ถามกันตรงๆ คุณคิดว่า ปชป.ควรลงเลือกตั้งไหม ?
#51
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 06:41
ปชป.เครียดส่งก็ตายไม่ส่งก็พิการ
#52
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 15:19
ไม่ต้องลงสมัครดีกว่า ... มีแววว่าฝั่งพท.จะถูกปปช.ชี้้มูลความผิด ทั้งจำนำข้าว ทั้งที่มาสว.
สส.ฝ่ายรัฐบาลถูกสอยแน่นอน...ที่เหลือก็ไม่น่าจะเปิดสภาได้...
#53
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 15:53
ไม่ต้องลงสมัครดีกว่า ... มีแววว่าฝั่งพท.จะถูกปปช.ชี้้มูลความผิด ทั้งจำนำข้าว ทั้งที่มาสว.
สส.ฝ่ายรัฐบาลถูกสอยแน่นอน...ที่เหลือก็ไม่น่าจะเปิดสภาได้...
ชี้มูลนำไปสู่การถอดถอน(ยุบสภาไปแล้ว) ครับ
แต่ถ้าเรื่องยังไม่ถีงสิ้นสุด น่าจะสมัครใหม่ได้..
ดังนั้น สมัครใหม่แล้ว เรื่องต้องไปจบที่ศาลฏีกา ก่อน
http://www2.ect.go.t...SiteMenuID=8048
#54
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 15:54
ดังนั้นงานนี้ ปชป. น่าส่งครับ ไม่อย่างนั้น ใน กทม. ภูมิใจไทย อาจได้แทน ปชป. ก้ได้..
#55
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 16:03
ไม่ต้องลงสมัครดีกว่า ... มีแววว่าฝั่งพท.จะถูกปปช.ชี้้มูลความผิด ทั้งจำนำข้าว ทั้งที่มาสว.
สส.ฝ่ายรัฐบาลถูกสอยแน่นอน...ที่เหลือก็ไม่น่าจะเปิดสภาได้...
ชี้มูลนำไปสู่การถอดถอน(ยุบสภาไปแล้ว) ครับ
แต่ถ้าเรื่องยังไม่ถีงสิ้นสุด น่าจะสมัครใหม่ได้..
ดังนั้น สมัครใหม่แล้ว เรื่องต้องไปจบที่ศาลฏีกา ก่อน
http://www2.ect.go.t...SiteMenuID=8048
ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ....แต่เข้าใจว่าถ้าถูกชี้มูลขณะที่่เป็นสส. ( ได้รับเลื่อกตั้งใหม่ ) จะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่่หรือเปล่าครับ?
- ซีมั่น โลช่า likes this
#56
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 16:14
ไม่ต้องลงสมัครดีกว่า ... มีแววว่าฝั่งพท.จะถูกปปช.ชี้้มูลความผิด ทั้งจำนำข้าว ทั้งที่มาสว.
สส.ฝ่ายรัฐบาลถูกสอยแน่นอน...ที่เหลือก็ไม่น่าจะเปิดสภาได้...
ชี้มูลนำไปสู่การถอดถอน(ยุบสภาไปแล้ว) ครับ
แต่ถ้าเรื่องยังไม่ถีงสิ้นสุด น่าจะสมัครใหม่ได้..
ดังนั้น สมัครใหม่แล้ว เรื่องต้องไปจบที่ศาลฏีกา ก่อน
http://www2.ect.go.t...SiteMenuID=8048
ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ....แต่เข้าใจว่าถ้าถูกชี้มูลขณะที่่เป็นสส. ( ได้รับเลื่อกตั้งใหม่ ) จะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่่หรือเปล่าครับ?
ถ้าตอนยังไม่ยุบสภานั้นใช่.. แต่ตอนนี้ยุบไปแล้ว.. การกระทำเมื่ออดีต ไม่รู้ว่าจะตามมาหรือเปล่าแต่ถ้า ต้องหยุด หยุดปฏิบัติหน้าที่่
แล้ว ปชป. ไม่ลงเลือกตั้ง ในสภา พท. ก็เกินครึ่งอยู่ดี.. เพราะ 109 +111 กลับมาแล้ว ตัวสำรองอาจถอยออกไป..
อีกอย่าง ปชป. เท่าที่ฟัง ประธาน ปปช. ก็บอกว่า ต้องทำตามขั้นตอน เชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล ผมว่าเลือกตั้งเสร็จก่อนแน่นอน
ตามมาตรฐาน ปปช.
- แสนคำนึง นลินกุลเศฐ likes this
#57
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 16:32
ขอบคุณสำหรับคำตอบ...ถ้ายังนั้นก็ต้องให้มีอุบัติเหตุที่ทำให้ไม่มีการเลื่อกตั้งวันที่ 2 กพ.
วันนี้คปท.ไปยื่นคำร้องกกต.ให้ตัดสิทธิ์การลงสมัครสส.ที่ไม่ยอมรับคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ
เป็นการตัดกำลังไว้ก่อน...
- ซีมั่น โลช่า likes this
#58
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 16:36
ไม่ต้องลงสมัครดีกว่า ... มีแววว่าฝั่งพท.จะถูกปปช.ชี้้มูลความผิด ทั้งจำนำข้าว ทั้งที่มาสว.
สส.ฝ่ายรัฐบาลถูกสอยแน่นอน...ที่เหลือก็ไม่น่าจะเปิดสภาได้...
ชี้มูลนำไปสู่การถอดถอน(ยุบสภาไปแล้ว) ครับ
แต่ถ้าเรื่องยังไม่ถีงสิ้นสุด น่าจะสมัครใหม่ได้..
ดังนั้น สมัครใหม่แล้ว เรื่องต้องไปจบที่ศาลฏีกา ก่อน
http://www2.ect.go.t...SiteMenuID=8048
ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ....แต่เข้าใจว่าถ้าถูกชี้มูลขณะที่่เป็นสส. ( ได้รับเลื่อกตั้งใหม่ ) จะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่่หรือเปล่าครับ?
ถ้าตอนยังไม่ยุบสภานั้นใช่.. แต่ตอนนี้ยุบไปแล้ว.. การกระทำเมื่ออดีต ไม่รู้ว่าจะตามมาหรือเปล่าแต่ถ้า ต้องหยุด หยุดปฏิบัติหน้าที่่
แล้ว ปชป. ไม่ลงเลือกตั้ง ในสภา พท. ก็เกินครึ่งอยู่ดี.. เพราะ 109 +111 กลับมาแล้ว ตัวสำรองอาจถอยออกไป..
อีกอย่าง ปชป. เท่าที่ฟัง ประธาน ปปช. ก็บอกว่า ต้องทำตามขั้นตอน เชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล ผมว่าเลือกตั้งเสร็จก่อนแน่นอน
ตามมาตรฐาน ปปช.
ดีใจที่เสือเมา มา ควายแดง เยอะจนน่าเบื่อ เสื้อแดงอย่างเสือเมาน่าคุยกว่าเยอะ ยังมีเรื่องที่ต้องห่วงอยู่เรื่องหนึ่งนะ เรื่องที่ สว.ยื่นยุบพรรคเผาไทย ในกรณีแถลงการณ์ไม่รับอำนาจศาลรัฐธรรมนูณ เรื่องนี้ สว. ยื่นไปแล้ว และน่าจะได้ หลักฐาน ที่่ หัวหน้าพรรคเผาไทยรับกลางสภาว่าทำในนามหัวหน้าพรรค โดน ยุบระหว่างเลือกตั้ง มันคงไม่ดีนะ เดี๋ยวผมกลัวควายจะไล่ขวิด ศาล อีก
อีกเรื่อง เห็นคัดค้าน ระบอบ สุเทพ ผมก้ไม่เข้าใจว่าเป็นยังไง แ่ต่ผมถามหน่อยดิ ว่า เห็นด้วยไหม กับ การมีกฏหมายคดี คอรัปชั่นไม่มีอายุความ
Edited by ter162525, 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 16:37.
#59
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 16:56
ไม่ต้องลงสมัครดีกว่า ... มีแววว่าฝั่งพท.จะถูกปปช.ชี้้มูลความผิด ทั้งจำนำข้าว ทั้งที่มาสว.
สส.ฝ่ายรัฐบาลถูกสอยแน่นอน...ที่เหลือก็ไม่น่าจะเปิดสภาได้...
ชี้มูลนำไปสู่การถอดถอน(ยุบสภาไปแล้ว) ครับ
แต่ถ้าเรื่องยังไม่ถีงสิ้นสุด น่าจะสมัครใหม่ได้..
ดังนั้น สมัครใหม่แล้ว เรื่องต้องไปจบที่ศาลฏีกา ก่อน
http://www2.ect.go.t...SiteMenuID=8048
ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ....แต่เข้าใจว่าถ้าถูกชี้มูลขณะที่่เป็นสส. ( ได้รับเลื่อกตั้งใหม่ ) จะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่่หรือเปล่าครับ?
ถ้าตอนยังไม่ยุบสภานั้นใช่.. แต่ตอนนี้ยุบไปแล้ว.. การกระทำเมื่ออดีต ไม่รู้ว่าจะตามมาหรือเปล่าแต่ถ้า ต้องหยุด หยุดปฏิบัติหน้าที่่
แล้ว ปชป. ไม่ลงเลือกตั้ง ในสภา พท. ก็เกินครึ่งอยู่ดี.. เพราะ 109 +111 กลับมาแล้ว ตัวสำรองอาจถอยออกไป..
อีกอย่าง ปชป. เท่าที่ฟัง ประธาน ปปช. ก็บอกว่า ต้องทำตามขั้นตอน เชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล ผมว่าเลือกตั้งเสร็จก่อนแน่นอน
ตามมาตรฐาน ปปช.
ดีใจที่เสือเมา มา ควายแดง เยอะจนน่าเบื่อ เสื้อแดงอย่างเสือเมาน่าคุยกว่าเยอะ ยังมีเรื่องที่ต้องห่วงอยู่เรื่องหนึ่งนะ เรื่องที่ สว.ยื่นยุบพรรคเผาไทย ในกรณีแถลงการณ์ไม่รับอำนาจศาลรัฐธรรมนูณ เรื่องนี้ สว. ยื่นไปแล้ว และน่าจะได้ หลักฐาน ที่่ หัวหน้าพรรคเผาไทยรับกลางสภาว่าทำในนามหัวหน้าพรรค โดน ยุบระหว่างเลือกตั้ง มันคงไม่ดีนะ เดี๋ยวผมกลัวควายจะไล่ขวิด ศาล อีก
อีกเรื่อง เห็นคัดค้าน ระบอบ สุเทพ ผมก้ไม่เข้าใจว่าเป็นยังไง แ่ต่ผมถามหน่อยดิ ว่า เห็นด้วยไหม กับ การมีกฏหมายคดี คอรัปชั่นไม่มีอายุความ
ปฏิรูปผมเห็นด้วยครับ.. มันต้องรวมไปถีงแก้ระบบภาษี ความเหลื่อมล้ำกันทางสังคม.. กฏหมายคดี คอรัปชั่นไม่มีอายุความ ก็ไม่มีปัญหา
- คนที่มาทำต้องไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ปปกส. ทำฝ่ายเดียว หรือรัฐบาล ทำฝ่ายเดียวไม่ได้ ต้องทำคล้ายกับการร่างรัฐธรรมนูญปี 40 ให้มีส่วนร่วมกันทั้งหมด
- ถ้าทำอะไรก็ได้ ต้องคงใว้ ว่าต้อง 1 คน 1 เสียง อันนี้เชื่อว่าคงไม่มีทางเป็นต่างไปจากนี้
- คัดค้านระบบสุเทพ.. คือสุเทพ ตั้งสภาประชาชน.. ตอนนี้ยังไม่ชัดว่า 100 คน และ 300 คนที่ว่านั้น เมื่อทำได้จริงจะกลายเป็นว่า
ยก สนช. มาทั้งกะบิ... มันก็ไม่ต่างอะไรกับ รัฐประหารเมือปี 2549
#60
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 16:59
ตอนนี้ดูจากการดีดดิ้นของไอ้พวกขี้ข้าตามหน้าสื่อแล้ว ผมคิดว่าไม่ลงเลือกตั้งน่าจะดีกว่านะครับ
อ้อ แล้วสำหรับใครที่คิดจะบอกว่าจะโดนประชาชนลงโทษเนี่ย ผมก็ขอบอกว่า ผมไม่สนครับว่าใครจะเป็นรัฐบาลใครจะเป็นนายก สิ่งทีี่ผมสนอย่างเดียวคือทำอะไรก็ได้ให้ไอ้แม้วมันเจ็บชนิดต้องรักษากันจนวันตาย และการบอยคอตของ ปชป ก็เป็นหนึ่งในยุทธวิธีที่ทำให้ไอ้แม้วมันเจ็บปวดรวดร้าวมาก ๆ
Edited by Novice, 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 17:01.
#61
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 17:01
ส่วนเรื่องยุบพรรค ถีงวันนี้ คงไม่มีผลกับ พท. แล้ว กลับกันมาเต็มพรรค เหมือนเดิมแล้ว
#62
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 17:11
ไม่ต้องลงสมัครดีกว่า ... มีแววว่าฝั่งพท.จะถูกปปช.ชี้้มูลความผิด ทั้งจำนำข้าว ทั้งที่มาสว.
สส.ฝ่ายรัฐบาลถูกสอยแน่นอน...ที่เหลือก็ไม่น่าจะเปิดสภาได้...
ชี้มูลนำไปสู่การถอดถอน(ยุบสภาไปแล้ว) ครับ
แต่ถ้าเรื่องยังไม่ถีงสิ้นสุด น่าจะสมัครใหม่ได้..
ดังนั้น สมัครใหม่แล้ว เรื่องต้องไปจบที่ศาลฏีกา ก่อน
http://www2.ect.go.t...SiteMenuID=8048
ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ....แต่เข้าใจว่าถ้าถูกชี้มูลขณะที่่เป็นสส. ( ได้รับเลื่อกตั้งใหม่ ) จะต้องหยุดปฏิบัติหน้าที่่หรือเปล่าครับ?
ถ้าตอนยังไม่ยุบสภานั้นใช่.. แต่ตอนนี้ยุบไปแล้ว.. การกระทำเมื่ออดีต ไม่รู้ว่าจะตามมาหรือเปล่าแต่ถ้า ต้องหยุด หยุดปฏิบัติหน้าที่่
แล้ว ปชป. ไม่ลงเลือกตั้ง ในสภา พท. ก็เกินครึ่งอยู่ดี.. เพราะ 109 +111 กลับมาแล้ว ตัวสำรองอาจถอยออกไป..
อีกอย่าง ปชป. เท่าที่ฟัง ประธาน ปปช. ก็บอกว่า ต้องทำตามขั้นตอน เชิญผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล ผมว่าเลือกตั้งเสร็จก่อนแน่นอน
ตามมาตรฐาน ปปช.
ดีใจที่เสือเมา มา ควายแดง เยอะจนน่าเบื่อ เสื้อแดงอย่างเสือเมาน่าคุยกว่าเยอะ ยังมีเรื่องที่ต้องห่วงอยู่เรื่องหนึ่งนะ เรื่องที่ สว.ยื่นยุบพรรคเผาไทย ในกรณีแถลงการณ์ไม่รับอำนาจศาลรัฐธรรมนูณ เรื่องนี้ สว. ยื่นไปแล้ว และน่าจะได้ หลักฐาน ที่่ หัวหน้าพรรคเผาไทยรับกลางสภาว่าทำในนามหัวหน้าพรรค โดน ยุบระหว่างเลือกตั้ง มันคงไม่ดีนะ เดี๋ยวผมกลัวควายจะไล่ขวิด ศาล อีก
อีกเรื่อง เห็นคัดค้าน ระบอบ สุเทพ ผมก้ไม่เข้าใจว่าเป็นยังไง แ่ต่ผมถามหน่อยดิ ว่า เห็นด้วยไหม กับ การมีกฏหมายคดี คอรัปชั่นไม่มีอายุความ
ปฏิรูปผมเห็นด้วยครับ.. มันต้องรวมไปถีงแก้ระบบภาษี ความเหลื่อมล้ำกันทางสังคม.. กฏหมายคดี คอรัปชั่นไม่มีอายุความ ก็ไม่มีปัญหา
- คนที่มาทำต้องไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น ปปกส. ทำฝ่ายเดียว หรือรัฐบาล ทำฝ่ายเดียวไม่ได้ ต้องทำคล้ายกับการร่างรัฐธรรมนูญปี 40 ให้มีส่วนร่วมกันทั้งหมด
- ถ้าทำอะไรก็ได้ ต้องคงใว้ ว่าต้อง 1 คน 1 เสียง อันนี้เชื่อว่าคงไม่มีทางเป็นต่างไปจากนี้
- คัดค้านระบบสุเทพ.. คือสุเทพ ตั้งสภาประชาชน.. ตอนนี้ยังไม่ชัดว่า 100 คน และ 300 คนที่ว่านั้น เมื่อทำได้จริงจะกลายเป็นว่า
ยก สนช. มาทั้งกะบิ... มันก็ไม่ต่างอะไรกับ รัฐประหารเมือปี 2549
ที่บอกให้ร่วมกันทำ ผมว่ายังไงก็ไม่ได้ แค่องค์กร ต่อต้านคอรัปชั่น เสนอให้ออกกกหมายหยุดนับ อายุความคดีคอรัปชั่น ถ้าผุ้ต้องหาหลบหนีคดีไปต่างประเทศตั้งกี่ครั้ง ยังไม่ได้เข้าในสภาแม้แต่วาระ 1 จะเอากฏหมายนี้จากนักการเมือง รัฐบาล เพื่อไทย หรือรัฐบาล พรรคร่วมปชป. ชาตินี้ ตายไปอีก 10 ชาติก็ไม่ได้เห็น นักการเมืองมันก้เอาแต่ประโยนชื ของ ตัว มากน้อยก็ขึ้นอยุ่กับความหน้าด้าน ถ้าได้ฟังกำนันพูด แกเชิญเสื้อแดง มาร่วมในสภา ประชาชน แต่ขอเว้นไว้ 3 ตัว และที่สำคัญแกจะไม่ยุ่ง ไม่มีผู้เป็นนักการเมืองเข้าไปยุ่งเกียวถ้าในมีหน้าที่ออกกฏหมายอย่างเดียว ล่ะ 300 เลือกจากคนในองค์กรสาขาวิชาชีพ 100 สรรหา ถ้านักการเมือง มันรับเรื่องแค่นี้ไม่ได้ ก็อย่าเข้ามาเป็นเลย เพราะ จะเข้ามาหาประโยชน์อย่างเดียว
Edited by ter162525, 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 17:15.
#63
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 17:18
ส่วนเรื่องยุบพรรค ถีงวันนี้ คงไม่มีผลกับ พท. แล้ว กลับกันมาเต็มพรรค เหมือนเดิมแล้ว
เห็นข่าว จำไม่ได้แล้วว่าแหล่งข่าวจากไหน แต่มีคนบอกว่า สิทธิที่ได้คืนมาเป็นแค่สิทธิทางการเมือง หมายถึงสิทธิในการลงคะแนนเสียงเสือกตั้ง แต่สิทธิ์ในการเป็น สส. ไม่มีแล้ว
สนับสนุน กปปส.
#64
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 17:29
ส่วนเรื่องยุบพรรค ถีงวันนี้ คงไม่มีผลกับ พท. แล้ว กลับกันมาเต็มพรรค เหมือนเดิมแล้ว
เห็นข่าว จำไม่ได้แล้วว่าแหล่งข่าวจากไหน แต่มีคนบอกว่า สิทธิที่ได้คืนมาเป็นแค่สิทธิทางการเมือง หมายถึงสิทธิในการลงคะแนนเสียงเสือกตั้ง แต่สิทธิ์ในการเป็น สส. ไม่มีแล้ว
คงไม่ใช่ เสธ. หนั่น ก็เคยโดน ก็กลับมาได้
#65
ตอบ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 17:59
http://www.oknation..../12/17/entry-22
“ไพศาล” เตือนนักการเมืองกลุ่ม 111-109 ลงสมัครรับเลือกตั้ง ส.ส.ไม่ได้
http://www.paisalvis...111-109---.html
นายไพศาล พืชมงคล อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ให้ความเห็นกับสื่อมวลชนเมื่อบ่ายวันนี้ว่า นักการเมืองกลุ่ม 111-109 ที่เคยถูกศาลรัฐธรรมนูญเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งไม่สามารถลงสมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส.ได้ ชี้กำหนดการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี มีผลเฉพาะสิทธิเลือกตั้ง ไม่มีผลถึงคุณสมบัติการเป็นสมาชิกพรรคและผู้สมัครรับเลือกตั้ง
นายไพศาล พืชมงคล กล่าวว่าขณะนี้มีรายงานข่าวว่านักการเมืองกลุ่ม 111-109 ซึ่งพ้นกำหนดที่ศาลรัฐธรรมนูญเคยพิพากษาตัดสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี กำลังจะแห่ลงสมัครรับเลือกตั้งครั้งใหม่ ซึ่งมีปัญหาว่าคนเหล่านี้จะสมัครเป็นผู้แทนราษฎรได้หรือไม่
นายไพศาล พืชมงคล กล่าวว่านักการเมืองกลุ่ม 111 และ 109 ล้วนเป็นผู้บริหารพรรคการเมือง ซึ่งถูกศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นอันตรายต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จึงได้พิพากษาให้ยุบพรรคการเมืองและให้เพิกถอนสิทธิเลือกตั้งกรรมการบริหารเหล่านั้นเป็นเวลา 5 ปี การเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งเป็นคนละเรื่องกับคุณสมบัติการเป็นสมาชิกพรรคการเมือง เป็นคนละเรื่องกับคุณสมบัติกับผู้สมัครรับเลือกตั้ง เป็นคนละเรื่องกับคุณสมบัติของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง คือตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี
นายไพศาล พืชมงคล กล่าวว่า กำหนดระยะเวลา 5 ปีที่ศาลรัฐธรรมนูญเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งนั้นทำให้บุคคลเหล่านี้มีสิทธิเลือกตั้งคือมีสิทธิไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และมีหน้าที่ต้องไปเลือกตั้งด้วย เมื่อครบกำหนด 5 ปีตามที่ศาลรัฐธรรมนูญเพิกถอนก็สามารถใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้งได้ แต่คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ว่าเป็นกรรมการบริหารพรรคการเมืองที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ และเป็นอันตรายต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้นมีผลผูกพันตลอดไป ดังนั้นแม้เมื่อพ้นกำหนดเวลา 5 ปีที่ถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งแล้ว บุคคลเหล่านี้ก็ยังเป็นบุคคลที่ต้องคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญว่าเป็นกรรมการบริหารพรรคการเมืองที่เป็นภัยต่อความมั่นคงชาติ และเป็นอันตรายต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข จึงขาดคุณสมบัติที่จะเป็นสมาชิกพรรคการเมือง ไม่มีคุณสมบัติที่จะลงสมัครรับเลือกตั้งและไม่มีคุณสมบัติที่จะดำรงตำแหน่งทางการเมือง เพราะเบื้องต้นนั้น การเป็นสมาชิกพรรคการเมืองก็ดี การเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งก็ดี หรือจะดำรงตำแหน่งทางการเมืองก็ดี ต้องเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติสำคัญคือ เป็นผู้ศรัทธาเลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และไม่เป็นพิษเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติด้วย
นายไพศาล พืชมงคล กล่าวอีกว่าถ้าขืนดึงดันไปสมัครรับเลือกตั้ง พรรคการเมืองที่ให้คนเหล่านี้ลงสมัครก็ดี กรรมการบริหารพรรคนั้นก็ดี และ กกต.ก็ดี จะต้องรับผิดชอบ ทั้งนี้ผู้เกี่ยวข้องอาจร้องขอต่อนายทะเบียนพรรคการเมืองให้มีคำสั่งไม่รับสมัครหรือเพิกถอนการรับสมัครได้ และถ้าสงสัยก็อาจร้องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญอธิบายคำวินิจฉัยว่ากำหนดระยะเวลา 5 ปี มีผลไปถึงความเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติและความเป็นอันตรายต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขหรือไม่ อย่างไรก็ดี คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่วินิจฉัยแล้วมีผลผูกพัน
- แสนคำนึง นลินกุลเศฐ likes this
สนับสนุน กปปส.
#66
ตอบ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 07:31
เหตุผลประกอบการตัดสินใจปชป.'ลง'หรือ'ไม่ลง'สนามเลือกตั้ง! : สมฤทัย ทรัพย์สมบูรณ์ สำนักข่าวเนชั่นรายงาน
สถานการณ์ของพรรคประชาธิปัตย์ตอนนี้ ตรงกับสำนวนภาษาอังกฤษ ว่า "Damned if you do, damned if you don't." คือ ไม่ว่าจะทำอย่างไร ก็มีปัญหาทั้งนั้น ซึ่งหมายถึงการตัดสินใจว่าจะส่งผู้สมัครลงเลือกตั้งหรือไม่
"เป็นเรื่องที่น่าหนักใจที่สุด เพราะเจ็บทุกทาง (ไม่ว่าจะตัดสินใจอย่างไร)" เป็นเสียงที่สะท้อนสถานการณ์ "ลำบาก" ของพรรคประชาธิปัตย์ จากปากของ "อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ" หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์จะเรียกประชุมกรรมการบริหารพรรคชุดใหม่ กรรมการบริหารพรรคชุดเก่า และอดีต ส.ส.ของพรรคในวันเสาร์นี้ (21 ธ.ค.) เพื่อตัดสินใจว่าจะส่งผู้สมัครหรือไม่ หากมีการตัดสินใจก็จะเป็นการตัดสินใจล่วงหน้าเพียง 2 วัน ก่อนที่คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) จะเปิดรับสมัคร ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อในวันแรก คือ วันจันทร์ (23 ธ.ค.) ตอกย้ำให้เห็นถึงความยากลำบากในการตัดสินใจ จนต้องตัดสินใจกันในวินาทีสุดท้าย
แต่ก็มีความเป็นไปได้เช่นเดียวกันว่า พรรคประชาธิปัตย์อาจจะยังไม่ตัดสินใจในวันเสาร์ เพื่อรอดูสถานการณ์การแสดงพลังของ "มวลมหาประชาชน" ที่นายสุเทพ เทือกสุบรรณ เลขาธิการคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) นัดในบ่ายวันอาทิตย์ และเพื่อรอดูว่า การเปิดรับสมัคร ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อวันแรกในวันจันทร์ (23 ธ.ค.) จะสามารถดำเนินการได้หรือไม่ จะมีมวลชนไปปิดล้อมสถานที่สมัครหรือไม่ ทั้งนี้ กกต.จะเปิดรับสมัครเป็นเวลา 5 วัน คือ ถึงวันศุกร์ที่ 27 ธันวาคมนี้ จึงยังมีเวลา "ยื้อ" การตัดสินใจออกไปได้
หากไปถามคนในพรรคประชาธิปัตย์ตอนนี้ ว่า คิดว่าพรรคจะส่งผู้สมัครหรือไม่ คำตอบที่ได้จากแทบทุกคนคือ "ยัง 50-50 ยังไม่รู้ว่า สุดท้ายพรรคจะตัดสินใจอย่างไร รู้แต่ว่าเป็นการตัดสินใจที่ยากจริงๆ"
ถึงแม้ตอนนี้จุดยืนของพรรคประชาธิปัตย์ที่แสดงออกมาจะใกล้เคียงกับของกลุ่ม กปปส. คือ ต้องการให้เลื่อนการเลือกตั้งออกไป ต้องการให้ปฏิรูปก่อนการเลือกตั้ง แต่ก็ยังไม่ได้รับการตอบรับจากฝ่ายรัฐบาล ซึ่งตราบใดที่ยังไม่มีการเลื่อนการเลือกตั้ง พรรคประชาธิปัตย์ก็ต้องตัดสินใจก่อนว่าจะส่งผู้สมัครหรือไม่ (ส่วนจะมีการเลือกตั้งหรือไม่ นั่นเป็นอีกเรื่อง)
ถามว่า หากพรรคจะตัดสินใจส่ง หรือไม่ส่งผู้สมัคร จะมีเหตุผลประกอบการตัดสินใจอย่างไรบ้าง?
1.พรรคประชาธิปัตย์เป็นพรรคที่แสดงตัวว่า "ยึดมั่นในระบบรัฐสภา" มาตลอด หากไม่ส่งผู้สมัครลงเลือกตั้งจึงอธิบายได้ "ยากกว่า" การอธิบายเหตุผลในการส่งผู้สมัคร และคีย์แมนคนสำคัญอย่าง "ชวน หลีกภัย" ประธานสภาที่ปรึกษาพรรค ซึ่งเป็นผู้ยึดมั่นใน "หลักการ" คงไม่เห็นด้วยที่จะให้บอยคอตการเลือกตั้ง จากก่อนหน้านี้ก็ไม่เห็นด้วยกับการให้ ส.ส.ทั้งพรรคลาออก โดยคน ปชป.กลุ่มนี้เห็นว่า บทบาท ส.ส.ในสภามีความจำเป็น หากไม่มี ส.ส.ในสภายิ่งจะทำให้ทำหน้าที่ตรวจสอบได้ลำบาก
2.การตัดสินใจครั้งนี้จะเป็นการบอกถึงอนาคตทางการเมืองของ "อภิสิทธิ์" ด้วยเช่นกัน หลังจากที่เขา "รับ" ตำแหน่ง "หัวหน้าพรรค" ต่อเป็นสมัยที่ 4 ซึ่งมีคนมองกันว่า หากอภิสิทธิ์ตัดสินใจไม่ส่งผู้สมัครลงเลือกตั้งก็อาจจะหมายถึงการตัดสินใจ "เลิกเล่นการเมือง" ด้วย ถ้าตัดสินใจอย่างนั้น ไม่จำเป็นต้องมารับตำแหน่งหัวหน้าพรรคอีก
3.การตัดสินใจของพรรคครั้งนี้ อาจจะทำให้เห็นว่า ใครคือ "หัวหน้าพรรคตัวจริง" ของพรรคนี้ จากที่ก่อนหน้านี้มีการมองกันว่า แม้นายสุเทพจะไม่ได้เป็น "เลขาธิการพรรค" แต่เขายังคงมีอิทธิพลชี้เป็นชี้ตายให้พรรค และวันนี้ แม้นายสุเทพจะประกาศแยกทางกับพรรคแล้ว แต่ความจริงยังมี (อดีต) ส.ส.ในพรรคจำนวนไม่น้อยยังขึ้นตรงกับนายสุเทพ ที่ชัดเจนที่สุดคือ อดีต ส.ส.สุราษฎร์ธานี ที่เมื่อวันพุธพากันมาแถลงจุดยืนว่าจะไม่ลงสมัคร ส.ส.
4.ถ้า ปชป.ตัดสินใจลงเลือกตั้ง ประชาชนโดยเฉพาะมวลชนที่ออกมาเคลื่อนไหวกับนายสุเทพจะว่าอย่างไร ซึ่งมีความกังวลกันว่า หาก ปชป.ลงเลือกตั้ง คงได้คะแนนน้อยลง เพราะนายสุเทพจะรณรงค์ให้คนไปโหวต "ไม่เลือกใคร" (vote no) หรืออาจจะชวนให้ "ไม่ไปใช้สิทธิ" (no vote)
จากการสอบถาม "คนเมือง" ที่ออกมาร่วมแสดงพลังกับ "กำนันสุเทพ" ในนัดสำคัญๆ และแสดงจุดยืนว่า ต้องการให้มีการปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง ว่า หากมีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ และพรรคประชาธิปัตย์ลงสมัครรับเลือกตั้ง 1.พวกเขาจะไปเลือกตั้งหรือไม่ 2.จะเลือก ปชป.หรือไม่
ตัวอย่างคำตอบที่ได้ ดังนี้
รายที่ 1 : "ถ้าไม่มีพรรคทางเลือกใหม่ๆ ที่ดีกว่า และฐานเสียงมากพอที่จะทำให้ชนะเพื่อไทยได้ ก็คงตัดสินใจเลือก ปชป."
รายที่ 2 : "ถ้าจัดเลือกตั้งจริง ก็ต้องไปเลือก ปชป. เพื่อรักษาสิทธิ ไม่งั้นเพื่อไทยจะยิ่งได้คะแนนเยอะ"
รายที่ 3 : "ไปเลือก ปชป. แม้จะขัดใจ แต่ก็ต้องเลือกเพื่อกันเพื่อไทย"
รายที่ 4 : "ถ้า ปชป.ลงเลือกตั้งก็ต้องดูเหตุผลว่า เพราะอะไร ที่ผ่านมาก็เลือก ปชป.มาตลอด ตอนนี้ยังไม่ตัดสินใจ แต่ถ้าถึงวันนั้นจริงๆ ก็อาจจะต้องไปเลือก ปชป. เพราะถ้าไม่เลือก ปชป.ก็คงไม่เลือกใคร"
รายที่ 5 : "ต้องไปใช้สิทธิ เพื่อไม่ให้ถูกตัดสิทธิ แต่จะไม่เลือกใคร จะไปโหวตโน"
อย่างไรก็ตาม บางคนในประชาธิปัตย์เชื่อว่า หากมีการเลือกตั้งในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ และพรรคประชาธิปัตย์ลงเลือกตั้ง จะเกิดปรากฏการณ์เหมือนๆ กับการเลือกตั้ง "ผู้ว่าฯ กทม." ครั้งที่ผ่านมา คือ สุดท้ายคนก็จะออกไปเลือกประชาธิปัตย์ เพราะไม่ต้องการให้เพื่อไทยได้รับเลือกตั้ง แม้ว่าจะไม่พอใจประชาธิปัตย์อยู่บ้างก็ตาม แต่เมื่อจำเป็นต้องเลือกก็จะเลือกประชาธิปัตย์
5.สถานการณ์วันนี้ต่างจากเมื่อการเลือกตั้ง 2 เมษายน 2549 ที่พรรคประชาธิปัตย์บอยคอตการเลือกตั้ง เพราะ 1.ครั้งนั้นนอกจากพรรคประชาธิปัตย์แล้ว พรรคการเมืองหลักพรรคอื่นก็ยังร่วมบอยคอตด้วย แต่ครั้งนี้จะมีเพียงพรรคประชาธิปัตย์เท่านั้นที่บอยคอต 2.ครั้งนั้นเป็นการรีบจัดการเลือกตั้งในระยะเวลาอันสั้นไม่ถึง 40 วัน (ยุบสภา 24 ก.พ. เลือกตั้ง 2 เม.ย.) เมื่อมีการบอยคอตจึงทำให้เกิดปัญหาเรื่องความชอบธรรมมากขึ้น แต่ครั้งนี้มีเวลาเกือบ 60 วัน
6.ต้องมีการ "ปฏิรูปประเทศก่อนเลือกตั้ง" เพราะจากสถานการณ์ความขัดแย้งในปัจจุบัน การเลือกตั้งไม่ใช่ทางออกในการแก้ไขปัญหาของประเทศ หลังการเลือกตั้งความขัดแย้งก็ยังอยู่ ดังนั้นจึงต้องมีการปฏิรูปประเทศก่อนเพื่อวางกฎเกณฑ์กติกากันใหม่ แล้วค่อยเลือกตั้ง
7.รัฐบาลขาดความชอบธรรมที่จะดำรงตำแหน่งทางการเมืองต่อไป จึงไม่สมควรที่จะดำรงตำแหน่งรัฐบาลรักษาการ เพราะจะทำให้การเลือกตั้งที่เกิดขึ้นไม่มีความเป็นกลางและอาจก่อให้เกิดการทุจริต ส่งผลให้การเลือกตั้งไม่บริสุทธิ์ยุติธรรม
ถึงที่สุด ไม่ว่าพรรคประชาธิปัตย์จะตัดสินใจไปทางไหน ก็ต้องอธิบายเหตุผลให้ดี ซึ่งเหตุผลที่ดีที่สุด คือ "การปฏิรูป" หากจะ "ไม่ส่ง" ผู้สมัคร ก็เพราะต้องการให้เกิดการปฏิรูปก่อนเลือกตั้ง หรือ หากจะ "ส่ง" ผู้สมัคร ก็เพื่อเข้าไปผลักดันให้เกิดการปฏิรูปภายใต้กรอบกติกา เพราะแม้จะเห็นด้วยกับแนวทาง กปปส. แต่ในทางปฏิบัติไม่สามารถทำได้ นั่นคือเป็นการลงรับสมัครอย่างมีเงื่อนไข ไม่ใช่แค่เดินตามเกมรัฐบาลเท่านั้น
จับตา สุดท้ายประชาธิปัตย์จะตัดสินใจอย่างไร และการตัดสินใจนั้นจะส่งผลให้ต้อง "เจ็บ" แค่ไหน จะถึงขนาดต้อง "พิการ" หรือไม่!!
.........................................
(หมายเหตุ : เหตุผลประกอบการตัดสินใจปชป.'ลง'หรือ'ไม่ลง'สนามเลือกตั้ง! : สมฤทัย ทรัพย์สมบูรณ์ สำนักข่าวเนชั่นรายงาน)
http://www.komchadlu...220/175223.html
#67
ตอบ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 07:50
ส่วนตัวผมก็ยังมองเหมือนเดิม คือ ลงก็ได้ หรือจะไม่ลงก็ได้ แต่ต้องเป็นทางเลือกที่เกิดประโยชน์มากที่สุด
ไม่ว่าปชป.จะลงเลือกตั้งหรือไม่ ก็หมายถึงต้องชุมนุมยืดเยื้อข้ามปี และรักษามวลชนให้ออกมาร่วมชุมนุมให้ได้
- ถ้ามวลชนออกมาเยอะทุกๆวัน ต่อให้พท.ได้เป็นรบ.ก็ไม่สามารถบริหารงานในกทม.ได้ อาจจะต้องจัดครม.สัญจรหนีไปเรื่อยๆ รบ.ก็อยู่อย่างไร้เสถียรภาพ
- ถ้ามวลชนออกมาน้อยลง ปชป.ก็ต้องทำม็อบยาวไป ในขณะที่คนจะน้อยลงเหมือนตอนที่อุรุพงษ์วันแรกๆ หรืออาจจะคนโหรงเหรงเหลือหน้าเวที 20 คน ถ้าเป็นแบบนี้ ปชป. ก็ต้องรับสภาพไปอีก 4 ปี แต่หลังจาก 4 ปี ปชป.จะลงเลือกตั้งก็คงลำบากเพราะทรยศมวลชน ถ้ากรณีนี้คือปชป.สูญพันธุ์
แต่ทางพท.ก็สามารถเปลี่ยนยุทธศาสตร์ได้หลายแบบ ทั้งการไม่ส่งคนตระกูลชินวัตรลงเลือกตั้ง ไปจนถึงเปิดโอกาสให้มีนายกจากพรรคทางเลือกที่สาม
ในขณะที่วันที่ 22 ธ.ค. นี้ กปปส. จะยังไม่สามารถเอาชนะรบ.รักษาการของยิ่งลักษณ์ได้ เกมคงยืดเยื้อไปถึงต้นปีหน้า ทั้งเรื่องของ ปปช. ทั้งเรื่องของ สภาปฏิรูป ประเด็นคือถ้าสู้ไม่ชนะ และการต่อสู้ยังยืดเยื้อออกไปเรื่อยๆ มวลชนจะมองว่า กปปส. แพ้ และถ้ามวลชนคิดว่าสู้แพ้ อันนี้น่ากลัว เพราะในอารมณ์คนอกหักที่หวังจะได้ทุกอย่างที่อยากได้ แต่กลับไม่ได้ มวลชนก็คงโทษว่าทุกอย่างเป็นความผิดของ ปชป. ไม่ว่า ปชป. จะลงเลือกตั้งหรือไม่ก็ตาม
#68
ตอบ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 09:10
ไม่ควรลง เพราะถ้าขาด ปชป.การเลือกตั้งไม่ชอบธรรมทันที รัฐบาลที่ได้ก็อยู่ไม่นานเกิดกลียุคอีก เพราะไม่เป็นที่ยอมรับของประชาชนทั้งภาคใต้+ภาคกลาง+ตะวันออก โดยเฉพาะปัญญาชน
#69
ตอบ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 11:02
ในประวัติศาสตร์เมืองไทย สภายุคไหนที่ไม่มีฝ่ายค้าน อยู่ได้ไม่เคยนานครับ
แรงดีดจากประชาชนมันต่างกัน ถ้ามองตรง ๆ ก็คือ
แล้วถ้าถามว่าจะมีเสื้อแดงออกมาต่อต้านนั้น บอกได้เลยว่า ยากครับถ้ามวลมหาประชาชน
ออกมาเยอะขนาดนี้
กรณีอย่างปี 53 ทำไมเสื้อแดงถึงแพ้ ไม่ใช่เพราะคนออกมาน้อย แต่ตอนแรกคนเยอะมาก
นาน ๆ ไปคนค่อย ๆ หายไปเรื่อย ๆ เพราะ เหตุผลในการชุมนุมไม่มีความสมเหตุสมผลเท่าไร
เอาง่าย ๆ ว่าเหตุผล ใครจะออกมาสู้มาเจ็บมาตาย เพื่อให้เพื่อไทยได้เป็นรัฐบาล แม้จะจ้างกัน
ตกวันนึงเกือบพันแต่ใครจะโง่มาตายเพื่อคนคนเดียว
ต่างกันมวลมหาประชาชนคนออกมาเพื่ออุดมการณ์ ไม่ใช่เพราะสุเทพ ไม่ใช่เพราะปชป
แต่ออกมาเพราะคำว่า "ประเทศชาติ" สิ่งเหล่านี้ทำให้คำว่า กลัวเจ็บ กลัวตาย
ไม่มีในความทรงจำอีกต่อไป
เสื้อแดงชุมนุมชนะ ------> ยุบสภาได้เร็วขึ้น 6 เดือน
มวลมหาประชาชนชนะ ------> คอรัปชั่นยากขึ้นโทษหนักขึ้น, ซื้อเสียงยากโทษหนักขึ้น, ได้คนที่ต้องการทำงานเพื่อชาติบ้านเมืองจริง ๆ, พวกล้มเจ้าถูกทำลาย
อย่ามาเห่าว่ากรูมาจากการเลือกตั้ง เพราะการเลือกตั้งไม่ใช่ทุกอย่างของประชาธิปไตย
การตรวจสอบบ้านเมืองอย่างเข้มข้น ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ จำเป็นสำหรับประเทศไทย
สิ่งที่บ่งบอกว่าประเทศไหนพัฒนาแล้วไม่ได้ดูที่ มีตึกสูงมากเท่าไร มีห้างเยอะไหม มีจีดีพีสูงแค่ไหน
แต่ดูที่การศึกษา และ คุณภาพของบุคลากรภายในประเทศ
#70
ตอบ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 12:11
ปัญหาลงไม่ลงนี้แหละนี้แหละที่เป็นปัญหาหนักใจของปชป.ตอนนี้
ส่วนตัวผมก็ยังมองเหมือนเดิม คือ ลงก็ได้ หรือจะไม่ลงก็ได้ แต่ต้องเป็นทางเลือกที่เกิดประโยชน์มากที่สุด
ไม่ว่าปชป.จะลงเลือกตั้งหรือไม่ ก็หมายถึงต้องชุมนุมยืดเยื้อข้ามปี และรักษามวลชนให้ออกมาร่วมชุมนุมให้ได้
- ถ้ามวลชนออกมาเยอะทุกๆวัน ต่อให้พท.ได้เป็นรบ.ก็ไม่สามารถบริหารงานในกทม.ได้ อาจจะต้องจัดครม.สัญจรหนีไปเรื่อยๆ รบ.ก็อยู่อย่างไร้เสถียรภาพ
- ถ้ามวลชนออกมาน้อยลง ปชป.ก็ต้องทำม็อบยาวไป ในขณะที่คนจะน้อยลงเหมือนตอนที่อุรุพงษ์วันแรกๆ หรืออาจจะคนโหรงเหรงเหลือหน้าเวที 20 คน ถ้าเป็นแบบนี้ ปชป. ก็ต้องรับสภาพไปอีก 4 ปี แต่หลังจาก 4 ปี ปชป.จะลงเลือกตั้งก็คงลำบากเพราะทรยศมวลชน ถ้ากรณีนี้คือปชป.สูญพันธุ์
แต่ทางพท.ก็สามารถเปลี่ยนยุทธศาสตร์ได้หลายแบบ ทั้งการไม่ส่งคนตระกูลชินวัตรลงเลือกตั้ง ไปจนถึงเปิดโอกาสให้มีนายกจากพรรคทางเลือกที่สาม
ในขณะที่วันที่ 22 ธ.ค. นี้ กปปส. จะยังไม่สามารถเอาชนะรบ.รักษาการของยิ่งลักษณ์ได้ เกมคงยืดเยื้อไปถึงต้นปีหน้า ทั้งเรื่องของ ปปช. ทั้งเรื่องของ สภาปฏิรูป ประเด็นคือถ้าสู้ไม่ชนะ และการต่อสู้ยังยืดเยื้อออกไปเรื่อยๆ มวลชนจะมองว่า กปปส. แพ้ และถ้ามวลชนคิดว่าสู้แพ้ อันนี้น่ากลัว เพราะในอารมณ์คนอกหักที่หวังจะได้ทุกอย่างที่อยากได้ แต่กลับไม่ได้ มวลชนก็คงโทษว่าทุกอย่างเป็นความผิดของ ปชป. ไม่ว่า ปชป. จะลงเลือกตั้งหรือไม่ก็ตาม
ผมพูดแบบตรง ๆ นะครับว่าผมไม่สนใจหรอกว่า ปชป มันจะได้ สส. เท่าไหร่ มันจะได้ลดลงหรือมากขึ้น เพราะ ปชป ไม่ได้เป็นญาติผู้ใหญ่ฝ่ายไหนของผมที่จะต้องไปคอยเป็นห่วง
ถ้า ปชป ลงเลือกตั้ง ตามยุทธศาสตร์ผมก็ควรเลือก ปชป เพราะเป็นตัวเลือกเดียวในขณะนี้ที่สามารถต่อสู้กับพวกไอ้แม้วได้
ถ้า ปชป ไม่ลงสมัคร ผมก็จะกาช่องไม่ลงคะแนน เพราะไม่มีประโยชน์อะไรที่จะไปเลือกกลุ่มที่ไม่มีความสามารถในการต่อสู้กับไอ้แม้ว
และโดยส่วนตัวแล้วผมคิดว่าการเคลื่อนไหวครั้งนี้ไม่มีทางแพ้ ไม่ว่าฝั่งไอ้แม้วจะงัดกลยุทธอะไรออกมาเพื่อลดกระแส แต่การกระทำตลอดเวลาที่ผ่านมาของฝ่ายไอ้แม้วเองที่ทำให้ทุกอย่างมันมาถึงจุดนี้ และผมก็ขอคาดการณ์แบบไม่มีสัญญาณอะไรมาบอกทั้งนั้นว่า นับจากนี้ไปไอ้แม้วจะไม่ได้อะไรจากประเทศไทยอีกแม้แต่บาทเดียว
Edited by Novice, 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 12:12.
#71
ตอบ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 12:18
7 นาทีที่แล้ว ·
@news1005fm: "ชวนนท์"โฆษกปชป.ยืนยัน การประชุมพรรควันนี้เพื่อตัดสินว่าจะลงเลือกตั้งหรือไม่ ยึดประโยชน์ประเทศชาติเป็นหลัก http://t.co/brPdH0LMA9
ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน