชนิดหนึ่ง
แต่เป็นกฎหมายที่มีเนื้อหาสาระแตกต่างไปจากกฎหมายทั่วไปเพราะจะเกี่ยวข้อง กับสิทธิเส​รีภาพของประชาชนและกลไกที่มีความสำคัญต่างๆ เช่นฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ

รัฐธรรมนูญจึงเป็นกฎหมายที่มุ่งคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนรัฐธรรมนูญ ยังแตกต่าง​จากกฎหมายชนิดอื่นเพราะโดยทั่วไปรัฐธรรมนูญจะเป็นกฎหมายสูงสุด ของประเทศ กฎหมายอื่น ๆ เช่น พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวงหรือการดำเนินการใด ๆ จะขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญไม่ได้ ประเทศทั้งหลายมักจะมีรัฐธรรมนูญด้วยกันทั้งสิ้นแต่บางประเทศรัฐธรรมนูญจะ ไม่เป็นลาย​ลักษณ์อักษร เช่น ประเทศอังกฤษ บางประเทศเป็นลายลักษณ์อักษร เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส และไทย

ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญฉบับแรกเมื่อ วันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475

วันรัฐธรรมนูญตรงกับ วันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวร เพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย

รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 18 ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550

 

เขาถึงให้  รธน  เป็นกฎหมายสูงสุดไงครับ  เพราะฉะนั้นถ้า  รธน  ไม่มีระบุไว้  ให้ทำได้

ไม่ว่าองค์กรใดๆ  ก็ไม่สามารถ  ตีความเพิ่มเติมขึ้นมาเองได้  มันไม่ใช่หน้าที่   ต้องเป็น  สภาฯ  เท่านั้นครับ

ที่จะสามารถ แก้ใข  ลด  หรือเพิ่มเติม  บทบัญญติ  ของ  รธน  เพราะมันคืออำนาจอธิปไตย  ให้เป็นอำนาจ  หน้าที่

ที่ประชาชนให้มา


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#33 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:26

ประสาทกินละ !

กลายเป็นว่าจะตัดสินว่าร่างไหนล้มล้างการปกครองหรือไม่เป็นหน้าที่ของรัฐสภา

 

ปวดตับอ่อน

ตรงนี้แหละที่เป็นจุดอ่อนทางความคิดของเสื้อแดง

อ้างอย่างเดียวเป็นหน้าที่รัฐสภา มันก็ถูกอยู่หรอก แต่มันถูกครึ่งเดียว

 

...เดี๋ยวมันก็แก้รธน.ว่าการเลือกตั้งสส.ต้องให้มีการเลือกตั้งเฉพาะภาคอีสานเท่านั้น เลือกเสร็จแล้วสส.อีสานตั้งนายกได้เลย...

:D :D :D

ดีมั๊ยดอหย่อน


Edited by คนกรุงธน, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:27.

"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#34 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:27

ประสาทกินละ !

กลายเป็นว่าจะตัดสินว่าร่างไหนล้มล้างการปกครองหรือไม่เป็นหน้าที่ของรัฐสภา

 

ปวดตับอ่อน

ไม่ต้องมีใครตัดสินครับ  มันเสนอไม่ได้อยู่แล้ว  ตาม  ม 291(1)  วรรคสอง


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#35 น้องจุบุจุบุ

น้องจุบุจุบุ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,006 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:27

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ

 

     มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม 

 

     มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

      มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ดังต่อไปนี้

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา
เป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง
มากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว
ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

 

ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  

ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้

และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2

นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6

และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้

แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......

แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  

แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย 

 

ผมว่าดอนยอ หลงประเด็นไปไกลทีเดียว

 

ไม่มีใครเคยบอกว่าศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่ตรากฏหมาย

 

ผมก็ไม่รู้จะยกมาทำอะไรเยอะแยะไปหมด

 

ประัเด็นมันอยู่ที่ว่าศาลมีอำนาจในการวินิจฉัย ที่มาของ สว ครั้งนี้หรือไม่

 

ตอบได้เลยว่า มี

 

เพราะหน้าที่นึงของศาลรัฐธรรมนูญคือ

 

ตรวจสอบการตรากฏหมาย [ไม่ได้เป็นคนตรากฏหมาย] หรือการแก้ไข

 

ว่าถูกต้องและขัดกับรัฐธรรมนูญหรือไม่

 

ก่อนที่จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา


Edited by น้องจุบุจุบุ, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:28.


#36 GKTH

GKTH

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 243 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:28

 

ประสาทกินละ !

กลายเป็นว่าจะตัดสินว่าร่างไหนล้มล้างการปกครองหรือไม่เป็นหน้าที่ของรัฐสภา

 

ปวดตับอ่อน

ตรงนี้แหละที่เป็นจุดอ่อนทางความคิดของเสื้อแดง

อ้างอย่างเดียวเป็นหน้าที่รัฐสภา มันก็ถูกอยู่หรอก แต่มันถูกครึ่งเดียว

 

...เดี๋ยวมันก็แก้รธน.ว่าการเลือกตั้งสส.ต้องให้มีการเลือกตั้งเฉพาะภาคอีสานเท่านั้น เลือกเสร็จแล้วสส.อีสานตั้งนายกได้เลย...

:D :D :D

ดีมั๊ยดอหย่อน

 

 

เพราะสภามามติว่าการเลือกตั้งเฉพาะภาคอีสานไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

วินิจฉัยเองเสร็จสัพ เย้ !  :lol:  :lol:



#37 เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,247 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:29

น้องดอนยอพี่ขิงตามน้องดอนยอเข้าพงลงเหวจะตายอยู่แล้วนะน้อง  :lol:


ทักษิณเป็นเทพเจ้าจริงๆนะ ไม่เชื่อถาม เสื้อแดง ดูสิ

#38 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:30

 

ประสาทกินละ !

กลายเป็นว่าจะตัดสินว่าร่างไหนล้มล้างการปกครองหรือไม่เป็นหน้าที่ของรัฐสภา

 

ปวดตับอ่อน

ตรงนี้แหละที่เป็นจุดอ่อนทางความคิดของเสื้อแดง

อ้างอย่างเดียวเป็นหน้าที่รัฐสภา มันก็ถูกอยู่หรอก แต่มันถูกครึ่งเดียว

 

...เดี๋ยวมันก็แก้รธน.ว่าการเลือกตั้งสส.ต้องให้มีการเลือกตั้งเฉพาะภาคอีสานเท่านั้น เลือกเสร็จแล้วสส.อีสานตั้งนายกได้เลย...

:D :D :D

ดีมั๊ยดอหย่อน

 

อย่างนี้เรียกว่าตะแบงครับ

ก็ในมาตรา  3  เขาก็บอกแล้วว่า  การใช้อำนาจต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม

ที่คุณว่า  มันเป็นไปไม่ได้แน่นอน  มันขัดหลักนิติธรรม


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#39 GKTH

GKTH

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 243 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:30

 

 

มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม

 

เล่นตีความเอียงเป็นศาลข้างบ้านเลยนะดอหย่อน :lol:

   ต้องดูมาตรา  6  เเละ  291  ประกอบด้วย

 

อย่าลืมดูมาตรานี้ประกอบด้วย...

ส่วนที่ ๘ การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๑๕๔

ร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาให้ความเห็น ชอบแล้ว ก่อนที่นายกรัฐมนตรี จะนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยตาม มาตรา ๑๕๐ หรือร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาลงมติยืนยันตามมาตรา ๑๕๑ ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนำ ร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายอีกครั้งหนึ่ง

(๑) หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา รวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้เสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา แล้วแต่กรณี แล้วให้ประธานแห่งสภาที่ได้รับความเห็นดังกล่าวส่งความเห็นนั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจ้งให้นายกรัฐมนตรีทราบโดยไม่ชักช้า

(๒) หากนายกรัฐมนตรีเห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้ง ต่อรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้ส่งความเห็นเช่นว่านั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจ้งให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภาทราบ โดยไม่ชักช้า

ในระหว่างที่ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา วินิจฉัย ให้นายกรัฐมนตรีระงับการดำเนินการ เพื่อประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวไว้จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำ วินิจฉัย ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นมีข้อความขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนู​ญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ และข้อความดังกล่าวเป็นสาระสำคัญ ให้ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป

 

 

เขาจะอ้างต่อครับว่านี่เป็นพระราชบัญญัติมิใช่ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ  :lol:

แต่ผมยังเห็นว่าศาลวินิจฉัยกรณีนี้โดยใช้อำนาจผ่านมาตรา 68 วรรคสองแหละ



#40 CrazyDaimon

CrazyDaimon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 879 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:31

ดอนยอบอกว่า

 

"ถูก เพราะถือว่าสมาชิก สภาฯ มาจากประชาชน และในระบอบประชาธิปไตย

ถือว่าเสียงประชาชนเป็นใหญ่ หรือ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน"

 

สรุปว่า

 

นี่ผมเลือกผู้แทนให้กลายเป็นพระเจ้าหรือครับ

 

โอ๊ว โน๊วววววววววววววววววววววววววววววว รัฐสภาประกอบไปด้วยพระเจ้า 500 พระองค์



#41 GKTH

GKTH

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 243 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:32

ดอนยอบอกว่า

 

"ถูก เพราะถือว่าสมาชิก สภาฯ มาจากประชาชน และในระบอบประชาธิปไตย

ถือว่าเสียงประชาชนเป็นใหญ่ หรือ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน"

 

สรุปว่า

 

นี่ผมเลือกผู้แทนให้กลายเป็นพระเจ้าหรือครับ

 

โอ๊ว โน๊วววววววววววววววววววววววววววววว รัฐสภาประกอบไปด้วยพระเจ้า 500 พระองค์

 

กราบบบบบบบบบบบบบ  :ph34r:



#42 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:35

 

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ

 

     มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม 

 

     มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

      มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ดังต่อไปนี้

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา
เป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง
มากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว
ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

 

ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  

ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้

และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2

นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6

และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้

แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......

แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  

แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย 

 

ผมว่าดอนยอ หลงประเด็นไปไกลทีเดียว

 

ไม่มีใครเคยบอกว่าศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่ตรากฏหมาย

 

ผมก็ไม่รู้จะยกมาทำอะไรเยอะแยะไปหมด

 

ประัเด็นมันอยู่ที่ว่าศาลมีอำนาจในการวินิจฉัย ที่มาของ สว ครั้งนี้หรือไม่

 

ตอบได้เลยว่า มี

 

เพราะหน้าที่นึงของศาลรัฐธรรมนูญคือ

 

ตรวจสอบการตรากฏหมาย [ไม่ได้เป็นคนตรากฏหมาย] หรือการแก้ไข

 

ว่าถูกต้องและขัดกับรัฐธรรมนูญหรือไม่

 

ก่อนที่จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา

 

คำว่าตรวจสอบการตรากฎหมายหมายถึง

 

กฎหมายที่มีศักดิ์ต่ำกว่า  รธน  เช่น  พรบ. พรก  หรือ กฎ  ระเบียบต่างๆ

ทั้งนี้เพื่อ  ไม่ไห้ขัดกับ  รธน  ไงครับ   ตาม  มาตรา 6

และก็มีบัญญัติไว้ใน  รธน  หลายมาตรา เช่น  154   และ อีกหลายมาตรา  ที่บอกว่าเป็น

หน้าที่ของศาล  รธน ผมจำไม่ได้


Edited by ดอนยอ, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:36.

จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#43 CrazyDaimon

CrazyDaimon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 879 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:36

เอางี้ไหมครับดอนยอ

 

ถ้าดอนยอมีหลักฐานชัดเจนว่า

 

ตุลาการ ใช้อำนาจโดยมิชอบ

 

ดอนยอเอาหลักฐานไปแจ้งความดำเนินคดีกับหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบการทำงานขององค์กรอิสระ (อยากรู้ว่าเป็นใครไปหาเอง) กับ ตุลาการ ทั้ง 9 ท่านได้เลย

 

กฏหมายไม่ได้ห้ามนะครับ รีบจัดการเช็คบิลเลยครับ



#44 Heretic

Heretic

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 117 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:37

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

เป็นไปได้ยังไงที่คนจะเข้าใจผิดพร้อมกันเป็นล้านๆคน



#45 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:38

 

ดอนยอบอกว่า

 

"ถูก เพราะถือว่าสมาชิก สภาฯ มาจากประชาชน และในระบอบประชาธิปไตย

ถือว่าเสียงประชาชนเป็นใหญ่ หรือ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชน"

 

สรุปว่า

 

นี่ผมเลือกผู้แทนให้กลายเป็นพระเจ้าหรือครับ

 

โอ๊ว โน๊วววววววววววววววววววววววววววววว รัฐสภาประกอบไปด้วยพระเจ้า 500 พระองค์

 

กราบบบบบบบบบบบบบ  :ph34r:

 

ถ้าไม่มีอะไรก็เงียบไปก็ได้ครับ  การประชดไม่ได้อะไรขึ้นมา


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#46 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:43

เอางี้ไหมครับดอนยอ

 

ถ้าดอนยอมีหลักฐานชัดเจนว่า

 

ตุลาการ ใช้อำนาจโดยมิชอบ

 

ดอนยอเอาหลักฐานไปแจ้งความดำเนินคดีกับหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบการทำงานขององค์กรอิสระ (อยากรู้ว่าเป็นใครไปหาเอง) กับ ตุลาการ ทั้ง 9 ท่านได้เลย

 

กฏหมายไม่ได้ห้ามนะครับ รีบจัดการเช็คบิลเลยครับ

แน่นอนครับ  

จะใช้ถอดถอนตามมาตรา 270  ก็ได้ครับ  แต่ปัญหามันอยู่ที่ว่า

มันต้องผ่าน  ปปช  และ  ต้องใช้เสียง  สว.ถึง  3 ใน5   ในขณะที่มี  สว.สรรหา 74  คน และองค์กรเหล่านี้

กลับมีที่มาโยงกันเป็นใยแมงมุมเลยครับ  เลยไม่รู้ว่าใครจะกล้าถอดถอนใคร


Edited by ดอนยอ, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:43.

จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#47 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:48

 

 

มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม

 

เล่นตีความเอียงเป็นศาลข้างบ้านเลยนะดอหย่อน :lol:

   ต้องดูมาตรา  6  เเละ  291  ประกอบด้วย

 

อย่าลืมดูมาตรานี้ประกอบด้วย...

ส่วนที่ ๘ การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๑๕๔

ร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาให้ความเห็น ชอบแล้ว ก่อนที่นายกรัฐมนตรี จะนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธยตาม มาตรา ๑๕๐ หรือร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาลงมติยืนยันตามมาตรา ๑๕๑ ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนำ ร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายอีกครั้งหนึ่ง

(๑) หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภา รวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้อง ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้เสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา แล้วแต่กรณี แล้วให้ประธานแห่งสภาที่ได้รับความเห็นดังกล่าวส่งความเห็นนั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจ้งให้นายกรัฐมนตรีทราบโดยไม่ชักช้า

(๒) หากนายกรัฐมนตรีเห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้ง ต่อรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้ส่งความเห็นเช่นว่านั้น ไปยังศาลรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจ้งให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานวุฒิสภาทราบ โดยไม่ชักช้า

ในระหว่างที่ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา วินิจฉัย ให้นายกรัฐมนตรีระงับการดำเนินการ เพื่อประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวไว้จนกว่าศาลรัฐธรรมนูญจะมีคำ วินิจฉัย ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นมีข้อความขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนู​ญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ และข้อความดังกล่าวเป็นสาระสำคัญ ให้ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป

 

ผมยก# 42  ,มาตอบละกัน

 

คำว่าตรวจสอบการตรากฎหมายหมายถึง

 

กฎหมายที่มีศักดิ์ต่ำกว่า  รธน  เช่น  พรบ. พรก  หรือ กฎ  ระเบียบต่างๆ

ทั้งนี้เพื่อ  ไม่ไห้ขัดกับ  รธน  ไงครับ   ตาม  มาตรา 6

และก็มีบัญญัติไว้ใน  รธน  หลายมาตรา เช่น  154   และ อีกหลายมาตรา  ที่บอกว่าเป็น

หน้าที่ของศาล  รธน ผมจำไม่ได้


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#48 CrazyDaimon

CrazyDaimon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 879 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:49

 

เอางี้ไหมครับดอนยอ

 

ถ้าดอนยอมีหลักฐานชัดเจนว่า

 

ตุลาการ ใช้อำนาจโดยมิชอบ

 

ดอนยอเอาหลักฐานไปแจ้งความดำเนินคดีกับหน่วยงานที่มีหน้าที่ตรวจสอบการทำงานขององค์กรอิสระ (อยากรู้ว่าเป็นใครไปหาเอง) กับ ตุลาการ ทั้ง 9 ท่านได้เลย

 

กฏหมายไม่ได้ห้ามนะครับ รีบจัดการเช็คบิลเลยครับ

แน่นอนครับ  

จะใช้ถอดถอนตามมาตรา 270  ก็ได้ครับ  แต่ปัญหามันอยู่ที่ว่า

มันต้องผ่าน  ปปช  และ  ต้องใช้เสียง  สว.ถึง  3 ใน5   ในขณะที่มี  สว.สรรหา 74  คน และองค์กรเหล่านี้

กลับมีที่มาโยงกันเป็นใยแมงมุมเลยครับ  เลยไม่รู้ว่าใครจะกล้าถอดถอนใคร

 

มันจะซับซ้อนอะไรขนาดนั้นเลยหรือครับ

 

ประเทศไทยไม่ได้เป็นประเทศแรกที่ใช้รัฐธรรมนูญนะครับ

 

หากมีหลักฐานว่าผิด สามารถส่งดำเนินคดีได้หมดทุกคน

 

ช่องทางก็มีครบหมด

 

เพราะทุกคนตั้งแต่ ประมุขของประเทศ จนถึง คนต่างด้าว

 

อยู่ภายใต้กฏหมายเท่าเทียมกัน



#49 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:50

 

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว

สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ

 

"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

เป็นไปได้ยังไงที่คนจะเข้าใจผิดพร้อมกันเป็นล้านๆคน

 

อันนั้นไม่ทราบครับ  อาจจะเป็นเพราะการถือดีไม่ฟังคนอื่นก็ได้


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#50 น้องจุบุจุบุ

น้องจุบุจุบุ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,006 posts

ตอบ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:53

 

 

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ

 

     มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข
ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ

และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม 

 

     มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

      มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ดังต่อไปนี้

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน
ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้

(๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา
เป็นสามวาระ
(๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ
จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง
มากเป็นประมาณ
(๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว
ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป
(๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน
โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
(๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า
ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ
หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้

 

 

ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  

ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้

และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2

นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6

และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้

แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......

แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  

แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย 

 

ผมว่าดอนยอ หลงประเด็นไปไกลทีเดียว

 

ไม่มีใครเคยบอกว่าศาลรัฐธรรมนูญมีหน้าที่ตรากฏหมาย

 

ผมก็ไม่รู้จะยกมาทำอะไรเยอะแยะไปหมด

 

ประัเด็นมันอยู่ที่ว่าศาลมีอำนาจในการวินิจฉัย ที่มาของ สว ครั้งนี้หรือไม่

 

ตอบได้เลยว่า มี

 

เพราะหน้าที่นึงของศาลรัฐธรรมนูญคือ

 

ตรวจสอบการตรากฏหมาย [ไม่ได้เป็นคนตรากฏหมาย] หรือการแก้ไข

 

ว่าถูกต้องและขัดกับรัฐธรรมนูญหรือไม่

 

ก่อนที่จะประกาศในราชกิจจานุเบกษา

 

คำว่าตรวจสอบการตรากฎหมายหมายถึง

 

กฎหมายที่มีศักดิ์ต่ำกว่า  รธน  เช่น  พรบ. พรก  หรือ กฎ  ระเบียบต่างๆ

ทั้งนี้เพื่อ  ไม่ไห้ขัดกับ  รธน  ไงครับ   ตาม  มาตรา 6

และก็มีบัญญัติไว้ใน  รธน  หลายมาตรา เช่น  154   และ อีกหลายมาตรา  ที่บอกว่าเป็น

หน้าที่ของศาล  รธน ผมจำไม่ได้

 

ผมขอตอบดอนยอแบบเน้นๆ ไม่รุ้จะเข้าใจใหม

 

พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา

 

get ใหมครับ ?? 

 

คำตอบ ดอนยอ แสดงออกมาให้ผมเห็นอย่างนึงว่าดอนยอ ไม่รู้ว่ารัฐธรรมนูญคืออะไร


Edited by น้องจุบุจุบุ, 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 16:55.





ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน