Jump to content


Photo
* * * * - 1 votes

ลองอ่านๆดูครับ ใครเข้าใจผิดกันแน่....


  • Please log in to reply
159 ความเห็นในกระทู้นี้

#101 Anyone

Anyone

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 18:26

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ



#102 CrazyDaimon

CrazyDaimon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 879 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 18:54

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

เขาไม่ได้ห้ามให้แก้

 

แต่เขาบอกให้แก้แบบถูกต้องตามรัฐธรรมนูญกำหนด

 

เรื่องง่ายๆถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ



#103 PeaceMan

PeaceMan

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 513 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 19:14

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ[/size]
 
     มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข[/size]ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา [/size]คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้[/size]การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ[/size]
และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม[/size] [/size]
 
     มาตรา ๖ [/size]รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ [/size]บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
 
      มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ[/size]ดังต่อไปนี้[/size](๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน[/size]ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก[/size]สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด[/size]เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน[/size]ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[/size]ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ[/size]ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้[/size](๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา[/size]เป็นสามวาระ[/size](๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ[/size]จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ[/size]คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย[/size]การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง[/size]มากเป็นประมาณ[/size](๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว[/size]ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป[/size](๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง[/size]ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า[/size]ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม[/size]
มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
 
 
ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  
ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้
และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2
นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6
และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้
แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......
แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  [/size]
แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย [/size]


มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ

1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้




คำว่า “สิทธิ” เป็นถ้อยคำพื้นฐานที่นักกฎหมายจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจเป็นเบื้องต้น เพราะเป็นข้อความคิดพื้นฐานทางกฎหมาย เนื่องจากกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ให้แก่บุคคล สิทธินั้นอาจพิจารณาได้2แง่ คือในแง่. "อำนาจ" หรือในแง่ประโยชน์

ดังนั้น "สิทธิ" จึงหมายถึง "อำนาจ" อันชอบธรรมหรือความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่นเพื่อคุ้มครองหรือรักษาผลประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งสิทธิคือ ประโยชน์ที่บุคคลมีความชอบธรรมที่จะได้รับ ซึ่งกฎหมายรับรองและคุ้มครองให้ เราสามารถพิจารณาองค์ประกอบของสิทธิได้เป็นข้อๆดังนี้

Credit: สมยศ เชื้อไทย, ความรู้กฎหมายทั่วไป คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่ง:หลักทั่วไป ,2550

#104 Anyone

Anyone

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 19:15

 

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

เขาไม่ได้ห้ามให้แก้

 

แต่เขาบอกให้แก้แบบถูกต้องตามรัฐธรรมนูญกำหนด

 

เรื่องง่ายๆถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

 

ครับ รธน.บัญญัติให้แก้ได้อยู่ในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7 เรียบร้อยแล้วไงละครับ แล้วมันมาเกี่ยวอะไรกับมาตรา 154



#105 Anyone

Anyone

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 19:21

 

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ[/size]
 
     มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข[/size]ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา [/size]คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้[/size]การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ[/size]
และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม[/size] [/size]
 
     มาตรา ๖ [/size]รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ [/size]บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
 
      มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ[/size]ดังต่อไปนี้[/size](๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน[/size]ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก[/size]สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด[/size]เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน[/size]ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[/size]ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ[/size]ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้[/size](๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา[/size]เป็นสามวาระ[/size](๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ[/size]จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ[/size]คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย[/size]การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง[/size]มากเป็นประมาณ[/size](๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว[/size]ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป[/size](๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง[/size]ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า[/size]ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม[/size]
มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
 
 
ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  
ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้
และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2
นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6
และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้
แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......
แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  [/size]
แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย [/size]


มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ

1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้




คำว่า “สิทธิ” เป็นถ้อยคำพื้นฐานที่นักกฎหมายจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจเป็นเบื้องต้น เพราะเป็นข้อความคิดพื้นฐานทางกฎหมาย เนื่องจากกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ให้แก่บุคคล สิทธินั้นอาจพิจารณาได้2แง่ คือในแง่. "อำนาจ" หรือในแง่ประโยชน์

ดังนั้น "สิทธิ" จึงหมายถึง "อำนาจ" อันชอบธรรมหรือความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่นเพื่อคุ้มครองหรือรักษาผลประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งสิทธิคือ ประโยชน์ที่บุคคลมีความชอบธรรมที่จะได้รับ ซึ่งกฎหมายรับรองและคุ้มครองให้ เราสามารถพิจารณาองค์ประกอบของสิทธิได้เป็นข้อๆดังนี้

Credit: สมยศ เชื้อไทย, ความรู้กฎหมายทั่วไป คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่ง:หลักทั่วไป ,2550

 

ขออนุญาตเน้นนะครับ การที่สภาแก้ไขรธน.ตามมาตรา 291 จึงเป็น "อำนาจโดยชอบธรรม" ตามรัฐธรรมนูญเนื่องจากไม่ได้แก้ไขให้ขัดกับรธน.

 

"มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ

1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการ ปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐ ธรรมนูญนี้มิได้ "



#106 CrazyDaimon

CrazyDaimon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 879 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 19:24

 

 

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

เขาไม่ได้ห้ามให้แก้

 

แต่เขาบอกให้แก้แบบถูกต้องตามรัฐธรรมนูญกำหนด

 

เรื่องง่ายๆถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

 

ครับ รธน.บัญญัติให้แก้ได้อยู่ในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7 เรียบร้อยแล้วไงละครับ แล้วมันมาเกี่ยวอะไรกับมาตรา 154

 

ศาลรัฐธรรมมีหน้าที่ ทำอะไรครับ

 

(โทษที่ครับท่านสมาชิก อารมณ์ชั่ววูบ หรือซึ่งผมถูกดูดให้เข้าการ วน loop อีกแล้ว T_T)


Edited by CrazyDaimon, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 19:26.


#107 Anyone

Anyone

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 19:41

 

 

 

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

เขาไม่ได้ห้ามให้แก้

 

แต่เขาบอกให้แก้แบบถูกต้องตามรัฐธรรมนูญกำหนด

 

เรื่องง่ายๆถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

 

ครับ รธน.บัญญัติให้แก้ได้อยู่ในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7 เรียบร้อยแล้วไงละครับ แล้วมันมาเกี่ยวอะไรกับมาตรา 154

 

ศาลรัฐธรรมมีหน้าที่ ทำอะไรครับ

 

(โทษที่ครับท่านสมาชิก อารมณ์ชั่ววูบ หรือซึ่งผมถูกดูดให้เข้าการ วน loop อีกแล้ว T_T)

 

หลายอย่างครับ แต่ไม่มีมาตราไหนที่บอกให้ "ศาล รธน.มีหน้าที่ตัดสินการแก้ไขรธน.ของรัฐสภาว่าผิดหรือถูกนอกเหนือจากกรอบของมาตรา 6(หลักๆ)" พูดง่ายๆว่า "อย่าทำในสิ่งที่กฏหมายไม่ได้กำหนด" ครับ การตีความขยายขอบเขตของตนเองมันไม่ถูกต้องมาตั้งแต่ต้นแล้ว (ผมก็วนลูปเหมือนกัน)


Edited by Anyone, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 19:47.


#108 PeaceMan

PeaceMan

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 513 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 20:00

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ[/size]
      มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข[/size]ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา [/size]คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้[/size]การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ[/size]และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม[/size] [/size]
      มาตรา ๖ [/size]รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ [/size]บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
       มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ[/size]ดังต่อไปนี้[/size](๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน[/size]ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก[/size]สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด[/size]เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน[/size]ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[/size]ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ[/size]ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้[/size](๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา[/size]เป็นสามวาระ[/size](๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ[/size]จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ[/size]คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย[/size]การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง[/size]มากเป็นประมาณ[/size](๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว[/size]ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป[/size](๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง[/size]ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า[/size]ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม[/size]มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
 
 ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  [/size]แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย [/size]


มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้
คำว่า “สิทธิ” เป็นถ้อยคำพื้นฐานที่นักกฎหมายจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจเป็นเบื้องต้น เพราะเป็นข้อความคิดพื้นฐานทางกฎหมาย เนื่องจากกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ให้แก่บุคคล สิทธินั้นอาจพิจารณาได้2แง่ คือในแง่. "อำนาจ" หรือในแง่ประโยชน์ดังนั้น "สิทธิ" จึงหมายถึง "อำนาจ" อันชอบธรรมหรือความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่นเพื่อคุ้มครองหรือรักษาผลประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งสิทธิคือ ประโยชน์ที่บุคคลมีความชอบธรรมที่จะได้รับ ซึ่งกฎหมายรับรองและคุ้มครองให้ เราสามารถพิจารณาองค์ประกอบของสิทธิได้เป็นข้อๆดังนี้
Credit: สมยศ เชื้อไทย, ความรู้กฎหมายทั่วไป คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่ง:หลักทั่วไป ,2550
ขออนุญาตเน้นนะครับ การที่สภาแก้ไขรธน.ตามมาตรา 291 จึงเป็น "อำนาจโดยชอบธรรม" ตามรัฐธรรมนูญเนื่องจากไม่ได้แก้ไขให้ขัดกับรธน.
 
"มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการ ปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐ ธรรมนูญนี้มิได้ "


การแก้ไขที่มาของ ส.ส. และ ส.ว. เป็นการใช้สิทธิ(อำนาจ) ที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน และเป็นการเปลี่ยนโครงสร้างที่เอื้อประโยชน์ให้กับนักการเมืองในการควบคุมรัฐสภา
การกระทำดังกล่าว มีผลกระทบต่อโครงสร้างของรัฐ "เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจโดยไม่ใช่วิถีทางแห่งรัฐธรรมนูญ"

เมื่อมีผู้พบว่าการกระทำดังกล่าว เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ จึงใช้ ม68 ข้อ2 ยื่นฟ้อง เป็นไปได้ไหมครับ?

#109 CrazyDaimon

CrazyDaimon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 879 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 20:04

^
^
^
ตามนั้นครับ

ก็เพราะมีคนมาฟ้องศาลในเรื่องการแก้รัฐธรรมนูญในมตรา 68 ศาลก็ต้องรับมาพิจารณา

#110 JSN

JSN

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,004 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 20:10

พิจารณาจากการเสียบบัตรแทนกัน การปิดปากฝ่ายค้าน องค์ประชุมไม่ครบ ปลอมเอกสารทางราชการแล้วยื่นทูลเกล้า แบบนี้มันขัดรัฐธรรมนูญมั้ยครับ

#111 PeaceMan

PeaceMan

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 513 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 20:15

/\
ชื่อเท่ดีนะครับ

" U reached for the secret to soon...U cried for the moon....Shine on U Crazy Daimon.... " :)

#112 PeaceMan

PeaceMan

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 513 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 20:15

ซ้ำ

Edited by PeaceMan, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 20:16.


#113 Anyone

Anyone

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 20:58

 

 

 

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ[/size]
      มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข[/size]ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา [/size]คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้[/size]การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ[/size]และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม[/size] [/size]
      มาตรา ๖ [/size]รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ [/size]บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
       มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ[/size]ดังต่อไปนี้[/size](๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน[/size]ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก[/size]สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด[/size]เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน[/size]ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[/size]ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ[/size]ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้[/size](๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา[/size]เป็นสามวาระ[/size](๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ[/size]จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ[/size]คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย[/size]การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง[/size]มากเป็นประมาณ[/size](๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว[/size]ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป[/size](๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง[/size]ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า[/size]ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม[/size]มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
 
 ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  [/size]แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย [/size]


มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้
คำว่า “สิทธิ” เป็นถ้อยคำพื้นฐานที่นักกฎหมายจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจเป็นเบื้องต้น เพราะเป็นข้อความคิดพื้นฐานทางกฎหมาย เนื่องจากกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ให้แก่บุคคล สิทธินั้นอาจพิจารณาได้2แง่ คือในแง่. "อำนาจ" หรือในแง่ประโยชน์ดังนั้น "สิทธิ" จึงหมายถึง "อำนาจ" อันชอบธรรมหรือความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่นเพื่อคุ้มครองหรือรักษาผลประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งสิทธิคือ ประโยชน์ที่บุคคลมีความชอบธรรมที่จะได้รับ ซึ่งกฎหมายรับรองและคุ้มครองให้ เราสามารถพิจารณาองค์ประกอบของสิทธิได้เป็นข้อๆดังนี้
Credit: สมยศ เชื้อไทย, ความรู้กฎหมายทั่วไป คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่ง:หลักทั่วไป ,2550
ขออนุญาตเน้นนะครับ การที่สภาแก้ไขรธน.ตามมาตรา 291 จึงเป็น "อำนาจโดยชอบธรรม" ตามรัฐธรรมนูญเนื่องจากไม่ได้แก้ไขให้ขัดกับรธน.
 
"มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการ ปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐ ธรรมนูญนี้มิได้ "


การแก้ไขที่มาของ ส.ส. และ ส.ว. เป็นการใช้สิทธิ(อำนาจ) ที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน และเป็นการเปลี่ยนโครงสร้างที่เอื้อประโยชน์ให้กับนักการเมืองในการควบคุมรัฐสภา
การกระทำดังกล่าว มีผลกระทบต่อโครงสร้างของรัฐ "เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจโดยไม่ใช่วิถีทางแห่งรัฐธรรมนูญ"

เมื่อมีผู้พบว่าการกระทำดังกล่าว เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ จึงใช้ ม68 ข้อ2 ยื่นฟ้อง เป็นไปได้ไหมครับ?

 

 

อันนี้เป็นการตีความ "เพิ่มเข้ามาเอง" ครับ (กรณีนี้เทียบเคียงกับเรื่องของแบ่งเขตการเลือกตั้งของพรรค ปชป.ถ้าผมจะบอกว่ามันเป็นผลประโยชน์ทับซ้อนก็สามารถเทียบเคียงได้ครับ อันนั้นน่ะซ้อนเห็นๆ) แต่ผมจะไม่กล่าวถึง ที่จะกล่าวถึงคือ ตัวหนาที่ผมเน้นน่ะมันเป็นสิ่งที่ท่านเขียนขึ้นมาเอง ในกฏหมายไม่ได้กำหนดไว้ครับ จึงไม่มีเหตุให้รับคำร้อง (ทั้งๆที่เรื่องรับคำร้อง ศาลรธน.เองก็ไม่มีสิทธิ์ด้วยซ้ำไป)

 

ย้ำอีกทีครับ ศาล รธน.ไม่มีอำนาจในการรับคำร้องมาตรา 68 ด้วยตนเองครับ ต้องผ่าน อสส ก่อน ใครเรียนกฏหมายจะทราบดีครับ



#114 Anyone

Anyone

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:02

พิจารณาจากการเสียบบัตรแทนกัน การปิดปากฝ่ายค้าน องค์ประชุมไม่ครบ ปลอมเอกสารทางราชการแล้วยื่นทูลเกล้า แบบนี้มันขัดรัฐธรรมนูญมั้ยครับ

 

อันนี้สิครับน่าสนใจ มีเหตุมีผลที่สามารถเข้าใจได้

 

การเสียบบัตรแทนกันเป็นอำนาจของสภาครับ

 

การปิดปากฝ่ายค้าน ต้องชี้ประเด็นครับว่าเรื่องอะไร วิปฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านตกลงกันไว้เช่นไร

 

การปลอมเอกสารราชการเป็นความผิดทางอาญาแผ่นดินครับสามารถดำเนินการทางกฏหมายได้เลยครับ



#115 PeaceMan

PeaceMan

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 513 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:08

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ[/size]
      มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข[/size]ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา [/size]คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้[/size]การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ[/size]และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม[/size] [/size]
      มาตรา ๖ [/size]รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ [/size]บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
       มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ[/size]ดังต่อไปนี้[/size](๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน[/size]ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก[/size]สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด[/size]เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน[/size]ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[/size]ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ[/size]ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้[/size](๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา[/size]เป็นสามวาระ[/size](๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ[/size]จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ[/size]คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย[/size]การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง[/size]มากเป็นประมาณ[/size](๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว[/size]ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป[/size](๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง[/size]ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า[/size]ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม[/size]มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
 
 ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  [/size]แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย [/size]


มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้
คำว่า “สิทธิ” เป็นถ้อยคำพื้นฐานที่นักกฎหมายจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจเป็นเบื้องต้น เพราะเป็นข้อความคิดพื้นฐานทางกฎหมาย เนื่องจากกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ให้แก่บุคคล สิทธินั้นอาจพิจารณาได้2แง่ คือในแง่. "อำนาจ" หรือในแง่ประโยชน์ดังนั้น "สิทธิ" จึงหมายถึง "อำนาจ" อันชอบธรรมหรือความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่นเพื่อคุ้มครองหรือรักษาผลประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งสิทธิคือ ประโยชน์ที่บุคคลมีความชอบธรรมที่จะได้รับ ซึ่งกฎหมายรับรองและคุ้มครองให้ เราสามารถพิจารณาองค์ประกอบของสิทธิได้เป็นข้อๆดังนี้
Credit: สมยศ เชื้อไทย, ความรู้กฎหมายทั่วไป คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่ง:หลักทั่วไป ,2550
ขออนุญาตเน้นนะครับ การที่สภาแก้ไขรธน.ตามมาตรา 291 จึงเป็น "อำนาจโดยชอบธรรม" ตามรัฐธรรมนูญเนื่องจากไม่ได้แก้ไขให้ขัดกับรธน.
 
"มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการ ปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐ ธรรมนูญนี้มิได้ "

การแก้ไขที่มาของ ส.ส. และ ส.ว. เป็นการใช้สิทธิ(อำนาจ) ที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน และเป็นการเปลี่ยนโครงสร้างที่เอื้อประโยชน์ให้กับนักการเมืองในการควบคุมรัฐสภา
การกระทำดังกล่าว มีผลกระทบต่อโครงสร้างของรัฐ "เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจโดยไม่ใช่วิถีทางแห่งรัฐธรรมนูญ"
เมื่อมีผู้พบว่าการกระทำดังกล่าว เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ จึงใช้ ม68 ข้อ2 ยื่นฟ้อง เป็นไปได้ไหมครับ?
 
อันนี้เป็นการตีความ "เพิ่มเข้ามาเอง" ครับ (กรณีนี้เทียบเคียงกับเรื่องของแบ่งเขตการเลือกตั้งของพรรค ปชป.ถ้าผมจะบอกว่ามันเป็นผลประโยชน์ทับซ้อนก็สามารถเทียบเคียงได้ครับ อันนั้นน่ะซ้อนเห็นๆ) แต่ผมจะไม่กล่าวถึง ที่จะกล่าวถึงคือ ตัวหนาที่ผมเน้นน่ะมันเป็นสิ่งที่ท่านเขียนขึ้นมาเอง ในกฏหมายไม่ได้กำหนดไว้ครับ จึงไม่มีเหตุให้รับคำร้อง (ทั้งๆที่เรื่องรับคำร้อง ศาลรธน.เองก็ไม่มีสิทธิ์ด้วยซ้ำไป)
 
ย้ำอีกทีครับ ศาล รธน.ไม่มีอำนาจในการรับคำร้องมาตรา 68 ด้วยตนเองครับ ต้องผ่าน อสส ก่อน ใครเรียนกฏหมายจะทราบดีครับ

ผมเข้าใจว่า อันนี้คงต้องไป ตีความสู้กันในชั้นศาลอีกทีหนึ่งครับ...

#116 Anyone

Anyone

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:10

เราต้องยอมรับกันครับว่า ในยุคทักกี้นั้น องค์กรต่างๆ ไม่เป็นอิสระจริง แต่การกระทำการทุกอย่างเพื่อล้มทักกี้โดยไม่คิดถึงกฏระเบียบใดๆ เพื่อทำลายล้างนั้นมันจะยิ่งทำให้ประเทศขาดสิ่งยึดเหนี่ยว

 

ผมมองว่ามันก็พอกันละครับ ต่างก็ไม่เคารพในกฏหมาย กฏระเบียบของบ้านเมือง ประเทศชาติถึงได้แตกแยกแบ่งฝ่ายกันถึงขนาดนี้

 

ช่วงชีวิตนี้ อีก 50 ปีที่เหลือ ผมเพียงแต่หวังว่าทุกฝ่ายคงจะหันหน้ามารักกันเช่นเดิม ยืนอยู่บนพื้นฐานของสังคมแห่งความคิด ใคร่ครวญ ติตรอง และมีความรักให้กัน หวังว่าการเปลี่ยนผ่านจะรวดเร็วและหล่อหลอมสิ่งนั้นจะเกิดก่อนการพินาศของสังคมและประเทศ


Edited by Anyone, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:11.


#117 Anyone

Anyone

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:15

 


ผมเข้าใจว่า อันนี้คงต้องไป ตีความสู้กันในชั้นศาลอีกทีหนึ่งครับ...

 

จริงๆไม่ต้องตีความหรอกครับ มาตรานี้เป็นเจตนารมณ์ของรธน.ปี 40 ที่ถูกคัดมาใส่ไว้ในปี 50 ซึ่งผู้ร่างได้ให้อำนาจไว้ชัดเจนครับว่า ให้ยื่นให้ อสส.พิจารณาก่อน หากมีมูล อสส.จะยื่นให้ศาล รธน. ซึ่งศาล รธน.จะสามารถเรียกสอบพยานและตัดสินได้ครับ มันเป็นกระบวนการตามธรรมเนียมปฏิบัติ ธรรมดาๆนี่แหละครับ



#118 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:16

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

ช่วยตีความคำว่า"กฎหมาย"ให้ซักหน่อย

 

รธน.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?

พรบ.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?


"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#119 Anyone

Anyone

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 10 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:19

 

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

ช่วยตีความคำว่า"กฎหมาย"ให้ซักหน่อย

 

รธน.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?

พรบ.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?

 

เป็นครับ แต่มีระดับศักดิ์ต่างกันครับ รธน.ก็แก้ได้ครับ ถูกระบุไว้ชัดเจนที่มาตรา 291 ส่วน 154 เป็นการแก้กฏหมายในระดับ พรบ.ครับ



#120 PeaceMan

PeaceMan

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 513 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:23

ผมเข้าใจว่า อันนี้คงต้องไป ตีความสู้กันในชั้นศาลอีกทีหนึ่งครับ...

จริงๆไม่ต้องตีความหรอกครับ มาตรานี้เป็นเจตนารมณ์ของรธน.ปี 40 ที่ถูกคัดมาใส่ไว้ในปี 50 ซึ่งผู้ร่างได้ให้อำนาจไว้ชัดเจนครับว่า ให้ยื่นให้ อสส.พิจารณาก่อน หากมีมูล อสส.จะยื่นให้ศาล รธน. ซึ่งศาล รธน.จะสามารถเรียกสอบพยานและตัดสินได้ครับ มันเป็นกระบวนการตามธรรมเนียมปฏิบัติ ธรรมดาๆนี่แหละครับ

ผมหมายถึง มาตรา 68 น่ะครับ...

เเต่เอาเถอะครับ...ผมคงไม่สามารถถกอะไรลึกซึ้งในกรณีนี้ได้ เพราะไม่ได้เชี่ยวชาญรู้จริงในตัวบทกฎหมาย...ขอบคุณสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมครับ

จะคอยติดตามเเละเเสดงความคิดเห็นตามที่เข้าใจเท่านั้น

อะไรผิดก็ว่าตามผิดอะไรถูกก็ว่าตามถูก ก็เเล้วกันครับ

#121 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:24

http://www.parliamen...=15986

การเข้าชื่อเสนอญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญของประชาชน

 ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๒๙๑ ได้กำหนดว่า การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังต่อไปนี้ 
                (๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน  ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
                ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลง การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปแบบของรัฐจะเสนอมิได้
                (๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณาเป็นสามวาระ
                (๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้นไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
                (๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย
                การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้างมากเป็นประมาณ 
                (๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้วให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป 
                (๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนนโดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา 
                (๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กำหนดแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายและให้นำบทบัญญัติ
มาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม

 

ส่วนที่8 การควบคุมการตรากฎหมายที่ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ

Posted เมษายน 30th, 2007 by webmaster1

       มาตรา ๑๕๐ ร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาให้ความเห็นชอบแล้ว ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนำขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายเพื่อพระมหากษัตริย์ทรง ลงพระปรมาภิไธยตามมาตรา ๑๔๖ หรือร่างพระราชบัญญัติใดที่รัฐสภาลงมติยืนยันตามมาตรา ๑๔๗ ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนำร่างพระราชบัญญัตินั้นขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย อีกครั้งหนึ่ง

       (๑) หากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือสมาชิกของทั้งสองสภารวมกัน มีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสอง สภา เห็นว่าร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีข้อความขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ หรือตราขึ้นโดยไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้เสนอความเห็นต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานวุฒิสภา หรือประธานรัฐสภา แล้วแต่กรณี แล้วให้ประธานแห่งสภาที่ได้รับความเห็นดังกล่าวส่งความเห็นนั้นไปยังศาลรัฐ ธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย และแจ้งให้นายกรัฐมนตรีทราบโดยไม่ชักช้า


Edited by คนกรุงธน, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:28.

"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#122 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:28

 

 

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

ช่วยตีความคำว่า"กฎหมาย"ให้ซักหน่อย

 

รธน.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?

พรบ.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?

 

เป็นครับ แต่มีระดับศักดิ์ต่างกันครับ รธน.ก็แก้ได้ครับ ถูกระบุไว้ชัดเจนที่มาตรา 291 ส่วน 154 เป็นการแก้กฏหมายในระดับ พรบ.ครับ

 

 

เฮ้อ จะทำความเข้าใจยากไปไหนฟร๊ะ

 

มตรา 291 จะแก้ก้อก้อไป จะำทำห่านอะไรอก้อทำไป

 

แต่กระบวนการมันผิด เช่น เสียบบัตรแทนกัน ไหนจะเอกสารผิดอีก

 

มันผิดขนาด ยังเอาหูไปนาเอาตาไปไร่อีก

 

อ้อ อีกอย่างนะ ระดับต่างกัน ก้อจริง แต่ในเมืื่อมันคือกฎหมายเหมือนกัน ก้อเท่านั้นเอง


Edited by พอล คุง, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:29.

ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#123 bird

bird

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,191 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:30

ตรรกะง่าย ๆ ที่นักวิชาเกินใช้ เพื่อลดความน่าเชื่อถือของ องค์กร คือ..

 

" พยายามยัดเยียดความคิดที่ว่า...องค์กรนั้น ๆ ไม่มีอำนาจ มีที่มาไม่ถูกต้อง "

 

แต่สิ่งที่นักวิชาเกิน ไม่เคยกล่าวถึง ไม่เคยอธิบาย...ก็คือ

 

" องค์กรนั้น ๆ ใช้ ตัวบทกฎหมาย ใช้กฎหมายมาตราใด ที่บัญญัติไว้

มาพิจารณา "

 

นั้นเพราะ.....ทุกสิ่งที่องค์กรศาลได้อธิบายไว้ เป็นความจริงที่ไม่อาจ

ปัดความรับผิดชอบได้....

 

ทางรอดทางเดียว..คือ...ทำยังไงก็ได้..ให้เห็นว่า ศาลท่านไม่มีอำนาจ

 

จนลืมมองไปว่า....พฤติกรรม ที่เหล่า สส สว และ ประธานรัฐสภา กระทำนั้น

มันบ่ง ถึงเจตนา...รู้ว่าผิด...แต่ก็กระทำ...

 

มันผิดตั้งแต่แรก...เพราะ....กรรม เป็นสิ่งที่บ่งบอก เจตนา

 

ถ้ามีเจตนาดี....ทำไมต้องสอดใส้

 

เมื่อกล้าทำ...ก็ต้องกล้ารับ....แต่สิ่งที่ผู้ทรงเกียรติทั้งหลายกำลังกระทำอยู่

เป็นการ...ทำอยู่เหนือกฎหมาย...

 

แค่..ปลอมบัตรประชาชน เพื่อทำธุรกรรม ยังต้องรับโทษ แต่นี้..

 

สอดใส้...ปลอม กฎหมาย ปลอม พรบ...ยังจะหน้าด้านบอกว่าไม่ผิดอยู่ได้


Edited by bird, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:31.


#124 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:31

 

 

 

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

ช่วยตีความคำว่า"กฎหมาย"ให้ซักหน่อย

 

รธน.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?

พรบ.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?

 

เป็นครับ แต่มีระดับศักดิ์ต่างกันครับ รธน.ก็แก้ได้ครับ ถูกระบุไว้ชัดเจนที่มาตรา 291 ส่วน 154 เป็นการแก้กฏหมายในระดับ พรบ.ครับ

 

 

เฮ้อ จะทำความเข้าใจยากไปไหนฟร๊ะ

 

มตรา 291 จะแก้ก้อก้อไป จะำทำห่านอะไรอก้อทำไป

 

แต่กระบวนการมันผิด เช่น เสียบบัตรแทนกัน ไหนจะเอกสารผิดอีก

 

มันผิดขนาด ยังเอาหูไปนาเอาตาไปไร่อีก

 

อ้อ อีกอย่างนะ ระดับต่างกัน ก้อจริง แต่ในเมืื่อมันคือกฎหมายเหมือนกัน ก้อเท่านั้นเอง

 

เสื้อแดงและนักวิชาการแดงๆก็พยายามจะบอกว่า รัฐธรรมนูญ ไม่ใช่กฎหมายแบบพวก พรบ.หรือ พรก.

พรรคปชป.ก็พยามยามบอกว่า มันไม่ถูกนะที่ทำอย่างนั้น

ทั้งขว้างแฟ้มก็แล้ว
ลากเก้าอี้ประธานก็แล้ว

ขว้างเก้าอี้ก็แล้ว

โห่ใส่ก็แล้ว
...มันสนใจกันซะที่ไหน จนมาถึงวันนี้ถึงได้เข้าใจ... :D


Edited by คนกรุงธน, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:36.

"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#125 Solid Snake

Solid Snake

    แดงกำมะลอ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,892 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:34

 

 

(๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน
ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

แล้วที่มันสอดไส้เนี่ยมันมาจากใครบอกได้ไหม

 

ร่างที่สอดไส้ใครเป็นคนยื่น

ก. คณะรัฐมนตรี

ข. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร

ค. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา

ง. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย

จ. คนอื่นที่ไม่ใช่ข้อ ก.-ง.



#126 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:38

:D จ. คนอื่นที่ไม่ใช่ข้อ ก.-ง.

 

มันบอกว่าผิดที่เจ้าหน้าที่พิมพ์เอกสารครับ

หน้าด้านอิ๋บอ๋าย...555+


"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#127 คนกรุงธน

คนกรุงธน

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,129 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:40

 

 

บางท่านพยายามจะยกมาตรา 154 มาอ้าง มาตรา 154 กล่าวถึง พระราชบัญญัติ หรือ พรบ. ซึ่งมีศักดิ์ต่ำกว่า รธน. นำมาใช้แทนกันไม่ได้ครับ และ รธน.ก็มีช่องทางให้แก้อยู่แล้วในมาตรา 291 วงเล็บ 1-7

 

เป็นเรื่องง่ายๆ ถ้าเปิดใจคุยกันมันก็น่าจะจบนะ

ช่วยตีความคำว่า"กฎหมาย"ให้ซักหน่อย

 

รธน.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?

พรบ.เป็นกฎหมายหรือเปล่า?

 

เป็นครับ แต่มีระดับศักดิ์ต่างกันครับ รธน.ก็แก้ได้ครับ ถูกระบุไว้ชัดเจนที่มาตรา 291 ส่วน 154 เป็นการแก้กฏหมายในระดับ พรบ.ครับ

 

มาตรา 291 วงเล็บ 1-7

ไม่ได้อ่านวงเล็บ7 น่ะสิ

 (๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กำหนดแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายและให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม


Edited by คนกรุงธน, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:44.

"น้อมส่งเสด็จสู่พระนิพพาน"


#128 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:53

 

พิจารณาจากการเสียบบัตรแทนกัน การปิดปากฝ่ายค้าน องค์ประชุมไม่ครบ ปลอมเอกสารทางราชการแล้วยื่นทูลเกล้า แบบนี้มันขัดรัฐธรรมนูญมั้ยครับ

 

อันนี้สิครับน่าสนใจ มีเหตุมีผลที่สามารถเข้าใจได้

 

การเสียบบัตรแทนกันเป็นอำนาจของสภาครับ

 

การปิดปากฝ่ายค้าน ต้องชี้ประเด็นครับว่าเรื่องอะไร วิปฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านตกลงกันไว้เช่นไร

 

การปลอมเอกสารราชการเป็นความผิดทางอาญาแผ่นดินครับสามารถดำเนินการทางกฏหมายได้เลยครับ

 

 

 

 


 

"มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการ ปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐ ธรรมนูญนี้มิได้ "

 

 

มีบทบัญญิตในรัฐธรรมนูญมาตราไหนบอกว่าให้ทุจริตการลงคะแนนได้รึ..

 

:D 


Edited by 55555, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:56.


#129 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:55

 

 

พิจารณาจากการเสียบบัตรแทนกัน การปิดปากฝ่ายค้าน องค์ประชุมไม่ครบ ปลอมเอกสารทางราชการแล้วยื่นทูลเกล้า แบบนี้มันขัดรัฐธรรมนูญมั้ยครับ

 

อันนี้สิครับน่าสนใจ มีเหตุมีผลที่สามารถเข้าใจได้

 

การเสียบบัตรแทนกันเป็นอำนาจของสภาครับ

 

การปิดปากฝ่ายค้าน ต้องชี้ประเด็นครับว่าเรื่องอะไร วิปฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านตกลงกันไว้เช่นไร

 

การปลอมเอกสารราชการเป็นความผิดทางอาญาแผ่นดินครับสามารถดำเนินการทางกฏหมายได้เลยครับ

 

 

 

 


 

"มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการ ปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐ ธรรมนูญนี้มิได้ "

 

 

มีบทบัญญิตในรัฐธรรมนูญข้อไหนบอกว่าให้ทุจริตการลงคะแนนได้รึ..

 

:D 

 

 

โหหหหหหหหหหหหหหหหหหห

 

ท่าน 55555 ก้อนะครับ อย่าต้อนไอ้พวกควายแดงนักสิครับ

 

เด๋วมันหายไปจากบอร์ด แล้วจะเงียบเหงา น้า

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

 

ปล ไอ้ Anyone นี่ ไอ้กากลี ชัวร์ ฟังธง

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา


Edited by พอล คุง, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 21:56.

ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#130 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 22:03

 

 

 


 

 

อันนี้เป็นการตีความ "เพิ่มเข้ามาเอง" ครับ (กรณีนี้เทียบเคียงกับเรื่องของแบ่งเขตการเลือกตั้งของพรรค ปชป.ถ้าผมจะบอกว่ามันเป็นผลประโยชน์ทับซ้อนก็สามารถเทียบเคียงได้ครับ อันนั้นน่ะซ้อนเห็นๆ) แต่ผมจะไม่กล่าวถึง ที่จะกล่าวถึงคือ ตัวหนาที่ผมเน้นน่ะมันเป็นสิ่งที่ท่านเขียนขึ้นมาเอง ในกฏหมายไม่ได้กำหนดไว้ครับ จึงไม่มีเหตุให้รับคำร้อง (ทั้งๆที่เรื่องรับคำร้อง ศาลรธน.เองก็ไม่มีสิทธิ์ด้วยซ้ำไป)

 

 

 

ทับซ้อนยังไง...

 

ถ้าไม่แก้แล้ว สส. ในสภาจะไม่สามารถกลับไปเลือกตั้งในสมัยหน้าได้รึ...

 

แล้วถ้าแก้...จะทำให้ รัฐบาลในขณะได้เปรียบคู่แข่งทางการเมืองรึ

 

หรือถ้าแก้แล้ว...จะทำให้ได้ประโยชน์ยังไงรึ

 

 

 

:D


Edited by 55555, 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 22:05.


#131 คนกทม.

คนกทม.

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 182 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 23:01

กม. ทั่วๆไป บางเรื่องเวลาจะใช้ก็อาจจะต้องดูหลายๆมาตราที่เกี่ยวข้องกัน
แล้วทำไมกม.รัฐธรรมนูญซึ่งเป็นเรื่องสำคัญท่านจะมาอ้างแค่มาตราเดียว มันต้องดูที่เกี่ยวข้องกันทั้งฉบับ
คนเรียนกม.เค้ารู้กันดีครับ(หุหุ)
ที่บอกศาลรัฐธรรมนูญไม่มีอำนาจ ใครตัดสินครับ
ที่ไม่เคยเจอแบบนี้ อย่าลืมนะครับนี่กม.รัฐธรรมนูญ ฉบับใหม่
แล้วอย่ามาบอกนะครับว่า รัฐธรรมนูญฉบับนี้ก็เหมือนอันเก่ามันต้องเหมือนเก่า
ถ้าเหมือนเก่าจะดิ้นรนแก้กันทำห่าไรวะ เรื่องการศึกษาเรื่องเศรษฐกิจปากท้องไม่ขยันทำแบบนี้

#132 ไอ้เบื๊_อก

ไอ้เบื๊_อก

    น้องเก่า

  • Banned
  • PipPip
  • 114 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 23:24

การวินิจฉัยกรณีนี้ของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญใช้อำนาจผ่านมาตรา 68 วรรคสองของรัฐธรรมนูญครับ
 
มาตรา 68 วรรค 2 บัญญัติว่า "ในกรณีที่บุคคลหรือพรรคการเมืองใดกระทำการตามวรรคหนึ่ง (พฤติการล้มล้างการปกครอง) ผู้ทราบการกระทำดังกล่าวย่อมมีสิทธิเสนอเรื่องให้อัยการสูงสุดตรวจสอบข้อเท็จจริงและยื่นคำร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยสั่งให้เลิกการกระทำดังกล่าว  แต่ทั้งนี้ ไม่กระทบกระเทือนการดำเนินคดีอาญาต่อผู้กระทำการดังกล่าว"
 
นอกจากนี้ เนื่องจากรัฐธรรมนูญ มาตรา 216 วรรคที่ 6 บัญญัติให้ "วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ" แต่ ร่าง พรบ. ดังกล่าวยัง "ถูกดอง" อยู่โดยยังไม่รู้ว่าจะถูกนำเข้าพิจารณาในสภาเมื่อไหร่ (http://www.thairath....tent/pol/333015) ดังนั้น
มาตรา 300 บัญญัติว่า "ในระหว่างที่ยังมิได้ตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ  ให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจออกข้อกำหนดเกี่ยวกับวิธีพิจารณาและการทำคำวินิจฉัยได้ แต่ทั้งนี้ ต้องตราพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปีนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้"
 
และก็เป็นไปตามข้อ 6.3 ของอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยการพิจารณาวินิจฉัยกรณีบุคคลหรือพรรคการเมืองใช้สิทธิหรือเสรีภาพในทางการเมืองโดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญ (http://www.constitut...ang=thindex.php)
 
สิ่งที่ศาลฯ ได้พิพากษาเมื่อวานนั้นก็เป็นการวินิจฉัยผ่านกระบวนการทางรัฐธรรมนูญทั้งสิ้นและรวมถึงข้อบังคับของสภา
และด้วยร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญดังกล่าว ศาลฯ ก็ย่อมมีอำนาจวินิจฉัยเนื่องด้วยเพราะข้อความในมาตรา 68 วรรคหนึ่งของรัฐธรรมนูญแหละครับ 
มาตรา 68 วรรคหนึ่ง บัญญัติว่า "บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถึทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนีั้ มิได้"
 
ไม่รู้ดอนยอนจะเข้าใจหรือเปล่า?

มา confirm ครับ
ผมลองไปอ่านใน pantip มี ปรมจารย์เขียนไว้น่าสนใจ
แต่เวปนั้น จะไม่ค่อยยอมจะเข้าใจ.
ลองไปอ่านดูก็ได้ครับ ตามนี้

http://pantip.com/topic/31266490

http://pantip.com/topic/31273481

#133 hatori

hatori

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 116 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 23:44

ที่เสื้อแดงบ้านราฎษร์พูดน่ะถูกแล้ว
สลิ่มมั่วอย่างที่ว่านั้นแหละ
 
"..ทีวีนิวส์ และพวกสลิ่ม สาวก ปชป..มันไม่รู้ลึก ไม่รู้จริง ตีความอะไรไม่แตกแบบนี้แหละครับ...มันจึงหลงเชื่อไอ้ถาวร ไอ้ทั้งหลายที่เป็นแกนนำหลอกเอาจนเชื่องมงาย โงหัวไม่ขึ้น..." :lol: 

เป็นไงล่ะ เห็นเงิบกันหมดนี่ หายหัวกันไปเลย
:lol: :lol: :lol:
คงไม่อยากสอนวัวไถนา
 
ไม่ต้องหรอกครับ อาจารย์  :lol:


#134 hatori

hatori

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 116 posts

ตอบ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 23:53

ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธรับเรื่องนี้ตาม ม 68 อยู่แล้วเพราะไม่ได้เข้าค่ายการล้มล้างการปกครองแต่อย่างใด
เรื่องสภาผัวเมีย ไม่เห็นด้วย
การเสียบบัตรแทนกันไม่เห็นด้วย
แต่สาระสำคัญที่สุดคือ ให้สวมาจากการเลือกตั้งเป็นการล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตย บ้าไปแล้ว
อธิการบดี มหาวิทยาลัย จุฬา(คณะนิติศาสตร์) ก็ออกความเห็นชัดเจน ศาลตัดสินผิด
สติแตกไร้ความคิดอย่างที่สุด
ให้คน 9 คน มาทำร้ายระบบประชาธิปไตยและอำนาจปวงชน
ทำลายประเทศชาติขนาดนี้ ยังไร้สามัญสำนึกกันอีกเหรอ
สมควรยุบศาลรัฐธรรมนูญ
ไม่ชอบทักษิณ เกลียดอภิสิทธิ์ แต่ต้องไม่ให้ใครมาทำลายประชาธิปไตย อำนาจเป็นของปวงชน

#135 lagrangian

lagrangian

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 229 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:00

ถ้าพรุ่งนี้สมาชิกสรท.ตื่นขึ้นมาพบว่ารัฐสภาของไทยได้แก้รธน.

  1. ให้ประชาชนไทยที่มีอายุตั้งแต่ 7 ปีขึ้นไปมีสิทธิเลือกตั้ง  หรือ
  2. ให้ชายไทยมีสิทธิเลือกตั้ง 2 เสียง แต่หญิงไทยมีสิทธิเลือกตั้งเพียงแค่ 1 เสียง หรือ
  3. ให้ประชาชนไทยในแต่ละภาคมีสิทธิออกเสียงไม่เท่ากัน
  4. ฯลฯ

ผิดหลักการใด ๆ หรือไม่  ประเทศไทยควรทำอย่างไร



#136 ไอ้เบื๊_อก

ไอ้เบื๊_อก

    น้องเก่า

  • Banned
  • PipPip
  • 114 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:04

      รธน  มาตรา  3  6  และ  291  บอกไว้แบบนี้ครับ[/size]
      มาตรา ๓ อำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข[/size]ทรงใช้อำนาจนั้นทางรัฐสภา [/size]คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้[/size]การปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ[/size]และหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม[/size] [/size]
      มาตรา ๖ [/size]รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ [/size]บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
       มาตรา ๒๙๑ การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญให้กระทำได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ[/size]ดังต่อไปนี้[/size](๑) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจากคณะรัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวน[/size]ไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือจาก[/size]สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในห้าของจำนวนสมาชิกทั้งหมด[/size]เท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา หรือจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าห้าหมื่นคน[/size]ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย[/size]ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญที่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ[/size]ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปของรัฐ จะเสนอมิได้[/size](๒) ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องเสนอเป็นร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมและให้รัฐสภาพิจารณา[/size]เป็นสามวาระ[/size](๓) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่หนึ่งขั้นรับหลักการ ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการแก้ไขเพิ่มเติมนั้น ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ[/size]จำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๔) การพิจารณาในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ต้องจัดให้มีการรับฟังความ[/size]คิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย[/size]การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สองขั้นพิจารณาเรียงลำดับมาตรา ให้ถือเอาเสียงข้าง[/size]มากเป็นประมาณ[/size](๕) เมื่อการพิจารณาวาระที่สองเสร็จสิ้นแล้ว ให้รอไว้สิบห้าวัน เมื่อพ้นกำหนดนี้แล้ว[/size]ให้รัฐสภาพิจารณาในวาระที่สามต่อไป[/size](๖) การออกเสียงลงคะแนนในวาระที่สามขั้นสุดท้าย ให้ใช้วิธีเรียกชื่อและลงคะแนน[/size]โดยเปิดเผย และต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วยในการที่จะให้ออกใช้เป็นรัฐธรรมนูญมากกว่ากึ่งหนึ่ง[/size]ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา[/size](๗) เมื่อการลงมติได้เป็นไปตามที่กล่าวแล้ว ให้นำร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมขึ้นทูลเกล้า[/size]ทูลกระหม่อมถวาย และให้นำบทบัญญัติมาตรา ๑๕๐ และมาตรา ๑๕๑ มาใช้บังคับโดยอนุโลม[/size]มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ[/size]หรือข้อบังคับ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ บทบัญญัตินั้นเป็นอันใช้บังคับมิได้[/size]
 
 ทีนี้เมื่อ  รธน  กำหนดไว้แบบนี้  หมายความว่าการที่   มาตรา  291  (ทั้งมาตรา)ซึ่งอยู่ในหมวด  15  ได้กำหนดวิธีการการแก้ใข รธน. ไว้เฉพาะ  แสดงว่า  รธน  ฉบับนี้แก้ได้และได้กำหนดวิธีการแก้ไว้แล้ว   และกำหนดด้วยว่าการแก้ใขแบบไหนที่ทำไม่ได้    291(1)วรรค 2นั่นหมายความว่า  การแก้  รธน  เป็นอำนาจหน้าที่ของ สภาฯ ตามเจตนารมย์ของ  รธน  ตามมาตรา  3 และมาตรา 6และ  291 โดยที่  ใน  รธน  ฉบับนี้   ไม่มีตรงไหนเลยที่มีระบุไว้ว่า    จะต้องมีองค์กรอื่นเข้ามาเกี่ยวข้องหรือตรวจสอบได้แม้แต่  มาตรา  68  ที่กล่าวอ้างกัน  ซึ่งมาตราดังกล่าว  รธน   บอกว่า  บุคคลจะใช้สิทธิ์หรือเสรีภาพ......แต่การแก้  รธน  เป็น  อำนาจ  และหน้าที่ ตาม  มาตรา  3  ถึงได้มีการโต้แย้งว่า  ศาล  รธน  ไม่มีอำนาจ  เพราะไม่มีกำหนดไว้ใน  รธน  [/size]แต่ศาลไม่รับฟังศาลได้ตีความขยายกฎหมายขึ้นมาเอง  ซึ่งไม่ถูกต้องเพราะมันไม่ใช่หน้าที่ของศาล  ในการตรากฎหมาย [/size]


มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้
คำว่า “สิทธิ” เป็นถ้อยคำพื้นฐานที่นักกฎหมายจำเป็นจะต้องทำความเข้าใจเป็นเบื้องต้น เพราะเป็นข้อความคิดพื้นฐานทางกฎหมาย เนื่องจากกฎหมายเป็นกฎเกณฑ์ที่กำหนดสิทธิและหน้าที่ให้แก่บุคคล สิทธินั้นอาจพิจารณาได้2แง่ คือในแง่. "อำนาจ" หรือในแง่ประโยชน์ดังนั้น "สิทธิ" จึงหมายถึง "อำนาจ" อันชอบธรรมหรือความชอบธรรมที่บุคคลสามารถใช้ยันกับบุคคลอื่นเพื่อคุ้มครองหรือรักษาผลประโยชน์อันเป็นส่วนที่พึงมีพึงได้ของบุคคลนั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งสิทธิคือ ประโยชน์ที่บุคคลมีความชอบธรรมที่จะได้รับ ซึ่งกฎหมายรับรองและคุ้มครองให้ เราสามารถพิจารณาองค์ประกอบของสิทธิได้เป็นข้อๆดังนี้
Credit: สมยศ เชื้อไทย, ความรู้กฎหมายทั่วไป คำอธิบายวิชากฎหมายแพ่ง:หลักทั่วไป ,2550
ขออนุญาตเน้นนะครับ การที่สภาแก้ไขรธน.ตามมาตรา 291 จึงเป็น "อำนาจโดยชอบธรรม" ตามรัฐธรรมนูญเนื่องจากไม่ได้แก้ไขให้ขัดกับรธน.
 
"มาตรา 68 บัญญัติองค์ประกอบความผิดของการกระทำไว้สองประการ คือ
1. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตามรัฐธรรมนูญนี้มิได้ หรือ
2. บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการ ปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่ได้บัญญัติไว้ในรัฐ ธรรมนูญนี้มิได้ "

การแก้ไขที่มาของ ส.ส. และ ส.ว. เป็นการใช้สิทธิ(อำนาจ) ที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน และเป็นการเปลี่ยนโครงสร้างที่เอื้อประโยชน์ให้กับนักการเมืองในการควบคุมรัฐสภา
การกระทำดังกล่าว มีผลกระทบต่อโครงสร้างของรัฐ "เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจโดยไม่ใช่วิถีทางแห่งรัฐธรรมนูญ"
เมื่อมีผู้พบว่าการกระทำดังกล่าว เป็นการขัดต่อรัฐธรรมนูญ จึงใช้ ม68 ข้อ2 ยื่นฟ้อง เป็นไปได้ไหมครับ?
 
อันนี้เป็นการตีความ "เพิ่มเข้ามาเอง" ครับ (กรณีนี้เทียบเคียงกับเรื่องของแบ่งเขตการเลือกตั้งของพรรค ปชป.ถ้าผมจะบอกว่ามันเป็นผลประโยชน์ทับซ้อนก็สามารถเทียบเคียงได้ครับ อันนั้นน่ะซ้อนเห็นๆ) แต่ผมจะไม่กล่าวถึง ที่จะกล่าวถึงคือ ตัวหนาที่ผมเน้นน่ะมันเป็นสิ่งที่ท่านเขียนขึ้นมาเอง ในกฏหมายไม่ได้กำหนดไว้ครับ จึงไม่มีเหตุให้รับคำร้อง (ทั้งๆที่เรื่องรับคำร้อง ศาลรธน.เองก็ไม่มีสิทธิ์ด้วยซ้ำไป)
 
ย้ำอีกทีครับ ศาล รธน.ไม่มีอำนาจในการรับคำร้องมาตรา 68 ด้วยตนเองครับ ต้องผ่าน อสส ก่อน ใครเรียนกฏหมายจะทราบดีครับ

คุณ anyone นี่ไม่ธรรมดา นะ
เพิ่มเข้ามา. น่าเสาวนาด้วยครับ
ที่อ่านมา ผมกลับเห็นต่าง เรื่อง ม 68 ซึ่ง ผมเห็นว่า ปชช. มีสิทธิที่จะยื่นได้ 2 ทาง และสิทธินี้อยู่ในหมวด 13 ซึ่งเป็นหมวดของสิทธิ ปชช ที่จะพิทักษ์ รธน
แต่ที่สำคัญ ศาล รธน ได้ตีความแล้ว ผูกพันทุกองค์กร และถึงที่สุดแล้ว

การถกเถียงเพื่อเพิ่มมุมมองและความรู้เป็นสิ่งที่ดีครับ
แต่ที่ผ่านมา สังคมวุ่นวายเพราะถกเถียงกันด้วยความรู้สึก
ตอนนี้กำลังเข้าสู่ ยุคไม่ยอมรับ และมุ่งหวังให้ตนชนะอย่างเดียว
แล้ว ปท จะเดินต่ออย่างไร

#137 lagrangian

lagrangian

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 229 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:04

ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธรับเรื่องนี้ตาม ม 68 อยู่แล้วเพราะไม่ได้เข้าค่ายการล้มล้างการปกครองแต่อย่างใด
เรื่องสภาผัวเมีย ไม่เห็นด้วย
การเสียบบัตรแทนกันไม่เห็นด้วย
แต่สาระสำคัญที่สุดคือ ให้สวมาจากการเลือกตั้งเป็นการล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตย บ้าไปแล้ว
อธิการบดี มหาวิทยาลัย จุฬา(คณะนิติศาสตร์) ก็ออกความเห็นชัดเจน ศาลตัดสินผิด
สติแตกไร้ความคิดอย่างที่สุด
ให้คน 9 คน มาทำร้ายระบบประชาธิปไตยและอำนาจปวงชน
ทำลายประเทศชาติขนาดนี้ ยังไร้สามัญสำนึกกันอีกเหรอ
สมควรยุบศาลรัฐธรรมนูญ
ไม่ชอบทักษิณ เกลียดอภิสิทธิ์ แต่ต้องไม่ให้ใครมาทำลายประชาธิปไตย อำนาจเป็นของปวงชน

อธิการบดีคนปัจจุบันของจุฬาฯ ชื่อว่า ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล ดูจากคำนำหน้าชื่อแล้วไม่น่าจะจบจากคณะนิติศาสตร์นะครับ



#138 hatori

hatori

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 116 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:19

ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธรับเรื่องนี้ตาม ม 68 อยู่แล้วเพราะไม่ได้เข้าค่ายการล้มล้างการปกครองแต่อย่างใด
เรื่องสภาผัวเมีย ไม่เห็นด้วย
การเสียบบัตรแทนกันไม่เห็นด้วย
แต่สาระสำคัญที่สุดคือ ให้สวมาจากการเลือกตั้งเป็นการล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตย บ้าไปแล้วอธิการบดี มหาวิทยาลัย จุฬา(คณะนิติศาสตร์) ก็ออกความเห็นชัดเจน ศาลตัดสินผิด
สติแตกไร้ความคิดอย่างที่สุด
ให้คน 9 คน มาทำร้ายระบบประชาธิปไตยและอำนาจปวงชน
ทำลายประเทศชาติขนาดนี้ ยังไร้สามัญสำนึกกันอีกเหรอ
สมควรยุบศาลรัฐธรรมนูญ
ไม่ชอบทักษิณ เกลียดอภิสิทธิ์ แต่ต้องไม่ให้ใครมาทำลายประชาธิปไตย อำนาจเป็นของปวงชน

อธิการบดีคนปัจจุบันของจุฬาฯ ชื่อว่า ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล ดูจากคำนำหน้าชื่อแล้วไม่น่าจะจบจากคณะนิติศาสตร์นะครับ


#139 hatori

hatori

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 116 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:21

ศาลรัฐธรรมนูญไม่มีสิทธรับเรื่องนี้ตาม ม 68 อยู่แล้วเพราะไม่ได้เข้าค่ายการล้มล้างการปกครองแต่อย่างใด
เรื่องสภาผัวเมีย ไม่เห็นด้วย
การเสียบบัตรแทนกันไม่เห็นด้วย
แต่สาระสำคัญที่สุดคือ ให้สวมาจากการเลือกตั้งเป็นการล้มล้างการปกครองในระบอบประชาธิปไตย บ้าไปแล้วอธิการบดี มหาวิทยาลัย จุฬา(คณะนิติศาสตร์) ก็ออกความเห็นชัดเจน ศาลตัดสินผิด
สติแตกไร้ความคิดอย่างที่สุด
ให้คน 9 คน มาทำร้ายระบบประชาธิปไตยและอำนาจปวงชน
ทำลายประเทศชาติขนาดนี้ ยังไร้สามัญสำนึกกันอีกเหรอ
สมควรยุบศาลรัฐธรรมนูญ
ไม่ชอบทักษิณ เกลียดอภิสิทธิ์ แต่ต้องไม่ให้ใครมาทำลายประชาธิปไตย อำนาจเป็นของปวงชน


อธิการบดีคนปัจจุบันของจุฬาฯ ชื่อว่า ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ภิรมย์ กมลรัตนกุล ดูจากคำนำหน้าชื่อแล้วไม่น่าจะจบจากคณะนิติศาสตร์นะครับ
ขอโทษครับ ไม่ใช่อธิการบดี แต่หมายถึง ศ.ดร นันทวัฒน์ บรมานันท์ คณบดี คณะนิติศาสตร์ จุฬาครับ

#140 Solid Snake

Solid Snake

    แดงกำมะลอ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,892 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:33

 

มาตรา ๖๘ บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้

 

อ่านยังไงถึงได้เข้าใจว่าต้องเป็นการกระทำเพื่อล้มล้างการปกครองอย่างเดียว ทั้งที่มันก็เขียนอยู่ว่า หรือ

 

 

มาตรา ๑๑๑ วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนรวมหนึ่งร้อยห้าสิบคน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน และมาจากการสรรหาเท่ากับจำนวนรวมข้างต้นหักด้วยจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญบัญญัติให้มี สว เลือกตั้งและสรรหา หากแก้ให้เหลือแต่ สว เลือกตั้ง มันก็ไม่ใช่วิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญสิครับ ถ้าอยากได้ สว เลือกตั้ง 150 คน ไม่ยากครับ ก็แยกจังหวัดในประเทศไทยเป็น 150 จังหวัดสิครับ :lol: :lol: :lol:


Edited by Solid Snake, 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:34.


#141 hatori

hatori

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 116 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:36

 
มาตรา ๖๘ บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้

 
อ่านยังไงถึงได้เข้าใจว่าต้องเป็นการกระทำเพื่อล้มล้างการปกครองอย่างเดียว ทั้งที่มันก็เขียนอยู่ว่า หรือ
 

 
มาตรา ๑๑๑ วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนรวมหนึ่งร้อยห้าสิบคน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน และมาจากการสรรหาเท่ากับจำนวนรวมข้างต้นหักด้วยจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญบัญญัติให้มี สว เลือกตั้งและสรรหา หากแก้ให้เหลือแต่ สว เลือกตั้ง มันก็ไม่ใช่วิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญสิครับ ถ้าอยากได้ สว เลือกตั้ง 150 คน ไม่ยากครับ ก็แยกจังหวัดในประเทศไทยเป็น 150 จังหวัดสิครับ :lol: :lol: :lol:


#142 hatori

hatori

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 116 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:43

 
มาตรา ๖๘ บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้

 
อ่านยังไงถึงได้เข้าใจว่าต้องเป็นการกระทำเพื่อล้มล้างการปกครองอย่างเดียว ทั้งที่มันก็เขียนอยู่ว่า หรือ
 

 
มาตรา ๑๑๑ วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนรวมหนึ่งร้อยห้าสิบคน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน และมาจากการสรรหาเท่ากับจำนวนรวมข้างต้นหักด้วยจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญบัญญัติให้มี สว เลือกตั้งและสรรหา หากแก้ให้เหลือแต่ สว เลือกตั้ง มันก็ไม่ใช่วิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญสิครับ ถ้าอยากได้ สว เลือกตั้ง 150 คน ไม่ยากครับ ก็แยกจังหวัดในประเทศไทยเป็น 150 จังหวัดสิครับ :lol: :lol: :lol:

การใด้มาซึ่งอำนาจในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสมควรมาจากการเลือกตั้ง เอาเสียงของประชาชนเป็นทึ่ตั้งอยู่แล้ว
การเอาสวแต่งตั้ง มาจากรัฐธรรมนูญปี50 ซึ่งมาจากการบังคับให้รับไปก่อนหลังการรัฐประหาร(ซึ่งเป็นการใด้มาซึ่งอำนาจปกครองโดยมิชอบในระบบประชาธิปไตย)
การหาสวแต่งตั้งคือวิธีที่ต่อต้านความเป็นประชาธิปไตย ฝ่ายใหนใด้ตั้งสว ก็จะเอาคนของตัวเองเข้าไป
สมควรให้ประชาชนเจ้าของอำนาจออกเสียงเลือกตั้งสว จึงมาจากอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทย

#143 Solid Snake

Solid Snake

    แดงกำมะลอ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,892 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:48

 

 

 

 
มาตรา ๖๘ บุคคลจะใช้สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญนี้ หรือเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศโดยวิธีการซึ่งมิได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญนี้มิได้

 
อ่านยังไงถึงได้เข้าใจว่าต้องเป็นการกระทำเพื่อล้มล้างการปกครองอย่างเดียว ทั้งที่มันก็เขียนอยู่ว่า หรือ
 

 
มาตรา ๑๑๑ วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจำนวนรวมหนึ่งร้อยห้าสิบคน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งในแต่ละจังหวัด จังหวัดละหนึ่งคน และมาจากการสรรหาเท่ากับจำนวนรวมข้างต้นหักด้วยจำนวนสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญบัญญัติให้มี สว เลือกตั้งและสรรหา หากแก้ให้เหลือแต่ สว เลือกตั้ง มันก็ไม่ใช่วิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญสิครับ ถ้าอยากได้ สว เลือกตั้ง 150 คน ไม่ยากครับ ก็แยกจังหวัดในประเทศไทยเป็น 150 จังหวัดสิครับ :lol: :lol: :lol:

การใด้มาซึ่งอำนาจในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสมควรมาจากการเลือกตั้ง เอาเสียงของประชาชนเป็นทึ่ตั้งอยู่แล้ว
การเอาสวแต่งตั้ง มาจากรัฐธรรมนูญปี50 ซึ่งมาจากการบังคับให้รับไปก่อนหลังการรัฐประหาร(ซึ่งเป็นการใด้มาซึ่งอำนาจปกครองโดยมิชอบในระบบประชาธิปไตย)
การหาสวแต่งตั้งคือวิธีที่ต่อต้านความเป็นประชาธิปไตย ฝ่ายใหนใด้ตั้งสว ก็จะเอาคนของตัวเองเข้าไป
สมควรให้ประชาชนเจ้าของอำนาจออกเสียงเลือกตั้งสว จึงมาจากอำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทย

 

บังคับ? ตอนคุณไปลงประชามตินี่ใครเอาปืนจี้คุณให้กาว่ารับหรือครับ

แล้วระหว่าง สว แต่งตั้ง กับ รมต แต่งตั้งนี่ จำนวนผู้มีส่วนร่วมในการแต่งตั้งอย่างไหนมีมากกว่าครับ

ขั้นตอนการได้มาของ สว แต่งตั้งได้มายังไง รมต แต่งตั้งได้มายังไง อธิบายให้ฟังหน่อยสิครับ


Edited by Solid Snake, 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:54.


#144 phoosana

phoosana

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 7,687 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:49

แปลว่า รัฐสภามีอำนาจสามารถแก้ได้ทุกมาตรา แม้แต่มาตราหนึ่ง หรือแม้แต่มาตรา 291 เองก็แก้ได้

งั้นก็ไม่ต้องมีศาลรัฐธรรมนูญหรอกครับ มีไปทำไมกันล่ะ

 

 

<_<


We love fender.

#145 hatori

hatori

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 116 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:59

เมื่อใจไม่เป็นประชาธิปไตย ขนาดรัฐประหารยังไม่เรียกว่าบังคับ
ตรรกะในสมองถูกทำลาย ขาดใจวินิจฉัย ถูกผิดชั่วดี ยังไม่รู้
จะทำลายประเทศชาติ อีกแค่ใหนถึงจะพอใจ
ต่อต้านอำนาจอธิปไตยอันเป็นของปวงชนชาวไทย

#146 Solid Snake

Solid Snake

    แดงกำมะลอ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,892 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:05

เมื่อใจไม่เป็นประชาธิปไตย ขนาดรัฐประหารยังไม่เรียกว่าบังคับ
ตรรกะในสมองถูกทำลาย ขาดใจวินิจฉัย ถูกผิดชั่วดี ยังไม่รู้
จะทำลายประเทศชาติ อีกแค่ใหนถึงจะพอใจ
ต่อต้านอำนาจอธิปไตยอันเป็นของปวงชนชาวไทย

ถ้าโดนบังคับจริง ลองอธิบายหน่อยสิว่าทำไมหลายจังหวัดถึงมีไม่รับร่างเกิน 50%

220px-2007referendum.png

ภาคใต้โดนบังคับให้รับร่างยกภาคเลยวุ้ย


Edited by Solid Snake, 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:07.


#147 hatori

hatori

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 116 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:18

ใช้เป็นเหตุผลใด้หรือ?
เมื่อใช้กำลังทหารในการยึดอำนาจในสภาวะนั้นแล้ว
ประชาชนต้องการระบอบประชาธิปไตย จึงเห็นควรให้รับไปก่อนแล้วไปแก้(ถ้าไม่รับกันส่วนใหญ่เป็นสีเขียวก็จะไม่ได้การปกครองระบอบประชาธิปไตยคืนมา)
ไม่บังคับก็เท่ากับบังคับแล้ว สสรก็มาจากกลุ่มที่ปฎิวัต ไม่รับก็อยู่ภายใต้ผเด็ดการทหารโดยปริยาย
เมื่อพรรคเพื่อไทยชูนโยบายแก้ไขรัฐธรรมนูญ ก็ได้เสียงส่วนใหญ่ให้ไปแก้รัฐธรรมนูญ แสดงว่าเสียงของประชาชนต้องการให้แก้รัฐธรรมนูญ
สิ่งที่ใด้มาจากการปฎิวัตรัฐประหารไม่อาจเรียกได้ว่ามาจากประชาชนอย่างแท้จริง

#148 Solid Snake

Solid Snake

    แดงกำมะลอ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,892 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:25

ใช้เป็นเหตุผลใด้หรือ?
เมื่อใช้กำลังทหารในการยึดอำนาจในสภาวะนั้นแล้ว
ประชาชนต้องการระบอบประชาธิปไตย จึงเห็นควรให้รับไปก่อนแล้วไปแก้(ถ้าไม่รับกันส่วนใหญ่เป็นสีเขียวก็จะไม่ได้การปกครองระบอบประชาธิปไตยคืนมา)
ไม่บังคับก็เท่ากับบังคับแล้ว สสรก็มาจากกลุ่มที่ปฎิวัต ไม่รับก็อยู่ภายใต้ผเด็ดการทหารโดยปริยาย
เมื่อพรรคเพื่อไทยชูนโยบายแก้ไขรัฐธรรมนูญ ก็ได้เสียงส่วนใหญ่ให้ไปแก้รัฐธรรมนูญ แสดงว่าเสียงของประชาชนต้องการให้แก้รัฐธรรมนูญ
สิ่งที่ใด้มาจากการปฎิวัตรัฐประหารไม่อาจเรียกได้ว่ามาจากประชาชนอย่างแท้จริง

แสดงว่าภาคเหนือภาคอีสานส่วนใหญ่ไม่ต้องการระบอบประชาธิปไตยสิครับ ถึงได้เลือกที่ไม่รับกันแบบนั้น

เพื่อไทยชูนโยบายแก้ไขรัฐธรรมนูญ ทำไมไม่ทำประชามติเลยล่ะครับ ว่าจะแก้หรือไม่แก้ หรือว่าตอนนี้ยังอยู่ในยุคเผด็จการอยู่



#149 wisary

wisary

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 998 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:36

ใช้เป็นเหตุผลใด้หรือ?
เมื่อใช้กำลังทหารในการยึดอำนาจในสภาวะนั้นแล้ว
ประชาชนต้องการระบอบประชาธิปไตย จึงเห็นควรให้รับไปก่อนแล้วไปแก้(ถ้าไม่รับกันส่วนใหญ่เป็นสีเขียวก็จะไม่ได้การปกครองระบอบประชาธิปไตยคืนมา)
ไม่บังคับก็เท่ากับบังคับแล้ว สสรก็มาจากกลุ่มที่ปฎิวัต ไม่รับก็อยู่ภายใต้ผเด็ดการทหารโดยปริยาย
เมื่อพรรคเพื่อไทยชูนโยบายแก้ไขรัฐธรรมนูญ ก็ได้เสียงส่วนใหญ่ให้ไปแก้รัฐธรรมนูญ แสดงว่าเสียงของประชาชนต้องการให้แก้รัฐธรรมนูญ
สิ่งที่ใด้มาจากการปฎิวัตรัฐประหารไม่อาจเรียกได้ว่ามาจากประชาชนอย่างแท้จริง

2475 เป็นต้นมา ???


Edited by wisary, 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:42.


#150 taze

taze

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 732 posts

ตอบ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 01:39

ใช้เป็นเหตุผลใด้หรือ?
เมื่อใช้กำลังทหารในการยึดอำนาจในสภาวะนั้นแล้ว
ประชาชนต้องการระบอบประชาธิปไตย จึงเห็นควรให้รับไปก่อนแล้วไปแก้(ถ้าไม่รับกันส่วนใหญ่เป็นสีเขียวก็จะไม่ได้การปกครองระบอบประชาธิปไตยคืนมา)
ไม่บังคับก็เท่ากับบังคับแล้ว สสรก็มาจากกลุ่มที่ปฎิวัต ไม่รับก็อยู่ภายใต้ผเด็ดการทหารโดยปริยาย
เมื่อพรรคเพื่อไทยชูนโยบายแก้ไขรัฐธรรมนูญ ก็ได้เสียงส่วนใหญ่ให้ไปแก้รัฐธรรมนูญ แสดงว่าเสียงของประชาชนต้องการให้แก้รัฐธรรมนูญ
สิ่งที่ใด้มาจากการปฎิวัตรัฐประหารไม่อาจเรียกได้ว่ามาจากประชาชนอย่างแท้จริง

 

 

อ่านๆไป ไม่ยอมรับผลของรัฐประหาร ไอ้รัฐบาลนี้ก็เถื่อนนะสิครับ เพราะมาจาก รธน. 2550 ถ้าเสียงส่วนใหญ่เห็นให้แก้รัฐธรรมนูญได้ห้ามขวาง ก็แก้ให้ได้ประโยชน์ตกกับพรรคพวกตัวเองเท่านั้นได้งั้นหรือครับ


"Power tends to corrupt, and absolute power corrupts absolutely."





ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน