แม่มชั่วกันทั้งฝูง เดี่๋ยวก็ออกมาร้อง มอ มอ ว่า ปปชไม่มีสิทธิ์.
....ข่าวด่วน ปปช ชี้มูล ประธานสภา และ ประธานวุฒิสภา แล้วครับ
#51
ตอบ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 22:30
#52
ตอบ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 22:32
มันจะไปดูใบ ไหวม่ะ
#53
ตอบ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 07:01
อันนี้คุยหาความรู้เฉย น๊ะครับ
กรณีที่เป็นนายกรักษาการณ์ มันมีข้อกำหนดเรื่องโยกย้ายข้าราชการ
ไม่รวมถึง ครม. ด้วยหรือ
รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีคณะรัฐมนตรีรักษาการ และคณะรัฐมนตรีมันต้องมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้า ถ้านายกรัฐมนตรีเกิดตายห่าไป(อันนี้ยิ่งกว่าลาออกอีก) พวกคณะรัฐมนตรีที่เหลือก็ทำหน้าที่ต่อไปแต่เนื่องจากต้องมีหัวหน้า ไอ้พวกที่เหลือนี่แหละที่ต้องเลือกคนมาเป็นหัวหน้ากันเอง แต่มันไม่ได้ยากถึงขนาดนั้น เพราะนายกรัฐมนตรีจะแต่งตั้งรองนายกรัฐมนตรีอันดับ 1 ไว้ก่อนอยู่แล้ว
พอดีผมไปอ่านเจออันนี้เข้าหลายวันก่อน
http://www.bangkokbi...าการไม่ได้.html
แต่ถ้านายกฯและคณะรัฐมนตรีชุดนี้พากันลาออกทั้งหมด แล้วแสดงเจตจำนงให้เห็นไม่ว่าจะทำเป็นหนังสือหรือไม่ก็ได้ว่า ไม่ขอปฏิบัติหน้าที่ต่อไป อย่างนี้ก็เกิดสภาวะสูญญากาศและเปิดช่องให้มีการขอนายกฯพระราชทานตามมาตรา 7 ของรัฐธรรมนูญได้
ตัวแดง ๆ ข้างบน เค้าน่าจะหมายถึง ก่อนนายกรักษาการณ์สิ้นสภาพ
ผมว่ามันคนละเรื่องกับที่ผมสงสัย
ที่ผมสงสัย ไม่ใช่เรื่องจะใช้มาตรา 7 ได้หรือไม่ได้....นั่นก็เป็นเรื่องที่เถึยงกันไป
แต่เป็นเรื่องนายกรักษาการ ปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้ กรณีหลังถูกชีัมูลต่างหาก
"รัฐธรรมนูญไม่ได้เปิดช่องให้ตั้งใครมาเป็นนายกฯรักษาการแทนกรณีนายกฯลาออก ไม่เหมือนกรณีที่นายกฯปฎิบัติหน้าที่ไม่ได้หรือนายกฯไปต่างประเทศ ที่ พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน กำหนดให้รองนายกรัฐมนตรีอันดับ 1 หรือรองนายกฯที่ได้รับมอบหมาย
1. พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ก็ใช้ตั้งแต่ปี 2534 มีชัย ฤชุพันธุ์ก็เป็นนายกรัฐมนตรีรักษาการมาแล้ว
2. รัฐธรรมนูญมาตรา 181 ระบุว่า คณะรัฐมนตรีที่พ้นจากตำแหน่งต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจน กว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่ ซึ่งคณะรัฐมนตรี หมายถึงตัวนายกยิ่งลักษณ์ฯ ด้วย ก็ต้องปฏิบัติหน้าที่ต่อไป โดยมีอำนาจหน้าที่เหมือนคณะรัฐมนตรีจริงทุกประการเพราะไม่ใช่คณะรัฐมนตรีรักษาการ จนกว่าจะมีการเลือกตั้งเสร็จ ได้สภาชุดใหม่แล้วเลือกนายกรัฐมนตรีใหม่
แค่นี้พูดเองก็ขัดกันเองแล้วครับ
ตอบคุณ snake นิดหน่อย......ถ้าจำไม่ผิด พลอ. สุจินดา ไม่น่าจะใช่นายกรักษาการณ์
ส่วนเรื่อง เสรี สุวรรณภานนท์ นั่นก็แค่อธิบายความ ม.181 เพื่อที่จะบอกว่า กฏหมายไม่ได้เปิดช่องให้มีการแต่งตั้งรักษาการณ์ในขณะทียุบสภาไปแล้ว
สรุป...ผมก็คงต้อง กลับไป งง ๆ ....เพราะ ทั้ง มีชัย ฤชุพันธ์ กับ เสรี สุวรรณพานนท์ ต่างเป็นอดึต สสร. ก็คงไม่ได้ซี้ซั่้้วตีความกันส่งเดช
คงต้องรอให้อีโง่โดนชี้มูลก่อน
สุจินดาไม่ใช่นายกรักษาการณ์ถูกครับ เพราะเขาเป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกตั้ง เป็นที่มาของเสียสัตย์เพื่อชาติ แล้วลาออกไปในวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ต่อมาอานันท์ได้ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรีในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 มิทราบว่าระหว่างวันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 - 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 ใครเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารแทนสุจินดาครับ
มีชัย ฤชุพันธ์ กับ เสรี สุวรรณพานนท์ ต่างเป็นอดีต สสร. แต่ใครน่าเชื่อถือกว่าก็พิจารณาเอาเองนะครับ
OK ครับ
ผู้ใช้ 2 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 2 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน