Jump to content


Photo
- - - - -

ถ้า การเมือง เหมือน การ บริหารธุรกิจ คุณคิดจะเลือก ซีอีโอ แบบไหน ?


  • Please log in to reply
185 ความเห็นในกระทู้นี้

#151 อย่าหลอกตัวเอง

อย่าหลอกตัวเอง

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,850 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 10:01

แล้วนายกปูทำกำไรได้เท่าไหร่

 

เชิญบอกหน่อยสิ

   

^

^

^

^

^

จุกเลย  คำถามนี้

 

จริงๆต้องถามว่าเสียหาย/ติดลบไปเท่าไร  น่าจะเหมาะกว่านะครับ


แดงกลายพันธุ์  แดงลอยคอกลางทะเล  กำลังดิ้นเฮือกสุดท้าย  อาการจะเป็นอย่างไร  รอดูกันไปครับ


#152 ชายน้ำ

ชายน้ำ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,256 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 10:16

ผมว่าความคิดคลาดเคลื่อนมาตั้งแต่ต้นครับ

 

การบริหารประเทศไม่ได้มองแค่กำไรขาดทุน

 

วัฒนธรรม จริยธรรมของประชาชนและการรักษาอัตลักษณ์ของชาติเป็นเป้าหมายหลักของการบริหารประเทศด้วย

 

สำหรับทักษิณ สมัคร สมชายและยิ่งลักษณ์ ท่านจขกท.ให้คะแนนจุดเหล่านี้อย่างไรบ้าง



#153 Binladong

Binladong

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 534 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:03

มองยาว ๆ  ตามประสาคนกำลังจะแก่ แค่คิดก็สยิว

กำไรสุทธิ   แล้ว   ที่เป็นหนี้อยู่หักแล้วยัง ?

ความสุขมวลรวม   แล้ว   ยั่งยืนไปได้กี่วัน ?

คุณธรรมกับกำไร  หักลบกลบหนี้กันได้หรือ ?


"ถ้า คนในชาติยังไม่สำนึกว่า ความเจริญ ก้าวหน้าในปัจจุบันนี้ เกิดจากบรรพบุรุษช่วยกันสร้างสมเป็นมรดกตกทอดมา และยังขาดความรู้ความสนใจเรื่องของตัวเอง วัฒนธรรมของตนเองและสิ่งที่บรรพชนมอบให้ เท่ากับว่า ความเจริญที่เกิดขึ้นมานั้นจะไม่มั่นคงและถาวร"

พระโอวาท : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ


#154 Frank

Frank

    น้องใหม่

  • Members
  • Pip
  • 39 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:31

บังเอิญที่บริษัทที่ผมทำงาน การยักยอกเป็นการทำผิดกฏบริษัทอย่างร้ายแรง ไล่ออกสถานเดียวครับแถมอาจแจ้งความอาญาตามไปด้วยครับ แล้วกรรมการบริษัทค่อยสรรหาจ้างคนใหม่มาทำงานครับ เวลาจ้างเขาก็ไม่พิจารณาเรื่องคนโกงครับ เขาจะหาคนมีฝีมือที่จะทำความเจริญโดยไม่โกงครับ ถ้าเข้ามาแล้วโกงก็จะโดนเหมือนเดิมครับ  แต่ค่าจ้างก็ต้องสอดคล้องกับสภาพของธุรกิจนะครับ

 

ว่าแต่ตัวเลือกที่คุณให้มามันชี้นำและจำกัดไปไหมครับไม่มี CEO ที่มีจริยธรรมสักคนเลยหรือครับ?


Edited by Frank, 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:32.


#155 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:10

ผมว่าความคิดคลาดเคลื่อนมาตั้งแต่ต้นครับ

 

การบริหารประเทศไม่ได้มองแค่กำไรขาดทุน

 

วัฒนธรรม จริยธรรมของประชาชนและการรักษาอัตลักษณ์ของชาติเป็นเป้าหมายหลักของการบริหารประเทศด้วย

 

สำหรับทักษิณ สมัคร สมชายและยิ่งลักษณ์ ท่านจขกท.ให้คะแนนจุดเหล่านี้อย่างไรบ้าง

 

1 ก็คงเป็นความคิดแบบนี้ครับที่ทำให้การศึกษาของประเทศเราล้าหลัง เทียบกับสมัยเมื่อ 50 ปีก่อนครับ หลังหักลบ inflation เราใส่เงินเข้าโรงเรียนหลวงไปมากกว่าเดิมต่อเด็ก 1 คน ไม่รู้กี่เท่า แต่เหตุใดการศึกษาแย่กว่าเดิม และ ครูจนลงกว่าเดิมทั้งๆที่มีเงินเดือนใช้มากกว่าครูสมัยก่อนหลังหักค่าเงินเฟ้อแล้ว

 

ครูเสียสละตัวเองเพื่อความรู้ของเด็กๆมากมัวแต่ใช้เวลาสอนเด็กในห้องเรียน ไม่ได้ออกใช้เงินจนหนี้ของข้าราชการครูเพิ่มจนมีมูลค่าเฉลี่ยคนละ 1 ล้านบาท  => ขอโทษนะครับพอเห็นความเป็นจริงแล้วผมอยากจะสำรอก อ้างอิง http://webboard.seri...นี้ท่วมคนละล้า/

 

แล้วพวกคุณเบิ่งตาดู ทั้งๆที่งานวิจัยหลายตัวชี้ให้เห็นแล้วว่า หลวงลงทุนทางการศึกษาแล้วไม่คุ้มค่าคือใส่เงินมากขึ้นทั้งๆหักลบภาวะเงินเฟ้อแล้ว แต่เด็กโง่ลง ครูจนลง และก็ยังไม่วายจะใส่เงินเพิ่ม แล้วนี่ทำอย่างงี้มากี่ทศวรรต ถ้าเป็นธรุกิจเอกชนทำเด็กโง่ลง ครูจนลง ใครมันจะบ้ามาเรียนหรือเข้ามาขอทำงานให้ มีแต่หลวงเท่านั้นครับที่คงดำเนินธุรกิจต่อ ท่านผู้เจริญศีล เจริญธรรมทั้งหลายผมจะบอกให้ว่าถ้าเป็นเงินของพวกท่านที่ออกมาจากกระเป๋าจริงๆ ป่านนี้โรงเรียนหลวงมันปิดทั่วประเทศไปหมดแล้ว แต่นี่มันเงินไม่มีเจ้าของไง ฉันเลยไม่แคร์  

 

2 จริยธรรมของคน มันมีเครื่องหรือวิธีวัดเป็นตัวเลขได้ด้วยรึ ถ้ามันมีจริงกรุณาบอกยี่ห้อและราคา ผมจะไปซื้อมาขาย


Edited by Tom PR, 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:48.


#156 DarkSwan

DarkSwan

    Reporter Activated

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,689 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:00

จะมาบอกว่า โกงได้ ถ้ากำไรดีและแบ่งด้วยใช่มั้ยครับ เพราะใครๆ ก็โกง แสดงว่าคุณก็เป็นไอ้ขี้โกงด้วยสินะครับ


ถ้าอยากได้ความเท่าเทียม

ก็ปีนป่ายขึ้นไปให้อยู่เทียบเท่ากับคนอื่นเค้า

อย่าได้กระชากฉุดให้คนอื่นเขาลงมาตกต่ำเท่ากับตน


#157 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:13

 

ผมว่าความคิดคลาดเคลื่อนมาตั้งแต่ต้นครับ

 

การบริหารประเทศไม่ได้มองแค่กำไรขาดทุน

 

วัฒนธรรม จริยธรรมของประชาชนและการรักษาอัตลักษณ์ของชาติเป็นเป้าหมายหลักของการบริหารประเทศด้วย

 

สำหรับทักษิณ สมัคร สมชายและยิ่งลักษณ์ ท่านจขกท.ให้คะแนนจุดเหล่านี้อย่างไรบ้าง

 

1 ก็คงเป็นความคิดแบบนี้ครับที่ทำให้การศึกษาของประเทศเราล้าหลัง เทียบกับสมัยเมื่อ 50 ปีก่อนครับ หลังหักลบ inflation เราใส่เงินเข้าโรงเรียนหลวงไปมากกว่าเดิมต่อเด็ก 1 คน ไม่รู้กี่เท่า แต่เหตุใดการศึกษาแย่กว่าเดิม และ ครูจนลงกว่าเดิมทั้งๆที่มีเงินเดือนใช้มากกว่าครูสมัยก่อนหลังหักค่าเงินเฟ้อแล้ว

 

ครูเสียสละตัวเองเพื่อความรู้ของเด็กๆมากมัวแต่ใช้เวลาสอนเด็กในห้องเรียน ไม่ได้ออกใช้เงินจนหนี้ของข้าราชการครูเพิ่มจนมีมูลค่าเฉลี่ยคนละ 1 ล้านบาท  => ขอโทษนะครับพอเห็นความเป็นจริงแล้วผมอยากจะสำรอก อ้างอิง http://webboard.seri...นี้ท่วมคนละล้า/

 

แล้วพวกคุณเบิ่งตาดู ทั้งๆที่งานวิจัยหลายตัวชี้ให้เห็นแล้วว่า หลวงลงทุนทางการศึกษาแล้วไม่คุ้มค่าคือใส่เงินมากขึ้นทั้งๆหักลบภาวะเงินเฟ้อแล้ว แต่เด็กโง่ลง ครูจนลง และก็ยังไม่วายจะใส่เงินเพิ่ม แล้วนี่ทำอย่างงี้มากี่ทศวรรต ถ้าเป็นธรุกิจเอกชนทำเด็กโง่ลง ครูจนลง ใครมันจะบ้ามาเรียนหรือเข้ามาขอทำงานให้ มีแต่หลวงเท่านั้นครับที่คงดำเนินธุรกิจต่อ ท่านผู้เจริญศีล เจริญธรรมทั้งหลายผมจะบอกให้ว่าถ้าเป็นเงินของพวกท่านที่ออกมาจากกระเป๋าจริงๆ ป่านนี้โรงเรียนหลวงมันปิดทั่วประเทศไปหมดแล้ว แต่นี่มันเงินไม่มีเจ้าของไง ฉันเลยไม่แคร์  

 

2 จริยธรรมของคน มันมีเครื่องหรือวิธีวัดเป็นตัวเลขได้ด้วยรึ ถ้ามันมีจริงกรุณาบอกยี่ห้อและราคา ผมจะไปซื้อมาขาย

 

 

อยากถามคำเดียวว่า คุณรู้จักครูดีแค่ไหนมิทราบ อ้างกระทู้นั้นด้วย ทำไม เพราะมันเรื่องเงินหนี้ครู

 

หนี้ของครู ไม่ได้เกี่ยวกับการที่สอนเด็กในห้อง เลยนะ ครูมีเวลาใช้เงินพอ ๆ กับอาชีพอื่นๆ 

 

แถมยังใช้เงินเยอะกว่า ด้วย ทำไมรู้ไหม คุณรู้จัก สหกรณ์ออมทรัพย์ครู ไหม

 

ครูหลาย ๆ คนกู้เงินมาซื้อรถซื้อบ้าน ซื้ออะไรต่อมิอะไร ทำให้มันเกินตัว

 

ครูหลาย ๆ คน จบมา เอาแค่เป็นอัตราจ้าง ก้อสามารถกู้เงินจากสหกรณ์ได้แล้ว

 

อ๋อ ๆ ๆ แลว้แทนที่รัฐจะหาทางช่วยเหลือ ไม่ให้ครูเป็นหนี้เพิ่ม แต่กลับส่งเสริมให้ครูกู้นั่นกู้นี่

 

ส่วนข้อ 2 เค้าวัดกันด้านความโปร่งใส ในการทำงาน 


Edited by พอล คุง, 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:15.

ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#158 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:44

ประเด็นคือมันไม่เหมือนกันครับ การเมืองไม่เหมือนการบริหารธรุกิจ

 

ธรุกิจมีเจ้าของมีคนเดือดร้อนเวลาถูกโกง คงแปลกมาครับถ้าเจ้าของธุรกิจจับ CEO ได้ว่าโกง แต่เนื่องจาก CEO ทำกำไรให้จึงปล่อยให้โกงต่อ เจ้าของธุรกิจแบบนี้ไม่มีครับ ถ้ามีกรุณาบอกชื่อครับ ผมจะขอไปสมัครงาน หรือคิดง่ายๆจ้างเด็กเปิดร้านขายน้ำปั่น จับได้ว่าเด็กโกงแต่ยังกำไรอยู่จึงปล่อยให้เด็กโกงต่อเรื่อยๆ เจ้าของแบบนี้มันไม่มีครับ

 

ประเทศเป็นของส่วนรวม หรือ พูดง่ายๆคือมันไม่มีเจ้าของ ถ้าใครเถียงว่าประชาชนทุกคนเป็นเจ้าของ ขอให้ไปดูสภาพสาธารณะสมบัติ เช่น คุก โรงพัก โรงเรียน รถเมล์กทม อะไรก็ตามที่เป็นของหลวงมักไม่ได้รับการดูแล และการไม่ได้รับการดูแลจากเจ้าของเป็นสิ่งยืนยันว่ามันไม่มีเจ้าของ

 

ทำไมทุกรัฐบาลที่ผ่านมาตลอด 75 ปี จึงบริหารให้ประเทศขาดทุน สาเหตุก็เพราะผู้บริหารไม่ได้ใช้เงินตัวเอง และเงินหลวงไม่มีเจ้าของ จึงเป็นที่มาของคำว่าถ้าจะโกงอย่าลืมแบ่งผมด้วย เพราะโกงแล้วคิดว่าไม่มีใครเดือดร้อน

 

ในทางกลับกัน ถ้าคนที่พูดว่า "จะโกงอย่าลืมแบ่งผมด้วย" มันเป็นเจ้าของเงิน บาทเดียวมันก็ไม่ให้ใครโกง นี่คือความเป็นจริง

 

สาเหตุที่พวกคุณเถียงกันไม่จบเพราะหลายคนๆ ยอมรับความจริงข้อนี้ไม่ได้ที่ว่าของหลวงไม่มีเจ้าของ และทางแก้ทางเดียวคือลดอำนาจและความสามารถในการใช้จ่ายของรัฐบาล ผมจะบอกให้ มันเหมือนชื่อ webboard นั่นละ เสรีไทย แต่บังคับให้คนจ่ายภาษี ถ้าไม่จ่ายจะมายึดทรัพย์ นั่นมันเสรีตรงไหน พวกคุณกลับไปพิจารณา คำจัดความของสิ่งต่างๆที่ตัวเองพูดถึง ก่อนเอามาเถียงกันให้ดี

 

ของหลวงหรือเงินหลวง ทุกคนเป็นเจ้าของต่างหาก เพราะมาจากภาษีของคนทั้งประเทศ ใครจะจ่ายมากจ่ายน้อยก็แล้วแต่กำลัง

ส่วนที่คำพูดที่บอกว่า "เงินหลวงไม่มีเจ้าของ" นั้น มันเป็นคำพูดของพวกไม่ได้รับการสั่งสอนที่ถูกต้องต่างหาก

ในต่างประเทศ ของสาธารณะได้รับการดูแลและการใช้อย่างคุ้มค่า เพราะอะไรละ เพราะเค้าคิดว่า  "เงินหลวงไม่มีเจ้าของ" เหรอ ????

หรือเพราะเค้าได้รับการปลูกฝังที่ถูกต้องว่า "ของหลวงหรือเงินหลวง ทุกคนเป็นเจ้าของ" จึงต้องได้รับการดูแลร่วมกัน

เพราะ "สามัญสำนึก" ที่แตกต่างกันแบบนี้ละ ทำให้โลกนี้จึงต้องแบ่งแยกเป็น "ประเทศที่พัฒนาแล้ว" และ "ประเทศที่ยังไม่ได้พัฒนา"


เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#159 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:38

 

ผมว่าความคิดคลาดเคลื่อนมาตั้งแต่ต้นครับ

 

การบริหารประเทศไม่ได้มองแค่กำไรขาดทุน

 

วัฒนธรรม จริยธรรมของประชาชนและการรักษาอัตลักษณ์ของชาติเป็นเป้าหมายหลักของการบริหารประเทศด้วย

 

สำหรับทักษิณ สมัคร สมชายและยิ่งลักษณ์ ท่านจขกท.ให้คะแนนจุดเหล่านี้อย่างไรบ้าง

 

1 ก็คงเป็นความคิดแบบนี้ครับที่ทำให้การศึกษาของประเทศเราล้าหลัง เทียบกับสมัยเมื่อ 50 ปีก่อนครับ หลังหักลบ inflation เราใส่เงินเข้าโรงเรียนหลวงไปมากกว่าเดิมต่อเด็ก 1 คน ไม่รู้กี่เท่า แต่เหตุใดการศึกษาแย่กว่าเดิม และ ครูจนลงกว่าเดิมทั้งๆที่มีเงินเดือนใช้มากกว่าครูสมัยก่อนหลังหักค่าเงินเฟ้อแล้ว

 

ครูเสียสละตัวเองเพื่อความรู้ของเด็กๆมากมัวแต่ใช้เวลาสอนเด็กในห้องเรียน ไม่ได้ออกใช้เงินจนหนี้ของข้าราชการครูเพิ่มจนมีมูลค่าเฉลี่ยคนละ 1 ล้านบาท  => ขอโทษนะครับพอเห็นความเป็นจริงแล้วผมอยากจะสำรอก อ้างอิง http://webboard.seri...นี้ท่วมคนละล้า/

 

แล้วพวกคุณเบิ่งตาดู ทั้งๆที่งานวิจัยหลายตัวชี้ให้เห็นแล้วว่า หลวงลงทุนทางการศึกษาแล้วไม่คุ้มค่าคือใส่เงินมากขึ้นทั้งๆหักลบภาวะเงินเฟ้อแล้ว แต่เด็กโง่ลง ครูจนลง และก็ยังไม่วายจะใส่เงินเพิ่ม แล้วนี่ทำอย่างงี้มากี่ทศวรรต ถ้าเป็นธรุกิจเอกชนทำเด็กโง่ลง ครูจนลง ใครมันจะบ้ามาเรียนหรือเข้ามาขอทำงานให้ มีแต่หลวงเท่านั้นครับที่คงดำเนินธุรกิจต่อ ท่านผู้เจริญศีล เจริญธรรมทั้งหลายผมจะบอกให้ว่าถ้าเป็นเงินของพวกท่านที่ออกมาจากกระเป๋าจริงๆ ป่านนี้โรงเรียนหลวงมันปิดทั่วประเทศไปหมดแล้ว แต่นี่มันเงินไม่มีเจ้าของไง ฉันเลยไม่แคร์  

 

2 จริยธรรมของคน มันมีเครื่องหรือวิธีวัดเป็นตัวเลขได้ด้วยรึ ถ้ามันมีจริงกรุณาบอกยี่ห้อและราคา ผมจะไปซื้อมาขาย

 

 

การศีกษาไทยที่ย่ำแย่อยู่ทุกวันนี้ ไม่เกี่ยวกับการใช้งบมากหรือน้อยเลย เป็นเพราะนโยบายการศึกษา Here-Ha อะไรไม่รู้จากกระทรวงการศึกษา โดยแนวคิดของพวก "ลิเบอร์รัล วอนนาบี" ในกระทรวงนั้นละ

(ความหมายของคำว่า "ลิเบอร์รัล วอนนาบี" ขอให้ไปดูในเพจนี้ อธิบายได้ตรงที่สุดแล้ว https://www.facebook.com/tobedin )

หลักการปัญญาอ่อน คือว่า 

1. ห้ามลงโทษเด็ก 

2. ห้ามเด็กซ้ำชั้น ทุกคนต้องเรียนจบ

โดยใช้เหตุผลว่า "เพื่อลดความเครียดของเด็ก" 

 

เอาข้อแรกก่อน "ห้ามลงโทษเด็ก" หลักการมันจะใช้ได้ในกรณีจารีตของสังคมที่เข้มแข็ง เช่นในประเทศญี่ปุ่น คุณครูไม่ตีเด็ก เรียกมาตักเตือน ถ้าเด็กไม่ทำตาม พรุ่งนี้เช้ารับรองเพื่อนทั้งห้องไม่คบแน่นอน

ดังนั้นเมื่อโดนจารีตสังคมลงโทษแบบนี้ เด็กจึงจำเป็นต้องปรับตัวเอง เพื่อการอยู่รอดในสังคม กฏระเบียบและจารีตของสังคมจะถูกซึมซับเข้าไปโดยอัตโนมัติ

แต่ประเทศไทย สภาพความเข้มแข็งของจารีตสังคมไม่แข็งแกร่งขนาดนั้น การเอาลอกเอาหลักการบางอย่างมาใช้ โดยไม่เข้าใจสภาพตัวเอง ถือเป็นความ idiot อย่างร้ายแรงของการศึกษาบ้านเรา

โดยความคิดผมเชื่อว่า "ไม่มีใครเข้าใจคนไทยได้มากกว่าคนไทยด้วยกันเอง" สุภาษิตต่างๆ ที่ตกทอดมาในแต่ละสังคมนั้นละ คือตัวสะท้อนถึงความคิดตกผลึกที่สังคมนั้นได้เรียนรู้และสรุปเป็นบทเรียน

นิทานเรื่อง "พ่อแม่รังแกฉัน" และสุภาษิต "รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี" หรือ "ไม้เรียวสร้างชาติ" นั้นละคือ ความคิดตกผลึกที่สังคมไทยได้เรียนรู้และสรุปบทเรียนมาแล้วจากอดีต

แต่พวก "ลิเบอร์รัล วอนนาบี" ในกระทรวงการศึกษา ได้ไปเห็นแบบอย่างจากต่างประเทศแล้วเอามาใช้ทั้งดุ้น โดยไม่ได้มองสังคมตัวเอง ผลจึงออกมาเละเทะแบบนี้ไงละ

 

ข้อสอง "ห้ามเด็กซ้ำชั้น ทุกคนต้องเรียนจบ" หลักการก็ขัดกับกฏธรรมชาติอยู่แล้ว เปรียบห้องเรียนเหมือนสภาพแวดล้อมในธรรมชาติ ตามกฏธรรมชาติของดาร์วิน "สิ่งมีชีวิตที่ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมได้ จึงจะมีสิทธิอยู่รอด"

เด็กที่ปรับเข้ากับการเรียนการสอนไม่ได้ก็จะไม่มีสิทธิอยู่รอด ดังนั้นเพื่อการอยู่รอด เด็กจึงต้องปรับตัวเข้ากับวิธีการสอนและมีความสามารถพื้นฐานที่จะเอาตัวรอดในแต่ละระดับชั้นต่อไป

ดังนั้นการ "ห้ามเด็กซ้ำชั้น" คือ การที่มีความสามารถพื้นฐานที่จะเอาตัวรอดในแต่ละระดับชั้นไม่เพียงพอก็สามารถไปต่อได้ โดยที่พื้นฐานไม่มั่นคง

ถ้าเป็นวงการแพทย์ที่ผมอยู่ ถ้าใช้ระบบนี้ ก็หมายความว่า ทุกคนที่เข้ามาเรียนต้องจบโดยไม่ต้องมีความสามารถที่เพียงพอก็ได้

ผมละอยากให้พวก "ลิเบอร์รัล วอนนาบี" ในกระทรวงการศึกษา ได้รับการรักษาโดยแพทย์ที่จบมาแบบ "ห้ามเด็กซ้ำชั้น ทุกคนต้องเรียนจบ" บ้างจัง

ผมอยากจะรู้ว่าผ่านไปซัก 5 ปี พวก "ลิเบอร์รัล วอนนาบี" ในกระทรวงการศึกษา มันจะเหลือจำนวนถึง 10% ของจำนวนเดิมหรือเปล่า

พวกนั้นอาจจะอ้างได้พวกแพทย์ต้องรับผิดชอบชีวิตคน ดังนั้นต้องมีการเรียนการสอนที่แตกต่างออกไป 

ผมละอยากสวนกลับจริงๆ เด็กที่เมิงเอาอะไรก็ไม่รู้ยัดหัวไปนั้นนะ ก็ต้องรับผิดชอบความรุ่งเรืองหรือล่มจมของชาติด้วยนะโว๊ย

แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น โดยส่วนตัว ผมเห็นว่าระบบการเรียนการศึกษาควรมีหลากหลายระบบ เพราะบางคนจะปรับตัวเข้ากับการศึกษาในแต่ละแบบได้ไม่เท่าเทียมกัน 


Edited by Ricebeanoil, 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:45.

เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#160 SINANJU

SINANJU

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 683 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 20:48

เอาไปดูเลยครับ โคตรเก่งของพวกเสื้อแดงแต่โกงทำงานรวดเร็วได้แบบนี้

 

http://www.matichon....&catid

ชาวกาฬสินธุ์โวยโครงการบาดาลแก้แล้ง"ปลอดประสพ" เปิดใช้แค่ 2 อาทิตย์พัง น้ำกร่อย มีสนิม ใช้การไม่ได้

#161 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:15

ถึงคุณ ricebenoil (ข้อความด้านล่างอาจหยาบคายสักนิด แต่ผมต้องทำเพื่อชี้จุดให้ชัดเจน)

 

กรุณาเบิงตาดูให้ดีๆ หรือถ้ายังมองไม่เห็นผมจะช่วยแหกให้ดูว่าสภาพสาธารณะสมบัติมันเป็นเยี่ยงไร ของที่บอกว่ามันเป็นของทุกคนเช่น คุก โรงพยาบาล โรงพัก โรงเรียน รถเมล์หลวง ถนน มันเก่าผุพังหลังจากที่สร้างเสร็จไม่กี่ปี ขอถามหน่อยทำไมมันเป็นเช่นนั้น อย่าบอกนะว่าหนูไม่รู้ รถเมล์หลวงมันเป็นของทุกคนทำไมมันถึงได้เละเทะ ทำไมทุกคน (ตัวคุณ) ไม่เอาไปซ่อมละครับ ผมจะบอกให้ในทางกลับกันถ้ามันเป็นรถของคุณครับแค่มีรอยแมวข่วนก็คงนอนไม่หลับ ต้องวิ่งเอารถเข้าอู่แล้ว กรุณาอย่าปากดีให้ผมสำรอก การที่มันไม่มีคนดูแลนั่นละครับคือสิ่งที่ชี้ว่าของหลวงมันไม่มีเจ้าของ

 

ผม ไม่ใช่ liberal ไม่ใช่ conservative พูดไรมาผมผมไม่รุ้เรื่อง ผมเป็น libertarian ถ้าไม่รู้จักว่า libertarian คืออะไรกรุณาอ่านหนังสือหรือเปิด wikipedia ก่อนมาคุย ไม่งั้นเถียงกันไม่รู้เรื่อง

 

ประเด็นที่ผมพูดอยู่คือ ต้องลดการใช้เงินของรัฐบาล มันเข้าไปจะได้โกงไม่ได้ พวกคุณรอคนดี ตายไปไม่รู้กี่สิบชาติกว่าจะผ่านมา 1 คน

 

ถ้า พูดถึงในเรื่องการศึกษารัฐบาลต้องปล่อยให้โรงเรียนหลวงมีการแข่งขัน โดยเอาเงินไปไว้กับพ่อแม่ ผ่านสิ่งที่เรียกว่าตั๋วการศึกษา (school voucher ถ้าไม่รู้จักแนะนำให้อ่านก่อนว่ามันคืออะไร) เงินเดือนครูเอาไปหารแบ่งกันเองตามปริมาณนักศึกษา ที่ไหนไม่มีคนอยากเข้าเรียน ต้องถูกยุบหรือจะไม่ยุบก็ได้แต่เงินเดือนได้เท่ากับปริมาณนักเรียนนะ นั่นคือลดค่าใช้จ่าย

 

เงินภาษีเก็บให้มันน้อยลงหรือเท่าเดิมก็ได้แต่ต้องเอามาหารแบ่งแจกเลย เพราะไม่ต้องเอาไปเลี้ยงโรงเรียนห่วยๆแล้ว ไม่ต้องเอาไปให้นักการเมืองมาโกงใช้เล่นแล้ว พ่อแม่อยากจะทำอะไรกับเงินนั่นจะเอาเข้าแบ้ง ลงทุน หรือเที่ยวโสเภณี สบายครับแล้วแต่ตัวเองพิจารณา (เสรีไทย)

 

ผมไม่ได้คิดว่าตัวเองวิเศษวิดสกว่าชาวบ้าน ให้ตัวชาวบ้านตัดสินใจว่าตัวเองจะใช้เงินอย่างไรดีกว่าครับ เพราะเท่าที่ผ่านมาพอนักการเมืองตัดสินใจให้ทีไร ค่า commission มันแพงดีจริงๆ


Edited by Tom PR, 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:19.


#162 kanokporn

kanokporn

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,330 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:39

ถึงคุณ ricebenoil (ข้อความด้านล่างอาจหยาบคายสักนิด แต่ผมต้องทำเพื่อชี้จุดให้ชัดเจน)

 

กรุณาเบิงตาดูให้ดีๆ หรือถ้ายังมองไม่เห็นผมจะช่วยแหกให้ดูว่าสภาพสาธารณะสมบัติมันเป็นเยี่ยงไร ของที่บอกว่ามันเป็นของทุกคนเช่น คุก โรงพยาบาล โรงพัก โรงเรียน รถเมล์หลวง ถนน มันเก่าผุพังหลังจากที่สร้างเสร็จไม่กี่ปี ขอถามหน่อยทำไมมันเป็นเช่นนั้น อย่าบอกนะว่าหนูไม่รู้ รถเมล์หลวงมันเป็นของทุกคนทำไมมันถึงได้เละเทะ ทำไมทุกคน (ตัวคุณ) ไม่เอาไปซ่อมละครับ ผมจะบอกให้ในทางกลับกันถ้ามันเป็นรถของคุณครับแค่มีรอยแมวข่วนก็คงนอนไม่หลับ ต้องวิ่งเอารถเข้าอู่แล้ว กรุณาอย่าปากดีให้ผมสำรอก การที่มันไม่มีคนดูแลนั่นละครับคือสิ่งที่ชี้ว่าของหลวงมันไม่มีเจ้าของ

 

ผม ไม่ใช่ liberal ไม่ใช่ conservative พูดไรมาผมผมไม่รุ้เรื่อง ผมเป็น libertarian ถ้าไม่รู้จักว่า libertarian คืออะไรกรุณาอ่านหนังสือหรือเปิด wikipedia ก่อนมาคุย ไม่งั้นเถียงกันไม่รู้เรื่อง

 

ประเด็นที่ผมพูดอยู่คือ ต้องลดการใช้เงินของรัฐบาล มันเข้าไปจะได้โกงไม่ได้ พวกคุณรอคนดี ตายไปไม่รู้กี่สิบชาติกว่าจะผ่านมา 1 คน

 

ถ้า พูดถึงในเรื่องการศึกษารัฐบาลต้องปล่อยให้โรงเรียนหลวงมีการแข่งขัน โดยเอาเงินไปไว้กับพ่อแม่ ผ่านสิ่งที่เรียกว่าตั๋วการศึกษา (school voucher ถ้าไม่รู้จักแนะนำให้อ่านก่อนว่ามันคืออะไร) เงินเดือนครูเอาไปหารแบ่งกันเองตามปริมาณนักศึกษา ที่ไหนไม่มีคนอยากเข้าเรียน ต้องถูกยุบหรือจะไม่ยุบก็ได้แต่เงินเดือนได้เท่ากับปริมาณนักเรียนนะ นั่นคือลดค่าใช้จ่าย

 

เงินภาษีเก็บให้มันน้อยลงหรือเท่าเดิมก็ได้แต่ต้องเอามาหารแบ่งแจกเลย เพราะไม่ต้องเอาไปเลี้ยงโรงเรียนห่วยๆแล้ว ไม่ต้องเอาไปให้นักการเมืองมาโกงใช้เล่นแล้ว พ่อแม่อยากจะทำอะไรกับเงินนั่นจะเอาเข้าแบ้ง ลงทุน หรือเที่ยวโสเภณี สบายครับแล้วแต่ตัวเองพิจารณา (เสรีไทย)

 

ผมไม่ได้คิดว่าตัวเองวิเศษวิดสกว่าชาวบ้าน ให้ตัวชาวบ้านตัดสินใจว่าตัวเองจะใช้เงินอย่างไรดีกว่าครับ เพราะเท่าที่ผ่านมาพอนักการเมืองตัดสินใจให้ทีไร ค่า commission มันแพงดีจริงๆ

1. ประโยคที่ทำตัวแดงไว้ เป็นแนวคิดที่โคตรอุบาทว์เลยค่ะ

 

2. อิชั้นไม่รู้จักว่า libertarian นี่คือตัวอะไร เป็นญาติกับ Reptilian หรือปล่าว? ยังสงสัยอยู่ว่า การนิยามตัวตนของตัวเองในเวบบอร์ด ซึ่งไม่เห็นหน้ากัน มันดูเจ๋งขึ้นมาซักนิดนึงหรืออย่างไร มาแนวไม่รู้จักให้ไปหาในเนต อิชั้นอ่านๆ ไปก็สบถเล็กน้อย ธุระอะไรของคนที่คุณโควทตอบต้องทำเช่นนั้น เว็บบอร์ดนะเว้ยเฮ้ย ไม่ใช่เวทีโชว์ประวัติ+เกียรติภูมิ+แนวทางชีวิต



#163 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 21:59

ถึงคุณ ricebenoil (ข้อความด้านล่างอาจหยาบคายสักนิด แต่ผมต้องทำเพื่อชี้จุดให้ชัดเจน)

 

กรุณาเบิงตาดูให้ดีๆ หรือถ้ายังมองไม่เห็นผมจะช่วยแหกให้ดูว่าสภาพสาธารณะสมบัติมันเป็นเยี่ยงไร ของที่บอกว่ามันเป็นของทุกคนเช่น คุก โรงพยาบาล โรงพัก โรงเรียน รถเมล์หลวง ถนน มันเก่าผุพังหลังจากที่สร้างเสร็จไม่กี่ปี ขอถามหน่อยทำไมมันเป็นเช่นนั้น อย่าบอกนะว่าหนูไม่รู้ รถเมล์หลวงมันเป็นของทุกคนทำไมมันถึงได้เละเทะ ทำไมทุกคน (ตัวคุณ) ไม่เอาไปซ่อมละครับ ผมจะบอกให้ในทางกลับกันถ้ามันเป็นรถของคุณครับแค่มีรอยแมวข่วนก็คงนอนไม่หลับ ต้องวิ่งเอารถเข้าอู่แล้ว กรุณาอย่าปากดีให้ผมสำรอก การที่มันไม่มีคนดูแลนั่นละครับคือสิ่งที่ชี้ว่าของหลวงมันไม่มีเจ้าของ

 

ผม ไม่ใช่ liberal ไม่ใช่ conservative พูดไรมาผมผมไม่รุ้เรื่อง ผมเป็น libertarian ถ้าไม่รู้จักว่า libertarian คืออะไรกรุณาอ่านหนังสือหรือเปิด wikipedia ก่อนมาคุย ไม่งั้นเถียงกันไม่รู้เรื่อง

 

ประเด็นที่ผมพูดอยู่คือ ต้องลดการใช้เงินของรัฐบาล มันเข้าไปจะได้โกงไม่ได้ พวกคุณรอคนดี ตายไปไม่รู้กี่สิบชาติกว่าจะผ่านมา 1 คน

 

ถ้า พูดถึงในเรื่องการศึกษารัฐบาลต้องปล่อยให้โรงเรียนหลวงมีการแข่งขัน โดยเอาเงินไปไว้กับพ่อแม่ ผ่านสิ่งที่เรียกว่าตั๋วการศึกษา (school voucher ถ้าไม่รู้จักแนะนำให้อ่านก่อนว่ามันคืออะไร) เงินเดือนครูเอาไปหารแบ่งกันเองตามปริมาณนักศึกษา ที่ไหนไม่มีคนอยากเข้าเรียน ต้องถูกยุบหรือจะไม่ยุบก็ได้แต่เงินเดือนได้เท่ากับปริมาณนักเรียนนะ นั่นคือลดค่าใช้จ่าย

 

เงินภาษีเก็บให้มันน้อยลงหรือเท่าเดิมก็ได้แต่ต้องเอามาหารแบ่งแจกเลย เพราะไม่ต้องเอาไปเลี้ยงโรงเรียนห่วยๆแล้ว ไม่ต้องเอาไปให้นักการเมืองมาโกงใช้เล่นแล้ว พ่อแม่อยากจะทำอะไรกับเงินนั่นจะเอาเข้าแบ้ง ลงทุน หรือเที่ยวโสเภณี สบายครับแล้วแต่ตัวเองพิจารณา (เสรีไทย)

 

ผมไม่ได้คิดว่าตัวเองวิเศษวิดสกว่าชาวบ้าน ให้ตัวชาวบ้านตัดสินใจว่าตัวเองจะใช้เงินอย่างไรดีกว่าครับ เพราะเท่าที่ผ่านมาพอนักการเมืองตัดสินใจให้ทีไร ค่า commission มันแพงดีจริงๆ

 

ของสาธารณะที่ว่ามันโทรม เพราะอะไร ???? เพราะคนซ่อมไม่ซ่อมหรือคนใช้มันห่วย

 

 

ทำไมทุกคน (ตัวคุณ) ไม่เอาไปซ่อมละครับ

 

คนรับผิดชอบมีอยู่แล้ว แล้วพวกเขาก็ทำหน้าที่อยู่แล้ว คุณไม่รู้หรือว่ารัฐบาลเก็บภาษีจากเราไปใช้จ่ายในรูปของเงินเดือนเพื่อให้มีคนดูแลรับผิดชอบสาธารณสมบัติเหล่านั้น (รู้สึกแปลกใจยิ่งนัก ????)

แล้วคนใช้งานละ ใช้งานด้วยความสำนึกว่ามันเป็นเงินภาษีของทุกคนหรือเปล่า หรือใช้งานเพราะมันเป็นของหลวงจะใช้งานยังไงก็ได้ 

"ความสำนึกในสาธารณะสมบัติ" ต่างหาก ที่ใช้แยกคุณภาพของประชาชน

 

 

ตั๋วการศึกษา (school voucher)

 

มันก็มีข้อดีในกรณีที่เด็กจะไปเรียนที่โรงเรียนไหนก็ได้ โรงเรียนที่ดีจะได้เงินมากขึ้นแล้วสามารถพัฒนาการศึกษาให้ดียิ่งๆ ขึ้นไปได้

คำถามต่อมา แล้วค่าใช้จ่ายเรื่องการเดินทางหรือค่าใช้จ่ายอื่นๆ จะทำอย่างไร รวมอยู่ในนี้ด้วยหรือไม่

ไม่ใช่ผู้ปกครองเด็กทุกคนหรอกนะที่จะสามารถส่งลูกมาเรียนในโรงเรียนที่ดีที่สุดของจังหวัดได้ทุกคน

 

 

ไม่ต้องเอาไปเลี้ยงโรงเรียนห่วยๆแล้ว

 

แล้วเด็กที่พ่อแม่ไม่มีความสามารถส่งลูกมาเรียนในโรงเรียนที่ดีได้ ก็ปล่อยให้จมอยู่กับโรงเรียนห่วยๆ ไปตลอดชาติอย่างงั้นหรือ

ถ้าเราใช้ระบบ Scool voucher ก็กลายเป็นการศึกษาไม่ได้ช่วยลดช่องว่างระหว่างประชากรเลย

หากแต่กลับเป็นการถ่างช่องว่างระหว่าง "ประชาชนทีมีเงินส่งลูกไปเรียนโรงเรียนที่ดีได้" กับ "ประชาชนที่ไม่มีเงินส่งลูกไปเรียนโรงเรียนที่ดีได้"

เด็กที่มีพ่อแม่ไม่สามารถส่งลูกไปเรียนในโรงเรียนที่ดีได้ พวกเขาทำผิดอะไรหรือครับ ทำไมพวกเขาจึงถูกลงโทษเช่นนั้น

พวกเขาผิดที่มีพ่อแม่ไม่มีเงินเท่านั้นหรือ พวกเขาจึงต้องจมอยู่กับโรงเรียนห่วยๆ ไปชั่วลูกชั่วหลาน

นานวันไปประเทศนี้คงอยู่ในทฤษฎีที่ว่า "สองนคราประชาธิปไตย" เป็นแน่แท้


Edited by Ricebeanoil, 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 22:00.

เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#164 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 22:15

คนรับผิดชอบมีอยู่แล้ว แล้วพวกเขาก็ทำหน้าที่อยู่แล้ว =>นั่นคือข้ออ้าง สาเหตุจริงๆที่คุณไม่เอารถไปซ่อมคือ ข้าพเจ้าไม่ได้อะไรต่างหาก ซ่อมไปมันก็เป็นของทุกคน และทุกคนก็คิดเหมือนกัน

เด็กที่พ่อแม่ไม่มีความสามารถส่งลูกมาเรียนในโรงเรียนที่ดีได้ => ผมว่าปัจจัยเรื่องการเดินทางมันน้อยกว่าเรื่องโรงเรียนหลวงไม่รับครับ ล้านเปอร์เซ็น

 

ลดช่องว่างระหว่างประชากร => มันเป็นปัญหาของทุกๆประเทศในโลกใบนี้ครับ ประเด็นสำคัญขึ้นอยู่ว่าคุณจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไร โดยใช้อะไรเป็นตัวตั้ง

ถ้าคุณเอาความเท่าเทียมของทรัพย์สินเป็นที่ตั้ง ผมรับประกันโดยใช้ประว้ติศาสตร์ 2000 ปี ของอารยธรรมมนุษย์ว่าคุณจะไม่ได้รับความเท่าเทียมกันอย่างแน่นอน แนะนำดูประเทศคอมมิวนิสที่เอาความเท่าเทียมของทรัพย์สินเป็นที่ตั้ง เช่น เกาหลีเหนือ คิวบา

แต่ถ้าคุณเอาความเท่าเทียมของสิทธิ์และเสรีภาพ เป็นตัวตั้ง คุณจะได้ความเท่าเทียมทางด้านทรัพย์สิน ที่สูงที่สุดในระดับหนึ่งมากกว่าประเทศไหนๆในโลกใบนี้

 

ทางแก้ไข คือลดอำนาจ และบทบาทของรัฐบาลเพื่อสร้างเสรีภาพ ไม่ใช่สร้างอำนาจและบทบาทของรัฐบาลให้มากขึ้นโดยการออกกฏหมายเพิ่ม หาทางให้คนหากินด้วยลำแข้งของตัวเองโดยสุจริตบนพื้นฐานที่มีเสรีภาพเท่า เทียมกัน ไม่ใช่เอะอะก็หากินจากรัฐบาล (หลวงจ่ายที ของหลวง รร รพหลวง สัมปทานหลวง) ซึ่งนี่เป็นปัญหาใหญ่ที่สุดที่ไม่เคยได้รับการแก้ไขและเป็นสิ่งที่สร้างที่ มาของตระกลูชิน ถ้าคุณไม่เลิกสร้างอำนาจให้รัฐบาล ท้ายสุดก็จะมีคนมาเอาอำนาจนั้นเพื่อสร้างผลประโยชน์ให้กับตัวเอง ไม่มีหน้าเหลี่ยมเดี๋ยวก็มีคนใหม่มาแทน

อยากจะมีเหลี่ยม 2 3 4 ก็ทำแบบเดิมไปครับ ปฏิรูปไปแต่ระบบเป็นแบบเดิม ก็คงเน่าต่อไปตราบชั่วฟ้าดินสลาย

 

@kanoporn ถ้าผมไม่แรงจะมีคนมาเถียงมาอ่านเหรอ ผมเถียงคนมาก็มาก ไม่เคยคิดว่าจะทำให้ใครเปลี่ยนใจ แค่ต้องการบอกว่ามันมีทางเลือกอีกทางในการปฏิรูปประเทศ หรือหาข้อบกพร่องของความคิดตัวเอง นี่เห็นไหมผมมาแป็ปเดียวมีคนตอบเต็มเลย ไม่มีใครสนใจ จขกทเลย


Edited by Tom PR, 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 22:42.


#165 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 22:44

คนรับผิดชอบมีอยู่แล้ว แล้วพวกเขาก็ทำหน้าที่อยู่แล้ว =>นั่นคือข้ออ้าง สาเหตุจริงๆที่คุณไม่เอารถไปซ่อมคือ ข้าพเจ้าไม่ได้อะไรต่างหาก ซ่อมไปมันก็เป็นของทุกคน และทุกคนก็คิดเหมือนกัน

เด็กที่พ่อแม่ไม่มีความสามารถส่งลูกมาเรียนในโรงเรียนที่ดีได้ => ผมว่าปัจจัยเรื่องการเดินทางมันน้อยกว่าเรื่องโรงเรียนหลวงไม่รับครับ ล้านเปอร์เซ็น

 

ลดช่องว่างระหว่างประชากร => มันเป็นปัญหาของทุกๆประเทศในโลกใบนี้ครับ ประเด็นสำคัญขึ้นอยู่ว่าคุณจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไร โดยใช้อะไรเป็นตัวตั้ง

ถ้าคุณเอาความเท่าเทียมของทรัพย์สินเป็นที่ตั้ง ผมรับประกันโดยใช้ประว้ติศาสตร์ 2000 ปี ของอารยธรรมมนุษย์ว่าคุณจะไม่ได้รับความเท่าเทียมกันอย่างแน่นอน แนะนำดูประเทศคอมมิวนิสที่เอาความเท่าเทียมของทรัพย์สินเป็นที่ตั้ง เช่น เกาหลีเหนือ คิวบา

แต่ถ้าคุณเอาความเท่าเทียมของสิทธิ์และเสรีภาพ เป็นตัวตั้ง คุณจะได้ความเท่าเทียมทางด้านทรัพย์สิน ที่สูงที่สุดในระดับหนึ่งมากกว่าประเทศไหนๆในโลกใบนี้

 

ทางแก้ไข คือลดอำนาจ และบทบาทของรัฐบาลเพื่อสร้างเสรีภาพ ไม่ใช่สร้างอำนาจและบทบาทของรัฐบาลให้มากขึ้นโดยการออกกฏหมายเพิ่ม หาทางให้คนหากินด้วยลำแข้งของตัวเองโดยสุจริตบนพื้นฐานที่มีเสรีภาพเท่า เทียมกัน ไม่ใช่เอะอะก็หากินจากรัฐบาล ซึ่งนี่เป็นปัญหาใหญ่ที่สุดที่ไม่เคยได้รับการแก้ไขและเป็นสิ่งที่สร้างที่ มาของตระกลูชิน ถ้าคุณไม่เลิกสร้างอำนาจให้รัฐบาล ท้ายสุดก็จะมีคนมาเอาอำนาจนั้นเพื่อสร้างผลประโยชน์ให้กับตัวเอง ไม่มีหน้าเหลี่ยมเดี๋ยวก็มีคนใหม่มาแทน

อยากจะมีเหลี่ยม 2 3 4 ก็ทำแบบเดิมไปครับ ปฏิรูปไปแต่ระบบเป็นแบบเดิม ก็คงเน่าต่อไปตราบชั่วฟ้าดินสลาย

 

อ้าว! นี่ผมเพิ่งรู้ว่านะเนี่ยว่า ตอนนี้กำลังโดนคนอ่านใจแล้วมาตอบแทนผมซะงั้น 

 

 

คนรับผิดชอบมีอยู่แล้ว แล้วพวกเขาก็ทำหน้าที่อยู่แล้ว =>นั่นคือข้ออ้าง สาเหตุจริงๆที่คุณไม่เอารถไปซ่อมคือ ข้าพเจ้าไม่ได้อะไรต่างหาก ซ่อมไปมันก็เป็นของทุกคน และทุกคนก็คิดเหมือนกัน

 

ก็คนรับผิดชอบมันมีอยู่แล้วจริงๆ นี่ แล้วผมจะไปแย่งหน้าที่เค้าทำไมละครับ คนเรามีหน้าที่หรือการงานที่ทำอยู่แล้วเพื่อแลกกับค่าตอบแทนในรูปของเงินรายได้

ขณะนี้หน้าที่ผม คือเป็นแพทย์ ก็ทำหน้าที่แพทย์ให้ดีที่สุด แล้วถ้าผมเอารถไปซ่อมแล้วผมได้รายได้เพิ่มหรือไม่ครับ ถ้าได้เพิ่มก็น่าสนอยู่เหมือนกันนะครับ

 

 

เด็กที่พ่อแม่ไม่มีความสามารถส่งลูกมาเรียนในโรงเรียนที่ดีได้ => ผมว่าปัจจัยเรื่องการเดินทางมันน้อยกว่าเรื่องโรงเรียนหลวงไม่รับครับ ล้านเปอร์เซ็น

 

คุณเป็นคนบอกเองนะครับว่าใช้ระบบ School voucher ดังนั้นไม่ว่าโรงเรียนจะรับใครเข้ามา รายได้โรงเรียนจะเท่ากันในกรณีที่นักเรียนที่รับจำนวนเท่ากัน

เมื่อโรงเรียนได้รายได้เท่ากัน ทำไมเค้าจะไม่รับละครับ เมื่อรายได้ก็เท่าเดิมไม่มีว่าเด็กที่พ่อแม่มีเงินหรือไม่มีเงินก็ตาม

เพราะ School voucher 1 ใบ ราคาเท่ากัน โรงเรียนจะเลือกรับทำไมละครับ ไม่มีเหตุผลรองรับเลยนะครับ หรือคุณจะบอกว่ารัฐบาลให้ School voucher แต่ละใบในราคาไม่เท่ากัน

ปัจจัยเรื่องการเดินทางนี่ละเรื่องสำคัญ ถ้าปัจจัยค่าใช้จ่ายการเดินทางไม่สำคัญ ทำไมเด็กทุกคนในประเทศนี้จึงไม่มาเรียนที่กรุงเทพทุกคนละครับ

เพราะโรงเรียนดีกว่า ยุบโรงเรียนในต่างจังหวัดให้หมด เพิ่มห้องเรียนให้นักเรียนเข้ามาเรียนในกรุงเทพให้หมด เรื่องง่ายๆ แบบนี้ทำไมไม่มีใครคิดกันเลยละครับ

 

 

ลดช่องว่างระหว่างประชากร => มันเป็นปัญหาของทุกๆประเทศในโลกใบนี้ครับ ประเด็นสำคัญขึ้นอยู่ว่าคุณจะแก้ไขปัญหานี้อย่างไร โดยใช้อะไรเป็นตัวตั้ง

 

ผมเชื่อเรื่องแต้มต่อทางสังคม คนรวยควรมีภาษีบางอย่างเพื่อลดช่องว่างลงมาบ้าง เช่น ภาษีที่ดิน, ภาษีมรดก เพื่อลดการมีแต้มต่อระหว่างประชากรในแต่ละรุ่น

ส่วนเรื่องการศึกษา ผมเห็นการให้ทุนการศึกษาที่เพิ่มขึ้น เพื่อเพิ่มโอกาสของเด็กที่มีความสามารถแต่ขาดโอกาสให้พวกเขาได้โอกาสที่จะลดช่องว่างระหว่างประชากรด้วยความสามารถของพวกเขาเอง


Edited by Ricebeanoil, 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 22:59.

เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#166 kanokporn

kanokporn

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,330 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 22:51

1. เติบโตมาแบบไม่มีจิตสำนึกสาธารณะก็จะมีแนวคิดประมาณนี้แหล่ะ พอจะเดาได้ว่าประสบการณ์ชีวิตคุณทอม พีอาร์ไม่เคยเก็บขยะให้โรงเรียน ไม่เคยออกค่ายพัฒนาชุมชน  ไม่เคยใส่บาตรหรือบริจาคการกุศลใดๆ

 

2. ปัจจัยเรื่องการเดินทางไปโรงเรียนนี่สำคัญนะ ทางต่างจังหวัดเป็นทางลูกรัง เด็กเดินไกลและเหนื่อย อย่ามโนเอาแค่เส้นทางโรงเรียนในเมืองหลวง

 

3. อาชีพครูก็ไม่จัดว่ารวยหรือจน สอนหนังสือมาหลายสิบปี มีรถต้องผ่อน มีบ้านต้องปลูก มีลูกต้องเลี้ยง ไปลดเงินเดือนครู แล้วจะอยู่ยังไง งานสร้างคนไม่ใช่สร้างบ้าน ใช้พลังกายพลังใจสูงมากเพราะต้องรับมือกับเด็กหลายรูปแบบ ยิ่งเด็กต่างจังหวัดบ้านจนๆ ไม่มีข้าวกิน  ครูแทบต้องเลี้ยงเหมือนลูก

 

...แนวคิด คุณทอม พีอาร์ คนนี้ เหมือนนักวิชาการบนหอคอยงาช้าง ที่ไม่เคยสัมผัสชีวิตจริง อ่านแต่รายงานอยู่ในห้องปรับอากาศ คิดคำนวณทุกอย่างเป็นธุรกิจไปหมด



#167 kanokporn

kanokporn

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,330 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 23:04

@kanoporn ถ้าผมไม่แรงจะมีคนมาเถียงมาอ่านเหรอ ผมเถียงคนมาก็มาก ไม่เคยคิดว่าจะทำให้ใครเปลี่ยนใจ แค่ต้องการบอกว่ามันมีทางเลือกอีกทางในการปฏิรูปประเทศ หรือหาข้อบกพร่องของความคิดตัวเอง นี่เห็นไหมผมมาแป็ปเดียวมีคนตอบเต็มเลย ไม่มีใครสนใจ จขกทเลย

 

ที่คนตอบคุณเยอะน่ะ ไม่ใช่เพราะแรงหรอก แต่แนวคิดคุณ มันดูน่าหมั่นไส้กว่า จขกท. (อิชั้นเจอพวกกูรูในเฟส ใช้รูปโพรไฟล์เป็นขงเบ้งบ้าง เป็นด็อกเตอร์บ้าง ทนายความบ้าง เถียงด้วยคำพูดปกติไม่ได้ ไล่ให้คนที่คุยด้วยไปหาอ่านเพิ่มเติม อยู่สองสามคนค่ะ อิชั้นเลยตอบเค้าไปว่า คนที่เก่งจริงๆ นั้นต้องอธิบายคนที่รู้น้อยกว่าให้รู้ ด้วยคำพูดง่ายๆ ให้ได้ ไม่ใช่มาอวดตัวสั่งสอนเขาด้วยศัพท์ประหลาดๆ เชิงวิชาการ ...เค้าอึ้งแล้วก็อันเฟรนด์กันไป



#168 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 13 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 23:09

@kanoporn ถ้าผมไม่แรงจะมีคนมาเถียงมาอ่านเหรอ ผมเถียงคนมาก็มาก ไม่เคยคิดว่าจะทำให้ใครเปลี่ยนใจ แค่ต้องการบอกว่ามันมีทางเลือกอีกทางในการปฏิรูปประเทศ หรือหาข้อบกพร่องของความคิดตัวเอง นี่เห็นไหมผมมาแป็ปเดียวมีคนตอบเต็มเลย ไม่มีใครสนใจ จขกทเลย

 

เจ้าของกระทู้ถูกแบนไปแล้ว จะเรียกหาเค้าทำไมละ ถามไปก็ไม่มีใครตอบแล้ว เลยไม่มีใครคุยกับเจ้าของกระทู้ไง


เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#169 อิสระเสรีชน

อิสระเสรีชน

    ทักษิณ เมื่อไหร่ตาย 5555

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,244 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 01:11

กรำเวน แม่ชีเทเรซ่า ของนู๋โดนแบนรึนี่ ประท้วง mod โด่วยังไม่หายคิดถึงเลย 23.gif

 

ปล สงสัยกะลังสิงร่างอื่น อิอิ 13.gif


"ไม่มีพระราชาองค์ใด ยิ่งใหญ่เทียบเท่าเสมอเหมือน พระราชาของพวกเราปวงชนชาวไทย"

 

 Long Live My King

 

....................................................


#170 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 06:04

Ricebenoil  คุณนะมั่ว และคุณแพ้ผมแล้ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก

 

ปล. ผมไม่รู้ว่าพวกคุณมีครอบครัว หรือโตมาในสังคมแบบไหน แต่สังคมไทยเป็นสังคมครอบครัว พ่อแม่ ยอมใช้น้อย ยอมเหนื่อยเพื่อให้ลูกๆสบายในภายภาคหน้า การทำภาษีมรดกให้มากขึ้นมีผลร้ายที่จะเกิดตามมาอย่างแน่นอน เพราะท้ายสุด พ่อแม่ย่อมต้องหาทางให้ลูกได้ใช้ทรัพย์สินที่ตัวเองหามา

 

kanokporn ผมเป็นแพทย์ใช้ทุนและชนบท 10+ ปีและไม่มีคลีนิคส่วนตัวครับ คนไข้ล้างไตแต่ไม่มีตังผมจ่ายออกจากกระเป๋าตัวเองให้ฟรีแต่เดี๋ยวมันก็ตายและก็มีคนใหม่มาขออีก ผมทำมาเป็นสิบๆปีตอนนี้ก็ทำอยู่ มันไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรเลย จิตสาธารณะบ้าบอคอแตกของคุณผมไม่รู้จักหรอก และเช่นเดียวกับ ricebenoil  คุณนะมันมั่ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก และกรุณาแหกตาดูให้ดีๆ ประเทศจิตสาธารณะของคุณตอนนี้มันมีกี่ประเทศ เกาหลีเหนือ คิวบา ลาว ส่วนประเทศยุโรปก็เช่นกรีซ 

 

ผมจะพูดเป็นครั้งสุดท้าย ขอให้ท่านผู้โง่เขล่าเบาปัญญาฟังไว้ให้ดี

 

ของหลวงไม่มีเจ้าของ เลยถูกนักการเมืองโกง เลยมีคนบอกว่าโกงได้แต่ต้องแบ่งด้วย

 

วิธีแก้ไข คือต้องปล่อยให้ไม่มีของหลวง และส่วนที่ขายไม่ได้เช่นถนน อุทยานแห่งชาติ ต้องปล่อยให้มีการแข่งขัน โดยให้มีเอกชนเข้ามาแข่งกันบริหาร

 

พอทุกอย่างมีเจ้าของ คนโกงจะน้อยลงอย่างแน่นอน

 

ไม่มีใครใช้เงินประหยัด เท่ากับใช้เงินของตัวเอง ถ้าคุณไม่เชื่อผมแนะนำ ให้คนอื่นลองใช้เงินของคุณแทนตัวคุณดูครับ

 

จิตสาธารณะแนะนำให้ทำกันเองครับ อย่าบังคับทำผ่านหลวง


Edited by Tom PR, 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 08:38.


#171 kanokporn

kanokporn

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,330 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 08:49

Ricebenoil  คุณนะมั่ว และคุณแพ้ผมแล้ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก

 

ปล. ผมไม่รู้ว่าพวกคุณมีครอบครัว หรือโตมาในสังคมแบบไหน แต่สังคมไทยเป็นสังคมครอบครัว พ่อแม่ ยอมใช้น้อย ยอมเหนื่อยเพื่อให้ลูกๆสบายในภายภาคหน้า การทำภาษีมรดกให้มากขึ้นมีผลร้ายที่จะเกิดตามมาอย่างแน่นอน เพราะท้ายสุด พ่อแม่ย่อมต้องหาทางให้ลูกได้ใช้ทรัพย์สินที่ตัวเองหามา

 

kanokporn ผมเป็นแพทย์ใช้ทุนและชนบท 10+ ปีและไม่มีคลีนิคส่วนตัวครับ คนไข้ล้างไตแต่ไม่มีตังผมจ่ายออกจากกระเป๋าตัวเองให้ฟรีแต่เดี๋ยวมันก็ตายและก็มีคนใหม่มาขออีก ผมทำมาเป็นสิบๆปีตอนนี้ก็ทำอยู่ มันไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรเลย จิตสาธารณะบ้าบอคอแตกของคุณผมไม่รู้จักหรอกเช่นเดียวกับ ricebenoil  คุณนะมันมั่ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก และกรุณาแหกตาดูให้ดีๆ ประเทศจิตสาธารณะของคุณตอนนี้มันมีกี่ประเทศ เกาหลีเหนือ คิวบา ลาว ส่วนประเทศยุโรปก็เช่นกรีซ 

 

ผมจะพูดเป็นครั้งสุดท้าย ขอให้ท่านผู้โง่เขล่าเบาปัญญาฟังไว้ให้ดี

 

ของหลวงไม่มีเจ้าของ เลยถูกนักการเมืองโกง เลยมีคนบอกว่าโกงได้แต่ต้องแบ่งด้วย

 

วิธีแก้ไข คือต้องปล่อยให้ไม่มีของหลวง และส่วนที่ขายไม่ได้เช่นถนน อุทยานแห่งชาติ ต้องปล่อยให้มีการแข่งขัน โดยให้มีเอกชนเข้ามาแข่งกันบริหาร

 

พอทุกอย่างมีเจ้าของ คนโกงจะน้อยลงอย่างแน่นอน

 

ไม่มีใครใช้เงินประหยัด เท่ากับใช้เงินของตัวเอง ถ้าคุณไม่เชื่อผมแนะนำ ให้คนอื่นลองใช้เงินของคุณแทนตัวคุณดูครับ

 

จิตสาธารณะแนะนำให้ทำกันเองครับ อย่าบังคับทำผ่านหลวง

 

สามประโยคสีแดงที่ทำไฮไลต์ไว้ อิชั้นต้องการจะบอกคุณว่า

 

1. คุณเรียกคนไข้ว่า มัน แสดงถึงการดูถูกผู้ป่วย ผิดวิสัยแพทย์โคตรๆ

2. คำว่า ท่านผู้โง่เขลาเบาปัญญา แสดงถึงภาวะจิตใจของคุณ ที่ดูถูกเพื่อนสมาชิกในบอร์ด

3. ให้เอกชนเข้ามาบริหารอุทยานแห่งชาติ เป็นวิธีสิ้นคิด เพราะจะทำให้ทรัพยากรธรรมชาติฉิบหายเสื่อมโทรมลงยิ่งกว่าเดิม คุณจะรู้ได้ไงว่าเอกชนไม่จัดเวทีคอนเสิร์ตรบกวนสัตว์ป่า หรือเอกชนอาจฉวยโอกาสสร้างที่พักอาศัยรีสอร์ตให้นักท่องเที่ยวเข้ามาก่อมลพิษจนทำให้ระบบนิเวศน์ในป่าเสียไป (ถ้ามันเกิดผลตอบแทนทางธุรกิจใครจะไม่ทำ ซึ่งคนในเครือข่ายทักษิณก็เคยมีแนวคิดนี้)

 

เหมือนคุณทอม จะมั่นใจว่าตัวเองเก่ง แต่แนวคิดคุณมันแลดู เห็นแก่ตัวและรู้ไม่จริงซักอย่างเดียว ไม่ว่าเรื่องชีวิตจริงของครู หรือวิธีจัดการกับทรัพยากรป่าไม้ในอุทยานแห่งชาติ บอกว่าเป็นแพทย์นี่อิชั้นอึ้งในใจนะ แพทย์นิสัยหยีั่งงี้ มีด้วยเหรอวะ? แปลกและตลก



#172 kanokporn

kanokporn

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,330 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 09:06

อิชั้นพูดในสิ่งที่คิดว่าไม่มั่วนะคะ คุณทอม

- เพราะพี่สาวคนโตอิชั้นเป็นครูสอนอยู่โรงเรียนต่างจังหวัด แกอธิบายเรื่องการสร้างคนและไม่เห็นด้วยกับการยุบโรงเรียนของ รมว.พงศเทพ

- พี่ชายเป็นอาจารย์สอนอยู่ มช. ก่อนหน้านั้นเป็นสถาปนิกอยู่บริษัทเอกชน แกจึงเข้าใจสองระบบที่แตกต่างกัน

- พี่สาวคนที่สองเป็นพยาบาลอาวุโสอยู่ที่ รพ. สวนดอก แกเคยพูดเรื่องการให้ความสำคัญกับอาการ+สภาพจิตใจผู้ป่วย ซึ่งต้องให้ความสำคัญเหนือแรงกดดันจากสภาพแวดล้อมของ จนท. ผู้ปฏิบัติงาน

- มีแม่เป็นเจ้าของที่นา เสียภาษีที่ดินเอง และให้เพื่อนบ้านเช่าที่ทำนา

 

อิชั้นพบปะพูดคุยกับสี่อาชีพ ครู อาจารย์ พยาบาล และชาวนา มาบ้างพอสมควร เรื่องบางอย่างนั้นไม่ตรงกับสิ่งที่คุณทอม คิดและเข้าใจ อิชั้นถึงทักท้วงคุณ



#173 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:54

Ricebenoil  คุณนะมั่ว และคุณแพ้ผมแล้ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก

 

ปล. ผมไม่รู้ว่าพวกคุณมีครอบครัว หรือโตมาในสังคมแบบไหน แต่สังคมไทยเป็นสังคมครอบครัว พ่อแม่ ยอมใช้น้อย ยอมเหนื่อยเพื่อให้ลูกๆสบายในภายภาคหน้า การทำภาษีมรดกให้มากขึ้นมีผลร้ายที่จะเกิดตามมาอย่างแน่นอน เพราะท้ายสุด พ่อแม่ย่อมต้องหาทางให้ลูกได้ใช้ทรัพย์สินที่ตัวเองหามา

 

kanokporn ผมเป็นแพทย์ใช้ทุนและชนบท 10+ ปีและไม่มีคลีนิคส่วนตัวครับ คนไข้ล้างไตแต่ไม่มีตังผมจ่ายออกจากกระเป๋าตัวเองให้ฟรีแต่เดี๋ยวมันก็ตายและก็มีคนใหม่มาขออีก ผมทำมาเป็นสิบๆปีตอนนี้ก็ทำอยู่ มันไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรเลย จิตสาธารณะบ้าบอคอแตกของคุณผมไม่รู้จักหรอก และเช่นเดียวกับ ricebenoil  คุณนะมันมั่ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก และกรุณาแหกตาดูให้ดีๆ ประเทศจิตสาธารณะของคุณตอนนี้มันมีกี่ประเทศ เกาหลีเหนือ คิวบา ลาว ส่วนประเทศยุโรปก็เช่นกรีซ 

 

ผมจะพูดเป็นครั้งสุดท้าย ขอให้ท่านผู้โง่เขล่าเบาปัญญาฟังไว้ให้ดี

 

ของหลวงไม่มีเจ้าของ เลยถูกนักการเมืองโกง เลยมีคนบอกว่าโกงได้แต่ต้องแบ่งด้วย

 

วิธีแก้ไข คือต้องปล่อยให้ไม่มีของหลวง และส่วนที่ขายไม่ได้เช่นถนน อุทยานแห่งชาติ ต้องปล่อยให้มีการแข่งขัน โดยให้มีเอกชนเข้ามาแข่งกันบริหาร

 

พอทุกอย่างมีเจ้าของ คนโกงจะน้อยลงอย่างแน่นอน

 

ไม่มีใครใช้เงินประหยัด เท่ากับใช้เงินของตัวเอง ถ้าคุณไม่เชื่อผมแนะนำ ให้คนอื่นลองใช้เงินของคุณแทนตัวคุณดูครับ

 

จิตสาธารณะแนะนำให้ทำกันเองครับ อย่าบังคับทำผ่านหลวง

 

ผมก็เป็นแพทย์ใช้ทุนมา 3 ปี ที่ รพ.ยะลา แล้วตอนนี้มาเรียนต่อที่ รพ.ราชวิถี 

ผมกลับไม่เห็นว่าการที่คุณอ้างว่าคุณใช้ทุนอยู่ 10 ปีที่ชนบทแล้วไม่เปิดคลินิก คุณจะวิเศษวิโสกว่าคนอื่นนี่ครับ

ผมก็ไม่เคยเปิดคลินิกเหมือนกัน แล้วไงละครับ

แล้วคุณพูดว่าผมแพ้คุณนั้น ผมไม่ทราบว่าผมแพ้ประเด็นไหนครับ

เรื่องเงินหลวงหรือของหลวง ผมก็อธิบายไปแล้ว คุณกลับไม่สามารถทักท้วงประเด็นของผมได้เลย ผมแพ้หรือ ????

เรื่อง School voucher คุณก็ยกตัวอย่างมาเอง ผมแย้งประเด็นในจุดอ่อนของระบบ School voucher ไปแล้ว คุณกลับไม่แย้งจุดอ่อนที่ผมโต้ไปได้เลย ผมแพ้หรือ ????

การลดช่องว่างของประชากร ผมก็อธิบายในแนวทางที่ผมเชื่อ คุณกลับไม่แย้งประเด็นที่คุณต้องการอยากให้เป็น ผมแพ้หรือ ????

 

ความจริงผมว่ากระทู้นี้ควรมีการโต้แย้งที่นำมาซึ่งความชัดเจนในแนวคิดที่มายิ่งขึ้นทั้ง 2 ฝ่าย

แต่คุณกลับไม่โต้แย้งในประเด็นที่เป็นจุดอ่อนของแนวคิดคุณ ทำให้กระทู้นี้เลยดูน่าเบื่อสำหรับคนอื่นๆ ไป

การที่คุณจะเป็น Libertarian หรือไม่นั้น มันไม่สำคัญหรอกครับ

แต่ปัญหาคือ คุณเข้าใจในแนวคิดของคุณแค่ไหนเท่านั้นเอง พิสูจน์ได้จากแนวคิดที่คุณเชื่อเรื่อง School voucher นั้นละครับ

ผมได้โต้แย้งในประเด็นจุดอ่อนของ School voucher ไป แต่คุณกลับไม่โต้แย้งหรือปกป้องระบบ School voucher ที่คุณเชื่อได้เลย แม้แต่ประโยคเดียว

ผมเลยไม่แน่ใจว่าคุณเชื่อว่าระบบ School voucher มันดีจริง เพราะคุณคิดเอง หรือเพราะคุณไปฟังใครมาหรือเปล่ากัน ทำให้ความชัดเจนในข้อมูลของคุณเสียไป

 

บางครั้งผมคิดไปว่า คุณอาจจะอยู่ในช่วงของ Rejection ของ Coping mechanism อยู่ก็ได้นะครับ เมื่อเจอกับการใช้เหตุผลโต้เถียงกันแบบนี้

ขอให้อ่านให้เข้าใจ ผมโต้แย้งเรื่องประเด็นแนวคิดของคุณ ไม่ได้ต้องการเอาชนะคุณนะครับ

อย่าปกป้องตัวเองโดยการ Rejection ความจริงทุกอย่างที่ไม่ตรงกับจิตใจที่คุณต้องการ เพราะไม่งั้นคุณจะปิดทางการพัฒนาของตัวคุณเอง


Edited by Ricebeanoil, 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:56.

เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#174 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:03

 

Ricebenoil  คุณนะมั่ว และคุณแพ้ผมแล้ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก

 

ปล. ผมไม่รู้ว่าพวกคุณมีครอบครัว หรือโตมาในสังคมแบบไหน แต่สังคมไทยเป็นสังคมครอบครัว พ่อแม่ ยอมใช้น้อย ยอมเหนื่อยเพื่อให้ลูกๆสบายในภายภาคหน้า การทำภาษีมรดกให้มากขึ้นมีผลร้ายที่จะเกิดตามมาอย่างแน่นอน เพราะท้ายสุด พ่อแม่ย่อมต้องหาทางให้ลูกได้ใช้ทรัพย์สินที่ตัวเองหามา

 

kanokporn ผมเป็นแพทย์ใช้ทุนและชนบท 10+ ปีและไม่มีคลีนิคส่วนตัวครับ คนไข้ล้างไตแต่ไม่มีตังผมจ่ายออกจากกระเป๋าตัวเองให้ฟรีแต่เดี๋ยวมันก็ตายและก็มีคนใหม่มาขออีก ผมทำมาเป็นสิบๆปีตอนนี้ก็ทำอยู่ มันไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรเลย จิตสาธารณะบ้าบอคอแตกของคุณผมไม่รู้จักหรอก และเช่นเดียวกับ ricebenoil  คุณนะมันมั่ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก และกรุณาแหกตาดูให้ดีๆ ประเทศจิตสาธารณะของคุณตอนนี้มันมีกี่ประเทศ เกาหลีเหนือ คิวบา ลาว ส่วนประเทศยุโรปก็เช่นกรีซ 

 

ผมจะพูดเป็นครั้งสุดท้าย ขอให้ท่านผู้โง่เขล่าเบาปัญญาฟังไว้ให้ดี

 

ของหลวงไม่มีเจ้าของ เลยถูกนักการเมืองโกง เลยมีคนบอกว่าโกงได้แต่ต้องแบ่งด้วย

 

วิธีแก้ไข คือต้องปล่อยให้ไม่มีของหลวง และส่วนที่ขายไม่ได้เช่นถนน อุทยานแห่งชาติ ต้องปล่อยให้มีการแข่งขัน โดยให้มีเอกชนเข้ามาแข่งกันบริหาร

 

พอทุกอย่างมีเจ้าของ คนโกงจะน้อยลงอย่างแน่นอน

 

ไม่มีใครใช้เงินประหยัด เท่ากับใช้เงินของตัวเอง ถ้าคุณไม่เชื่อผมแนะนำ ให้คนอื่นลองใช้เงินของคุณแทนตัวคุณดูครับ

 

จิตสาธารณะแนะนำให้ทำกันเองครับ อย่าบังคับทำผ่านหลวง

 

ผมก็เป็นแพทย์ใช้ทุนมา 3 ปี ที่ รพ.ยะลา แล้วตอนนี้มาเรียนต่อที่ รพ.ราชวิถี 

ผมกลับไม่เห็นว่าการที่คุณอ้างว่าคุณใช้ทุนอยู่ 10 ปีที่ชนบทแล้วไม่เปิดคลินิก คุณจะวิเศษวิโสกว่าคนอื่นนี่ครับ

ผมก็ไม่เคยเปิดคลินิกเหมือนกัน แล้วไงละครับ

แล้วคุณพูดว่าผมแพ้คุณนั้น ผมไม่ทราบว่าผมแพ้ประเด็นไหนครับ

เรื่องเงินหลวงหรือของหลวง ผมก็อธิบายไปแล้ว คุณกลับไม่สามารถทักท้วงประเด็นของผมได้เลย ผมแพ้หรือ ????

เรื่อง School voucher คุณก็ยกตัวอย่างมาเอง ผมแย้งประเด็นในจุดอ่อนของระบบ School voucher ไปแล้ว คุณกลับไม่แย้งจุดอ่อนที่ผมโต้ไปได้เลย ผมแพ้หรือ ????

การลดช่องว่างของประชากร ผมก็อธิบายในแนวทางที่ผมเชื่อ คุณกลับไม่แย้งประเด็นที่คุณต้องการอยากให้เป็น ผมแพ้หรือ ????

 

ความจริงผมว่ากระทู้นี้ควรมีการโต้แย้งที่นำมาซึ่งความชัดเจนในแนวคิดที่มายิ่งขึ้นทั้ง 2 ฝ่าย

แต่คุณกลับไม่โต้แย้งในประเด็นที่เป็นจุดอ่อนของแนวคิดคุณ ทำให้กระทู้นี้เลยดูน่าเบื่อสำหรับคนอื่นๆ ไป

การที่คุณจะเป็น Libertarian หรือไม่นั้น มันไม่สำคัญหรอกครับ

แต่ปัญหาคือ คุณเข้าใจในแนวคิดของคุณแค่ไหนเท่านั้นเอง พิสูจน์ได้จากแนวคิดที่คุณเชื่อเรื่อง School voucher นั้นละครับ

ผมได้โต้แย้งในประเด็นจุดอ่อนของ School voucher ไป แต่คุณกลับไม่โต้แย้งหรือปกป้องระบบ School voucher ที่คุณเชื่อได้เลย แม้แต่ประโยคเดียว

ผมเลยไม่แน่ใจว่าคุณเชื่อว่าระบบ School voucher มันดีจริง เพราะคุณคิดเอง หรือเพราะคุณไปฟังใครมาหรือเปล่ากัน ทำให้ความชัดเจนในข้อมูลของคุณเสียไป

 

บางครั้งผมคิดไปว่า คุณอาจจะอยู่ในช่วงของ Rejection ของ Coping mechanism อยู่ก็ได้นะครับ เมื่อเจอกับการใช้เหตุผลโต้เถียงกันแบบนี้

ขอให้อ่านให้เข้าใจ ผมโต้แย้งเรื่องประเด็นแนวคิดของคุณ ไม่ได้ต้องการเอาชนะคุณนะครับ

อย่าปกป้องตัวเองโดยการ Rejection ความจริงทุกอย่างที่ไม่ตรงกับจิตใจที่คุณต้องการ เพราะไม่งั้นคุณจะปิดทางการพัฒนาของตัวคุณเอง

 

ผมพูด school voucher ดี

 

คุณพูด school voucher ไม่ดีเพราะเด็กที่พ่อแม่ไม่มีความสามารถส่งลูกมาเรียนในโรงเรียนที่ดีได้ (ผมเดาว่าคุณหมายถึง อาจต้องเดินทางไกล เลยไม่ได้มาเรียน)

 

ผมพูด ปัจจัยเรื่องการเดินทางมันน้อยกว่าเรื่องโรงเรียนหลวงไม่รับครับ ล้านเปอร์เซ็น

 

คุณพูด ปัจจัยเรื่องการเดินทางนี่ละเรื่องสำคัญ ถ้าปัจจัยค่าใช้จ่ายการเดินทางไม่สำคัญ ทำไมเด็กทุกคนในประเทศนี้จึงไม่มาเรียนที่กรุงเทพ

 

แค่นี้ก็จบแล้วครับ จริงๆผมไม่อยากพูดต่อเพราะกลัวคุณขายหน้า แต่ไหนเมื่อคุณอยากให้ผมเถียงต่อ

 

ผมอยากทราบว่าคุณไม่รู้หรือว่าจะเรียนโรงเรียนดีๆในกรุงเทพ มันไม่ใช่ง่ายๆ ไหนผมถามหน่อย มีพ่อแม่กี่คนที่ลูกสอบติดสวนกุหลาบ เตรียมอุดม สาธิต แล้วพูดว่า ค่าเดินทางแพงนะลูก ไปเรียนโรงเรียนวัดแถวบ้านดีกว่า ไว้รอน้องหมอเป็นพ่อแม่คน ผมจะรอดูคุณบอกลูกตัวเองแบบนี้ ดังนั้นปัจจัยสำคัญคือโรงเรียนดีๆเขาไม่รับต่างหาก

 

school voucher ทำให้พ่อแม่ มีทางเลือกที่จะเอาลูกเข้าที่ไหนก็ได้ และทำให้คนที่กล้าลงทุนสามารถไปเปิดโรงเรียนในที่ที่มีความต้องการสูง เช่นในเขตชนบทที่มีเด็กมากๆ

 

คนที่ไม่อ่านและไม่รู้ คือตัวน้องหมอเอง ผมเปิดประเด็นเรื่อง school voucher มานะครับ คุณไปอ่าน wiki 5 นาทีแล้วมาเถียงถือว่าไม่ให้เกียรติ

 

กรุณามองตัวเองก่อนครับ อย่าปกป้องตัวเองโดยการ Rejection ความจริงทุกอย่างที่ไม่ตรงกับจิตใจที่คุณต้องการ เพราะไม่งั้นคุณจะปิดทางการพัฒนาของตัวคุณเอง


Edited by Tom PR, 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:27.


#175 ดูโอลิมปิก5ปีดีจุงเบย

ดูโอลิมปิก5ปีดีจุงเบย

    สมาชิกชั้นสูงกว่าสูงลิบลิ่ว

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,544 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 14:18

กรำเวน แม่ชีเทเรซ่า ของนู๋โดนแบนรึนี่ ประท้วง mod โด่วยังไม่หายคิดถึงเลย 23.gif

 

ปล สงสัยกะลังสิงร่างอื่น อิอิ 13.gif

เค้าโดนเรื่องอันใด


เลือกใครก็ได้ ที่ไม่ใช่พรรคพวกแม้วPosted Image

#176 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 16:29

 

 

ผมว่าความคิดคลาดเคลื่อนมาตั้งแต่ต้นครับ

 

การบริหารประเทศไม่ได้มองแค่กำไรขาดทุน

 

วัฒนธรรม จริยธรรมของประชาชนและการรักษาอัตลักษณ์ของชาติเป็นเป้าหมายหลักของการบริหารประเทศด้วย

 

สำหรับทักษิณ สมัคร สมชายและยิ่งลักษณ์ ท่านจขกท.ให้คะแนนจุดเหล่านี้อย่างไรบ้าง

 

1 ก็คงเป็นความคิดแบบนี้ครับที่ทำให้การศึกษาของประเทศเราล้าหลัง เทียบกับสมัยเมื่อ 50 ปีก่อนครับ หลังหักลบ inflation เราใส่เงินเข้าโรงเรียนหลวงไปมากกว่าเดิมต่อเด็ก 1 คน ไม่รู้กี่เท่า แต่เหตุใดการศึกษาแย่กว่าเดิม และ ครูจนลงกว่าเดิมทั้งๆที่มีเงินเดือนใช้มากกว่าครูสมัยก่อนหลังหักค่าเงินเฟ้อแล้ว

 

ครูเสียสละตัวเองเพื่อความรู้ของเด็กๆมากมัวแต่ใช้เวลาสอนเด็กในห้องเรียน ไม่ได้ออกใช้เงินจนหนี้ของข้าราชการครูเพิ่มจนมีมูลค่าเฉลี่ยคนละ 1 ล้านบาท  => ขอโทษนะครับพอเห็นความเป็นจริงแล้วผมอยากจะสำรอก อ้างอิง http://webboard.seri...นี้ท่วมคนละล้า/

 

แล้วพวกคุณเบิ่งตาดู ทั้งๆที่งานวิจัยหลายตัวชี้ให้เห็นแล้วว่า หลวงลงทุนทางการศึกษาแล้วไม่คุ้มค่าคือใส่เงินมากขึ้นทั้งๆหักลบภาวะเงินเฟ้อแล้ว แต่เด็กโง่ลง ครูจนลง และก็ยังไม่วายจะใส่เงินเพิ่ม แล้วนี่ทำอย่างงี้มากี่ทศวรรต ถ้าเป็นธรุกิจเอกชนทำเด็กโง่ลง ครูจนลง ใครมันจะบ้ามาเรียนหรือเข้ามาขอทำงานให้ มีแต่หลวงเท่านั้นครับที่คงดำเนินธุรกิจต่อ ท่านผู้เจริญศีล เจริญธรรมทั้งหลายผมจะบอกให้ว่าถ้าเป็นเงินของพวกท่านที่ออกมาจากกระเป๋าจริงๆ ป่านนี้โรงเรียนหลวงมันปิดทั่วประเทศไปหมดแล้ว แต่นี่มันเงินไม่มีเจ้าของไง ฉันเลยไม่แคร์  

 

2 จริยธรรมของคน มันมีเครื่องหรือวิธีวัดเป็นตัวเลขได้ด้วยรึ ถ้ามันมีจริงกรุณาบอกยี่ห้อและราคา ผมจะไปซื้อมาขาย

 

 

อยากถามคำเดียวว่า คุณรู้จักครูดีแค่ไหนมิทราบ อ้างกระทู้นั้นด้วย ทำไม เพราะมันเรื่องเงินหนี้ครู

 

หนี้ของครู ไม่ได้เกี่ยวกับการที่สอนเด็กในห้อง เลยนะ ครูมีเวลาใช้เงินพอ ๆ กับอาชีพอื่นๆ 

 

แถมยังใช้เงินเยอะกว่า ด้วย ทำไมรู้ไหม คุณรู้จัก สหกรณ์ออมทรัพย์ครู ไหม

 

ครูหลาย ๆ คนกู้เงินมาซื้อรถซื้อบ้าน ซื้ออะไรต่อมิอะไร ทำให้มันเกินตัว

 

ครูหลาย ๆ คน จบมา เอาแค่เป็นอัตราจ้าง ก้อสามารถกู้เงินจากสหกรณ์ได้แล้ว

 

อ๋อ ๆ ๆ แลว้แทนที่รัฐจะหาทางช่วยเหลือ ไม่ให้ครูเป็นหนี้เพิ่ม แต่กลับส่งเสริมให้ครูกู้นั่นกู้นี่

 

ส่วนข้อ 2 เค้าวัดกันด้านความโปร่งใส ในการทำงาน 

 

คุณตอบมาครับว่าทำไมรัฐต้องเลือกที่จะช่วยครู แล้วชั่งหัวคนอื่นในประเทศ (ทำไมรัฐบาลต้องช่วยชาวนาและชั่งหัวคนอื่นๆในประเทศ แล้วความเป็นชาวนานี่เอาอะไรวัด ผมปลูกข้าวเอาไปขายพวกคุณก็ต้องให้ผมตันละ หมื่นห้า)

 

คุณรู้ไหมชาวบ้านทั่วไปเขาไม่มีสหกรณ์ให้กู้ เขาต้องกู้แบ็งค์และกู้นอกระบบ ให้กู้ก็บุญโขแล้ว

 

ประเด็นที่ผมพูดคือรัฐบาลต้องไม่ช่วยใครเลยครับ แล้วแทนที่จะเอาภาษีไปแบ่งแจกเฉพาะครู หรือ ชาวนา ให้แบ่งแจกทุกๆคนในประเทศในอัตราส่วนที่เท่าๆกัน

 

วัดจริยธรรมจากความโปร่งใสด้านการทำงาน => สงสัยตัว มิเตอร์ที่ใช้วัดจริยธรรมของธาริต เปลี่ยนสี เมื่อก่อนมันจะพังเนอะ :D


Edited by Tom PR, 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 16:52.


#177 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:10

 

 

Ricebenoil  คุณนะมั่ว และคุณแพ้ผมแล้ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก

 

ปล. ผมไม่รู้ว่าพวกคุณมีครอบครัว หรือโตมาในสังคมแบบไหน แต่สังคมไทยเป็นสังคมครอบครัว พ่อแม่ ยอมใช้น้อย ยอมเหนื่อยเพื่อให้ลูกๆสบายในภายภาคหน้า การทำภาษีมรดกให้มากขึ้นมีผลร้ายที่จะเกิดตามมาอย่างแน่นอน เพราะท้ายสุด พ่อแม่ย่อมต้องหาทางให้ลูกได้ใช้ทรัพย์สินที่ตัวเองหามา

 

kanokporn ผมเป็นแพทย์ใช้ทุนและชนบท 10+ ปีและไม่มีคลีนิคส่วนตัวครับ คนไข้ล้างไตแต่ไม่มีตังผมจ่ายออกจากกระเป๋าตัวเองให้ฟรีแต่เดี๋ยวมันก็ตายและก็มีคนใหม่มาขออีก ผมทำมาเป็นสิบๆปีตอนนี้ก็ทำอยู่ มันไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรเลย จิตสาธารณะบ้าบอคอแตกของคุณผมไม่รู้จักหรอก และเช่นเดียวกับ ricebenoil  คุณนะมันมั่ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก และกรุณาแหกตาดูให้ดีๆ ประเทศจิตสาธารณะของคุณตอนนี้มันมีกี่ประเทศ เกาหลีเหนือ คิวบา ลาว ส่วนประเทศยุโรปก็เช่นกรีซ 

 

ผมจะพูดเป็นครั้งสุดท้าย ขอให้ท่านผู้โง่เขล่าเบาปัญญาฟังไว้ให้ดี

 

ของหลวงไม่มีเจ้าของ เลยถูกนักการเมืองโกง เลยมีคนบอกว่าโกงได้แต่ต้องแบ่งด้วย

 

วิธีแก้ไข คือต้องปล่อยให้ไม่มีของหลวง และส่วนที่ขายไม่ได้เช่นถนน อุทยานแห่งชาติ ต้องปล่อยให้มีการแข่งขัน โดยให้มีเอกชนเข้ามาแข่งกันบริหาร

 

พอทุกอย่างมีเจ้าของ คนโกงจะน้อยลงอย่างแน่นอน

 

ไม่มีใครใช้เงินประหยัด เท่ากับใช้เงินของตัวเอง ถ้าคุณไม่เชื่อผมแนะนำ ให้คนอื่นลองใช้เงินของคุณแทนตัวคุณดูครับ

 

จิตสาธารณะแนะนำให้ทำกันเองครับ อย่าบังคับทำผ่านหลวง

 

ผมก็เป็นแพทย์ใช้ทุนมา 3 ปี ที่ รพ.ยะลา แล้วตอนนี้มาเรียนต่อที่ รพ.ราชวิถี 

ผมกลับไม่เห็นว่าการที่คุณอ้างว่าคุณใช้ทุนอยู่ 10 ปีที่ชนบทแล้วไม่เปิดคลินิก คุณจะวิเศษวิโสกว่าคนอื่นนี่ครับ

ผมก็ไม่เคยเปิดคลินิกเหมือนกัน แล้วไงละครับ

แล้วคุณพูดว่าผมแพ้คุณนั้น ผมไม่ทราบว่าผมแพ้ประเด็นไหนครับ

เรื่องเงินหลวงหรือของหลวง ผมก็อธิบายไปแล้ว คุณกลับไม่สามารถทักท้วงประเด็นของผมได้เลย ผมแพ้หรือ ????

เรื่อง School voucher คุณก็ยกตัวอย่างมาเอง ผมแย้งประเด็นในจุดอ่อนของระบบ School voucher ไปแล้ว คุณกลับไม่แย้งจุดอ่อนที่ผมโต้ไปได้เลย ผมแพ้หรือ ????

การลดช่องว่างของประชากร ผมก็อธิบายในแนวทางที่ผมเชื่อ คุณกลับไม่แย้งประเด็นที่คุณต้องการอยากให้เป็น ผมแพ้หรือ ????

 

ความจริงผมว่ากระทู้นี้ควรมีการโต้แย้งที่นำมาซึ่งความชัดเจนในแนวคิดที่มายิ่งขึ้นทั้ง 2 ฝ่าย

แต่คุณกลับไม่โต้แย้งในประเด็นที่เป็นจุดอ่อนของแนวคิดคุณ ทำให้กระทู้นี้เลยดูน่าเบื่อสำหรับคนอื่นๆ ไป

การที่คุณจะเป็น Libertarian หรือไม่นั้น มันไม่สำคัญหรอกครับ

แต่ปัญหาคือ คุณเข้าใจในแนวคิดของคุณแค่ไหนเท่านั้นเอง พิสูจน์ได้จากแนวคิดที่คุณเชื่อเรื่อง School voucher นั้นละครับ

ผมได้โต้แย้งในประเด็นจุดอ่อนของ School voucher ไป แต่คุณกลับไม่โต้แย้งหรือปกป้องระบบ School voucher ที่คุณเชื่อได้เลย แม้แต่ประโยคเดียว

ผมเลยไม่แน่ใจว่าคุณเชื่อว่าระบบ School voucher มันดีจริง เพราะคุณคิดเอง หรือเพราะคุณไปฟังใครมาหรือเปล่ากัน ทำให้ความชัดเจนในข้อมูลของคุณเสียไป

 

บางครั้งผมคิดไปว่า คุณอาจจะอยู่ในช่วงของ Rejection ของ Coping mechanism อยู่ก็ได้นะครับ เมื่อเจอกับการใช้เหตุผลโต้เถียงกันแบบนี้

ขอให้อ่านให้เข้าใจ ผมโต้แย้งเรื่องประเด็นแนวคิดของคุณ ไม่ได้ต้องการเอาชนะคุณนะครับ

อย่าปกป้องตัวเองโดยการ Rejection ความจริงทุกอย่างที่ไม่ตรงกับจิตใจที่คุณต้องการ เพราะไม่งั้นคุณจะปิดทางการพัฒนาของตัวคุณเอง

 

ผมพูด school voucher ดี

 

คุณพูด school voucher ไม่ดีเพราะเด็กที่พ่อแม่ไม่มีความสามารถส่งลูกมาเรียนในโรงเรียนที่ดีได้ (ผมเดาว่าคุณหมายถึง อาจต้องเดินทางไกล เลยไม่ได้มาเรียน)

 

ผมพูด ปัจจัยเรื่องการเดินทางมันน้อยกว่าเรื่องโรงเรียนหลวงไม่รับครับ ล้านเปอร์เซ็น

 

คุณพูด ปัจจัยเรื่องการเดินทางนี่ละเรื่องสำคัญ ถ้าปัจจัยค่าใช้จ่ายการเดินทางไม่สำคัญ ทำไมเด็กทุกคนในประเทศนี้จึงไม่มาเรียนที่กรุงเทพ

 

แค่นี้ก็จบแล้วครับ จริงๆผมไม่อยากพูดต่อเพราะกลัวคุณขายหน้า แต่ไหนเมื่อคุณอยากให้ผมเถียงต่อ

 

ผมอยากทราบว่าคุณไม่รู้หรือว่าจะเรียนโรงเรียนดีๆในกรุงเทพ มันไม่ใช่ง่ายๆ ไหนผมถามหน่อย มีพ่อแม่กี่คนที่ลูกสอบติดสวนกุหลาบ เตรียมอุดม สาธิต แล้วพูดว่า ค่าเดินทางแพงนะลูก ไปเรียนโรงเรียนวัดแถวบ้านดีกว่า ไว้รอน้องหมอเป็นพ่อแม่คน ผมจะรอดูคุณบอกลูกตัวเองแบบนี้ ดังนั้นปัจจัยสำคัญคือโรงเรียนดีๆเขาไม่รับต่างหาก

 

school voucher ทำให้พ่อแม่ มีทางเลือกที่จะเอาลูกเข้าที่ไหนก็ได้ และทำให้คนที่กล้าลงทุนสามารถไปเปิดโรงเรียนในที่ที่มีความต้องการสูง เช่นในเขตชนบทที่มีเด็กมากๆ

 

คนที่ไม่อ่านและไม่รู้ คือตัวน้องหมอเอง ผมเปิดประเด็นเรื่อง school voucher มานะครับ คุณไปอ่าน wiki 5 นาทีแล้วมาเถียงถือว่าไม่ให้เกียรติ

 

กรุณามองตัวเองก่อนครับ อย่าปกป้องตัวเองโดยการ Rejection ความจริงทุกอย่างที่ไม่ตรงกับจิตใจที่คุณต้องการ เพราะไม่งั้นคุณจะปิดทางการพัฒนาของตัวคุณเอง

 

 

จะตลกไปไหนครับ school voucher ก็เหมือนตั๋วเข้าดูหนังในโรง

โรงหนังมีความจุ 100 คน ไม่ว่าใครเข้ามาดูหนังในโรงนี้ก็ต้องจ่ายเงิน A บาท/ตั๋ว 1 ใบ/รอบ ดังนั้นโรงหนังจึงมีรายได้ต่อรอบ 100A บาท

แต่เมื่อเปรียบโรงเรียนเป็นธุรกิจโรงหนัง

โรงเรียน 1 โรง มีความสามารถรับนักเรียนได้ 100 คน นักเรียนต้องจ่ายค่าเล่าเรียน B บาท/คน/เทอมการศึกษา รายได้ของโรงเรียนในเทอมการศึกษาเท่ากับ 100B บาท

 

ถ้าโรงหนังเอาหนังดีเข้าบ่อยๆ ก็สามารถเพิ่มจำนวนรอบได้เท่ากับ C รอบ รายได้รวม 100AC บาท

แต่กับธุรกิจโรงเรียน มีสภาพแวดล้อมที่ดี, ครูที่ดี เนื่องจากระยะเวลาในเทอมการศีกษาเท่าเทียมกัน

โรงเรียนที่ดีเหล่านั้นจะสามารถเพิ่มรายได้มากขึ้นด้วยการเพิ่มจำนวนนักเรียนเป็น D เท่าของจำนวนเดิม รายได้รวมเท่ากับ 100BD บาท

 

หลักการสําคัญของข้อเสนอว่าด้วยคูปองการศึกษาอยู่ที่การเปลี่ยนแปลงนโยบาย การจ่ายเงินอุดหนุนด้านการศึกษา (Education Subsidy) จากเงินอุดหนุนผู้ผลิต (Producer Subsidy) มาเป็นเงินอุดหนุนผู้บริโภค (Consumer Subsidy) เด็กในวัยเรียนจะได้รับคูปอง การศึกษาจากรัฐ แล้วใช้คูปองดังกล่าวนี้ในการชําระค่าเล่าเรียน โดยมีเสรีภาพในการเลือกโรงเรียน โรงเรียนเมื่อได้รับคูปองจากนักเรียน ก็นําคูปองนั้นไปขึ้นเงินจากรัฐบาล รัฐบาลจะให้คูปองการศึกษาสําหรับระดับและประเภทการศึกษาใด และมูลค่าของคปูองการศึกษาจะเต็มตามต้นทุนการผลิตบริการการศึกษาหรือค่าเล่าเรียนที่โรงเรียนเรียกเก็บหรือไม่ เป็นประเด็นทางนโยบายที่รัฐบาลต้องตัดสินใจ 

 

เมื่อเข้าสู่ภาวะการแข่งขันกัน จำนวนนักเรียนทั้งหมดเท่ากับ X คน จำนวนนี้ค่อนข้างคงที่ ด้วยอัตราการเกิดของคนไทยคงที่อยู่ประมาณ 2 กว่าๆ มาตลอด 10 ปี

ดังนั้นในสถานการณ์สมมุติ มี X อยู่จำนวน 600 คน มีสถานศึกษาอยู่ 3 แห่งในพื้นที่นั้น

โรงเรียนที่ 1 มีสภาพแวดล้อมดี อาจารย์เยี่ยม อุปกรณ์การเรียนดี รับเด็กได้ทั้งหมด 100 คน

โรงเรียนที่ 2 มีสภาพแวดล้อมปานกลาง อาจารย์ใช้ได้ อุปกรณ์การเรียนพอทน รับเด็กได้ทั้งหมด 200 คน

โรงเรียนที่ 3 มีสภาพแวดล้อมแย่ อาจารย์ไม่ค่อยสอน อุปกรณ์การเรียนถูไถ รับเด็กได้ทั้งหมด 300 คน

 

เมื่อใช้ระบบ school voucher นั้นหมายความเด็กทั้ง 600 คน มีตั๋วคนละ 1 ใบ ราคาเท่ากัน

แน่นอนเด็กส่วนใหญ่ ย่อมอยากเข้าไปเรียนในโรงเรียนที่ 1 เพราะดีกว่าทุกอย่าง รองลงมาเป็นโรเรียนที่ 2 และที่ 3 ตามลำดับ

ในปีแรก เด็กสมัครทุกโรงเรียนเต็มตามจำนวนความจุ โรงเรียนทั้ง 3 เลี้ยงตัวเองได้

ปีต่อมา โรงเรียนที่ 1 เล็งเห็นถึงศักยภาพตัวเองที่มากอยู่แล้ว ขยายตัวเพิ่มขึ้น 1 เท่า รับเด็กได้ 200 คน ตอนนี้เฉลี่ยแต่ละโรงเรียนรับเด็กมา 200 คนเท่าๆ กัน

 

ปีต่อมา โรงเรียนที่ 1 รับรู้ถึงการรายได้ที่มากขึ้น ขยายตัวอีก 100 ที่นั่ง สรุปตอนนี้ โรงเรียนที่ 1 รับเด็ก 300 คน โรงเรียนที่ 2 รับเด็ก 200 คน โรงเรียนที่ 3 เหลือเด็ก 100 คน ทำให้รายได้ของโรงเรียนที่ 3 ไม่เพียงพอกับรายจ่าย ผู้บริหารเห็นว่าไม่คุ้มทุนจนต้องปิดตัวเอง

แล้วเด็ก 100 คน ของโรงเรียนที่ 3 ใครจะรับผิดชอบพวกเค้าละครับ ????

แล้วถ้าเด็กในโรงเรียนที่ 3 ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่พ่อแม่ไม่มีรายได้พอที่จะส่งลูกไปเรียนที่โรงเรียนอื่นนอกพื้นที่เหล่านั้นได้ พวกเค้าทำผิดอะไรจึงไม่ได้เรียนต่อละครับ ????


Edited by Ricebeanoil, 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:04.

เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#178 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:23

 

 

 

Ricebenoil  คุณนะมั่ว และคุณแพ้ผมแล้ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก

 

ปล. ผมไม่รู้ว่าพวกคุณมีครอบครัว หรือโตมาในสังคมแบบไหน แต่สังคมไทยเป็นสังคมครอบครัว พ่อแม่ ยอมใช้น้อย ยอมเหนื่อยเพื่อให้ลูกๆสบายในภายภาคหน้า การทำภาษีมรดกให้มากขึ้นมีผลร้ายที่จะเกิดตามมาอย่างแน่นอน เพราะท้ายสุด พ่อแม่ย่อมต้องหาทางให้ลูกได้ใช้ทรัพย์สินที่ตัวเองหามา

 

kanokporn ผมเป็นแพทย์ใช้ทุนและชนบท 10+ ปีและไม่มีคลีนิคส่วนตัวครับ คนไข้ล้างไตแต่ไม่มีตังผมจ่ายออกจากกระเป๋าตัวเองให้ฟรีแต่เดี๋ยวมันก็ตายและก็มีคนใหม่มาขออีก ผมทำมาเป็นสิบๆปีตอนนี้ก็ทำอยู่ มันไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรเลย จิตสาธารณะบ้าบอคอแตกของคุณผมไม่รู้จักหรอก และเช่นเดียวกับ ricebenoil  คุณนะมันมั่ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก และกรุณาแหกตาดูให้ดีๆ ประเทศจิตสาธารณะของคุณตอนนี้มันมีกี่ประเทศ เกาหลีเหนือ คิวบา ลาว ส่วนประเทศยุโรปก็เช่นกรีซ 

 

ผมจะพูดเป็นครั้งสุดท้าย ขอให้ท่านผู้โง่เขล่าเบาปัญญาฟังไว้ให้ดี

 

ของหลวงไม่มีเจ้าของ เลยถูกนักการเมืองโกง เลยมีคนบอกว่าโกงได้แต่ต้องแบ่งด้วย

 

วิธีแก้ไข คือต้องปล่อยให้ไม่มีของหลวง และส่วนที่ขายไม่ได้เช่นถนน อุทยานแห่งชาติ ต้องปล่อยให้มีการแข่งขัน โดยให้มีเอกชนเข้ามาแข่งกันบริหาร

 

พอทุกอย่างมีเจ้าของ คนโกงจะน้อยลงอย่างแน่นอน

 

ไม่มีใครใช้เงินประหยัด เท่ากับใช้เงินของตัวเอง ถ้าคุณไม่เชื่อผมแนะนำ ให้คนอื่นลองใช้เงินของคุณแทนตัวคุณดูครับ

 

จิตสาธารณะแนะนำให้ทำกันเองครับ อย่าบังคับทำผ่านหลวง

 

ผมก็เป็นแพทย์ใช้ทุนมา 3 ปี ที่ รพ.ยะลา แล้วตอนนี้มาเรียนต่อที่ รพ.ราชวิถี 

ผมกลับไม่เห็นว่าการที่คุณอ้างว่าคุณใช้ทุนอยู่ 10 ปีที่ชนบทแล้วไม่เปิดคลินิก คุณจะวิเศษวิโสกว่าคนอื่นนี่ครับ

ผมก็ไม่เคยเปิดคลินิกเหมือนกัน แล้วไงละครับ

แล้วคุณพูดว่าผมแพ้คุณนั้น ผมไม่ทราบว่าผมแพ้ประเด็นไหนครับ

เรื่องเงินหลวงหรือของหลวง ผมก็อธิบายไปแล้ว คุณกลับไม่สามารถทักท้วงประเด็นของผมได้เลย ผมแพ้หรือ ????

เรื่อง School voucher คุณก็ยกตัวอย่างมาเอง ผมแย้งประเด็นในจุดอ่อนของระบบ School voucher ไปแล้ว คุณกลับไม่แย้งจุดอ่อนที่ผมโต้ไปได้เลย ผมแพ้หรือ ????

การลดช่องว่างของประชากร ผมก็อธิบายในแนวทางที่ผมเชื่อ คุณกลับไม่แย้งประเด็นที่คุณต้องการอยากให้เป็น ผมแพ้หรือ ????

 

ความจริงผมว่ากระทู้นี้ควรมีการโต้แย้งที่นำมาซึ่งความชัดเจนในแนวคิดที่มายิ่งขึ้นทั้ง 2 ฝ่าย

แต่คุณกลับไม่โต้แย้งในประเด็นที่เป็นจุดอ่อนของแนวคิดคุณ ทำให้กระทู้นี้เลยดูน่าเบื่อสำหรับคนอื่นๆ ไป

การที่คุณจะเป็น Libertarian หรือไม่นั้น มันไม่สำคัญหรอกครับ

แต่ปัญหาคือ คุณเข้าใจในแนวคิดของคุณแค่ไหนเท่านั้นเอง พิสูจน์ได้จากแนวคิดที่คุณเชื่อเรื่อง School voucher นั้นละครับ

ผมได้โต้แย้งในประเด็นจุดอ่อนของ School voucher ไป แต่คุณกลับไม่โต้แย้งหรือปกป้องระบบ School voucher ที่คุณเชื่อได้เลย แม้แต่ประโยคเดียว

ผมเลยไม่แน่ใจว่าคุณเชื่อว่าระบบ School voucher มันดีจริง เพราะคุณคิดเอง หรือเพราะคุณไปฟังใครมาหรือเปล่ากัน ทำให้ความชัดเจนในข้อมูลของคุณเสียไป

 

บางครั้งผมคิดไปว่า คุณอาจจะอยู่ในช่วงของ Rejection ของ Coping mechanism อยู่ก็ได้นะครับ เมื่อเจอกับการใช้เหตุผลโต้เถียงกันแบบนี้

ขอให้อ่านให้เข้าใจ ผมโต้แย้งเรื่องประเด็นแนวคิดของคุณ ไม่ได้ต้องการเอาชนะคุณนะครับ

อย่าปกป้องตัวเองโดยการ Rejection ความจริงทุกอย่างที่ไม่ตรงกับจิตใจที่คุณต้องการ เพราะไม่งั้นคุณจะปิดทางการพัฒนาของตัวคุณเอง

 

ผมพูด school voucher ดี

 

คุณพูด school voucher ไม่ดีเพราะเด็กที่พ่อแม่ไม่มีความสามารถส่งลูกมาเรียนในโรงเรียนที่ดีได้ (ผมเดาว่าคุณหมายถึง อาจต้องเดินทางไกล เลยไม่ได้มาเรียน)

 

ผมพูด ปัจจัยเรื่องการเดินทางมันน้อยกว่าเรื่องโรงเรียนหลวงไม่รับครับ ล้านเปอร์เซ็น

 

คุณพูด ปัจจัยเรื่องการเดินทางนี่ละเรื่องสำคัญ ถ้าปัจจัยค่าใช้จ่ายการเดินทางไม่สำคัญ ทำไมเด็กทุกคนในประเทศนี้จึงไม่มาเรียนที่กรุงเทพ

 

แค่นี้ก็จบแล้วครับ จริงๆผมไม่อยากพูดต่อเพราะกลัวคุณขายหน้า แต่ไหนเมื่อคุณอยากให้ผมเถียงต่อ

 

ผมอยากทราบว่าคุณไม่รู้หรือว่าจะเรียนโรงเรียนดีๆในกรุงเทพ มันไม่ใช่ง่ายๆ ไหนผมถามหน่อย มีพ่อแม่กี่คนที่ลูกสอบติดสวนกุหลาบ เตรียมอุดม สาธิต แล้วพูดว่า ค่าเดินทางแพงนะลูก ไปเรียนโรงเรียนวัดแถวบ้านดีกว่า ไว้รอน้องหมอเป็นพ่อแม่คน ผมจะรอดูคุณบอกลูกตัวเองแบบนี้ ดังนั้นปัจจัยสำคัญคือโรงเรียนดีๆเขาไม่รับต่างหาก

 

school voucher ทำให้พ่อแม่ มีทางเลือกที่จะเอาลูกเข้าที่ไหนก็ได้ และทำให้คนที่กล้าลงทุนสามารถไปเปิดโรงเรียนในที่ที่มีความต้องการสูง เช่นในเขตชนบทที่มีเด็กมากๆ

 

คนที่ไม่อ่านและไม่รู้ คือตัวน้องหมอเอง ผมเปิดประเด็นเรื่อง school voucher มานะครับ คุณไปอ่าน wiki 5 นาทีแล้วมาเถียงถือว่าไม่ให้เกียรติ

 

กรุณามองตัวเองก่อนครับ อย่าปกป้องตัวเองโดยการ Rejection ความจริงทุกอย่างที่ไม่ตรงกับจิตใจที่คุณต้องการ เพราะไม่งั้นคุณจะปิดทางการพัฒนาของตัวคุณเอง

 

 

จะตลกไปไหนครับ school voucher ก็เหมือนตั๋วเข้าดูหนังในโรง

โรงหนังมีความจุ 100 คน ไม่ว่าใครเข้ามาดูหนังในโรงนี้ก็ต้องจ่ายเงิน A บาท/ตั๋ว 1 ใบ/รอบ ดังนั้นโรงหนังจึงมีรายได้ต่อรอบ 100A บาท

แต่เมื่อเปรียบโรงเรียนเป็นธุรกิจโรงหนัง

โรงเรียน 1 โรง มีความสามารถรับนักเรียนได้ 100 คน นักเรียนต้องจ่ายค่าเล่าเรียน B บาท/คน/เทอมการศึกษา รายได้ของโรงเรียนในเทอมการศึกษาเท่ากับ 100B บาท

 

ถ้าโรงหนังเอาหนังดีเข้าบ่อยๆ ก็สามารถเพิ่มจำนวนรอบได้เท่ากับ C รอบ รายได้รวม 100AC บาท

แต่กับธุรกิจโรงเรียน มีสภาพแวดล้อมที่ดี, ครูที่ดี เนื่องจากระยะเวลาในเทอมการศีกษาเท่าเทียมกัน

โรงเรียนที่ดีเหล่านั้นจะสามารถเพิ่มรายได้มากขึ้นด้วยการเพิ่มจำนวนนักเรียนเป็น D เท่าของจำนวนเดิม รายได้รวมเท่ากับ 100BD บาท

 

หลักการสําคัญของขอเสนอวาดวยคูปองการศึกษาอยูที่การเปลี่ยนแปลงนโยบาย การจายเงินอุดหนุนดานการศึกษา (Education Subsidy) จากเงินอุดหนุนผูผลิต (Producer Subsidy) มาเป็นเงินอุดหนุนผูบริโภค (Consumer Subsidy) เด็กในวัยเรียนจะไดรับคูปอง การศึกษาจากรัฐ แลวใชคูปองดังกลาวนี้ในการชําระคาเลาเรียน โดยมีเสรีภาพในการเลือกโรงเรียน โรงเรียนเมื่อไดรับคูปองจากนักเรียน ก็นําคูปองนั้นไปขึ้นเงินจากรัฐบาล รัฐบาลจะใหคูปองการศึกษาสําหรับระดับและประเภทการศึกษาใด และมูลคาของคปูองการศึกษาจะเต็มตามตนทุนการผลิตบริการการศึกษาหรือคาเลาเรียนที่โรงเรียนเรียกเก็บหรือไม เป็นประเด็นทางนโยบายที่รัฐบาลตองตัดสินใจ 

 

เมื่อเข้าสู่ภาวะการแข่งขันกัน จำนวนนักเรียนทั้งหมดเท่ากับ X คน จำนวนนี้ค่อนข้างคงที่ ด้วยอัตราการเกิดของคนไทยคงที่อยู่ประมาณ 2 กว่าๆ มาตลอด 10 ปี

ดังนั้นในสถานการณ์สมมุติ มี X อยู่จำนวน 600 คน มีสถานศึกษาอยู่ 3 แห่งในพื้นที่นั้น

โรงเรียนที่ 1 มีสภาพแวดล้อมดี อาจารย์เยี่ยม อุปกรณ์การเรียนดี รับเด็กได้ทั้งหมด 100 คน

โรงเรียนที่ 2 มีสภาพแวดล้อมปานกลาง อาจารย์ใช้ได้ อุปกรณ์การเรียนพอทน รับเด็กได้ทั้งหมด 200 คน

โรงเรียนที่ 3 มีสภาพแวดล้อมแย่ อาจารย์ไม่ค่อยสอน อุปกรณ์การเรียนถูไถ รับเด็กได้ทั้งหมด 300 คน

 

เมื่อใช้ระบบ school voucher นั้นหมายความเด็กทั้ง 600 คน มีตั๋วคนละ 1 ใบ ราคาเท่ากัน

แน่นอนเด็กส่วนใหญ่ ย่อมอยากเข้าไปเรียนในโรงเรียนที่ 1 เพราะดีกว่าทุกอย่าง รองลงมาเป็นโรเรียนที่ 2 และที่ 3 ตามลำดับ

ในปีแรก เด็กสมัครทุกโรงเรียนเต็มตามจำนวนความจุ โรงเรียนทั้ง 3 เลี้ยงตัวเองได้

ปีต่อมา โรงเรียนที่ 1 เล็งเห็นถึงศักยภาพตัวเองที่มากอยู่แล้ว ขยายตัวเพิ่มขึ้น 1 เท่า รับเด็กได้ 200 คน ตอนนี้เฉลี่ยแต่ละโรงเรียนรับเด็กมา 200 คนเท่าๆ กัน

 

ปีต่อมา โรงเรียนที่ 1 รับรู้ถึงการรายได้ที่มากขึ้น ขยายตัวอีก 100 ที่นั่ง สรุปตอนนี้ โรงเรียนที่ 1 รับเด็ก 300 คน โรงเรียนที่ 2 รับเด็ก 200 คน โรงเรียนที่ 3 เหลือเด็ก 100 คน ทำให้รายได้ของโรงเรียนที่ 3 ไม่เพียงพอกับรายจ่าย ผู้บริหารเห็นว่าไม่คุ้มทุนจนต้องปิดตัวเอง

แล้วเด็ก 100 คน ของโรงเรียนที่ 3 ใครจะรับผิดชอบพวกเค้าละครับ ????

แล้วถ้าเด็กในโรงเรียนที่ 3 ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่พ่อแม่ไม่มีรายได้พอที่จะส่งลูกไปเรียนที่โรงเรียนอื่นนอกพื้นที่เหล่านั้นได้ พวกเค้าทำผิดอะไรจึงไม่ได้เรียนต่อละครับ ????

 

 

1 ถามว่าทำไมต้องเพิ่มแค่ปีละ 100 ที่นั่ง หรือต้อง 100 ที่นั่งไม่งั้นคุณจะเถียงผมไม่ได้

 

2 คุณรู้จัก 7/11 ไหม เมื่อไหร่ 7/11 มันไม่รับลูกค้า ขอโทษนะค๊ะเราไม่ขายสินค้าแล้วค่ะวันนี้ลุกค้าเยอะเิกิน เมื่อนั้นผมจะเชื่อที่คุณพูด

 

3 ผมกลัวว่าถ้าทำ school voucher จริง จะมีแต่โรงเรียนพูดว่าใครไม่รับเรารับค่ะ เรารับไม่อั้นค่ะ

 

4 ปีต่อมาโรงเรียนที่ 3 เห็นนักเรียนลาออกมาก จึงจ้างครูที่ดีที่สุดมาสอน ทำให้มีนักเรียน entrance ติดเป็นจำนวนมาก ทำให้มีนักเรียน 300 คนเท่าเดิมในปีต่อมา


Edited by Tom PR, 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:35.


#179 อิสระเสรีชน

อิสระเสรีชน

    ทักษิณ เมื่อไหร่ตาย 5555

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,244 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:26

 

กรำเวน แม่ชีเทเรซ่า ของนู๋โดนแบนรึนี่ ประท้วง mod โด่วยังไม่หายคิดถึงเลย 23.gif

 

ปล สงสัยกะลังสิงร่างอื่น อิอิ 13.gif

เค้าโดนเรื่องอันใด

 

 

อันนี้ไม่ทราบจริงๆครับ ต้องถามคุณ MOD :D :lol: :D


"ไม่มีพระราชาองค์ใด ยิ่งใหญ่เทียบเท่าเสมอเหมือน พระราชาของพวกเราปวงชนชาวไทย"

 

 Long Live My King

 

....................................................


#180 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:43

 

 

 

 

Ricebenoil  คุณนะมั่ว และคุณแพ้ผมแล้ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก

 

ปล. ผมไม่รู้ว่าพวกคุณมีครอบครัว หรือโตมาในสังคมแบบไหน แต่สังคมไทยเป็นสังคมครอบครัว พ่อแม่ ยอมใช้น้อย ยอมเหนื่อยเพื่อให้ลูกๆสบายในภายภาคหน้า การทำภาษีมรดกให้มากขึ้นมีผลร้ายที่จะเกิดตามมาอย่างแน่นอน เพราะท้ายสุด พ่อแม่ย่อมต้องหาทางให้ลูกได้ใช้ทรัพย์สินที่ตัวเองหามา

 

kanokporn ผมเป็นแพทย์ใช้ทุนและชนบท 10+ ปีและไม่มีคลีนิคส่วนตัวครับ คนไข้ล้างไตแต่ไม่มีตังผมจ่ายออกจากกระเป๋าตัวเองให้ฟรีแต่เดี๋ยวมันก็ตายและก็มีคนใหม่มาขออีก ผมทำมาเป็นสิบๆปีตอนนี้ก็ทำอยู่ มันไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรเลย จิตสาธารณะบ้าบอคอแตกของคุณผมไม่รู้จักหรอก และเช่นเดียวกับ ricebenoil  คุณนะมันมั่ว สิ่งที่คุณตอบมาไม่ได้เป็นการโต้แย้งที่ฟังขึ้นเลย ดังนั้นผมจะไม่เสียเวลาคุยกับคุณอีก และกรุณาแหกตาดูให้ดีๆ ประเทศจิตสาธารณะของคุณตอนนี้มันมีกี่ประเทศ เกาหลีเหนือ คิวบา ลาว ส่วนประเทศยุโรปก็เช่นกรีซ 

 

ผมจะพูดเป็นครั้งสุดท้าย ขอให้ท่านผู้โง่เขล่าเบาปัญญาฟังไว้ให้ดี

 

ของหลวงไม่มีเจ้าของ เลยถูกนักการเมืองโกง เลยมีคนบอกว่าโกงได้แต่ต้องแบ่งด้วย

 

วิธีแก้ไข คือต้องปล่อยให้ไม่มีของหลวง และส่วนที่ขายไม่ได้เช่นถนน อุทยานแห่งชาติ ต้องปล่อยให้มีการแข่งขัน โดยให้มีเอกชนเข้ามาแข่งกันบริหาร

 

พอทุกอย่างมีเจ้าของ คนโกงจะน้อยลงอย่างแน่นอน

 

ไม่มีใครใช้เงินประหยัด เท่ากับใช้เงินของตัวเอง ถ้าคุณไม่เชื่อผมแนะนำ ให้คนอื่นลองใช้เงินของคุณแทนตัวคุณดูครับ

 

จิตสาธารณะแนะนำให้ทำกันเองครับ อย่าบังคับทำผ่านหลวง

 

ผมก็เป็นแพทย์ใช้ทุนมา 3 ปี ที่ รพ.ยะลา แล้วตอนนี้มาเรียนต่อที่ รพ.ราชวิถี 

ผมกลับไม่เห็นว่าการที่คุณอ้างว่าคุณใช้ทุนอยู่ 10 ปีที่ชนบทแล้วไม่เปิดคลินิก คุณจะวิเศษวิโสกว่าคนอื่นนี่ครับ

ผมก็ไม่เคยเปิดคลินิกเหมือนกัน แล้วไงละครับ

แล้วคุณพูดว่าผมแพ้คุณนั้น ผมไม่ทราบว่าผมแพ้ประเด็นไหนครับ

เรื่องเงินหลวงหรือของหลวง ผมก็อธิบายไปแล้ว คุณกลับไม่สามารถทักท้วงประเด็นของผมได้เลย ผมแพ้หรือ ????

เรื่อง School voucher คุณก็ยกตัวอย่างมาเอง ผมแย้งประเด็นในจุดอ่อนของระบบ School voucher ไปแล้ว คุณกลับไม่แย้งจุดอ่อนที่ผมโต้ไปได้เลย ผมแพ้หรือ ????

การลดช่องว่างของประชากร ผมก็อธิบายในแนวทางที่ผมเชื่อ คุณกลับไม่แย้งประเด็นที่คุณต้องการอยากให้เป็น ผมแพ้หรือ ????

 

ความจริงผมว่ากระทู้นี้ควรมีการโต้แย้งที่นำมาซึ่งความชัดเจนในแนวคิดที่มายิ่งขึ้นทั้ง 2 ฝ่าย

แต่คุณกลับไม่โต้แย้งในประเด็นที่เป็นจุดอ่อนของแนวคิดคุณ ทำให้กระทู้นี้เลยดูน่าเบื่อสำหรับคนอื่นๆ ไป

การที่คุณจะเป็น Libertarian หรือไม่นั้น มันไม่สำคัญหรอกครับ

แต่ปัญหาคือ คุณเข้าใจในแนวคิดของคุณแค่ไหนเท่านั้นเอง พิสูจน์ได้จากแนวคิดที่คุณเชื่อเรื่อง School voucher นั้นละครับ

ผมได้โต้แย้งในประเด็นจุดอ่อนของ School voucher ไป แต่คุณกลับไม่โต้แย้งหรือปกป้องระบบ School voucher ที่คุณเชื่อได้เลย แม้แต่ประโยคเดียว

ผมเลยไม่แน่ใจว่าคุณเชื่อว่าระบบ School voucher มันดีจริง เพราะคุณคิดเอง หรือเพราะคุณไปฟังใครมาหรือเปล่ากัน ทำให้ความชัดเจนในข้อมูลของคุณเสียไป

 

บางครั้งผมคิดไปว่า คุณอาจจะอยู่ในช่วงของ Rejection ของ Coping mechanism อยู่ก็ได้นะครับ เมื่อเจอกับการใช้เหตุผลโต้เถียงกันแบบนี้

ขอให้อ่านให้เข้าใจ ผมโต้แย้งเรื่องประเด็นแนวคิดของคุณ ไม่ได้ต้องการเอาชนะคุณนะครับ

อย่าปกป้องตัวเองโดยการ Rejection ความจริงทุกอย่างที่ไม่ตรงกับจิตใจที่คุณต้องการ เพราะไม่งั้นคุณจะปิดทางการพัฒนาของตัวคุณเอง

 

ผมพูด school voucher ดี

 

คุณพูด school voucher ไม่ดีเพราะเด็กที่พ่อแม่ไม่มีความสามารถส่งลูกมาเรียนในโรงเรียนที่ดีได้ (ผมเดาว่าคุณหมายถึง อาจต้องเดินทางไกล เลยไม่ได้มาเรียน)

 

ผมพูด ปัจจัยเรื่องการเดินทางมันน้อยกว่าเรื่องโรงเรียนหลวงไม่รับครับ ล้านเปอร์เซ็น

 

คุณพูด ปัจจัยเรื่องการเดินทางนี่ละเรื่องสำคัญ ถ้าปัจจัยค่าใช้จ่ายการเดินทางไม่สำคัญ ทำไมเด็กทุกคนในประเทศนี้จึงไม่มาเรียนที่กรุงเทพ

 

แค่นี้ก็จบแล้วครับ จริงๆผมไม่อยากพูดต่อเพราะกลัวคุณขายหน้า แต่ไหนเมื่อคุณอยากให้ผมเถียงต่อ

 

ผมอยากทราบว่าคุณไม่รู้หรือว่าจะเรียนโรงเรียนดีๆในกรุงเทพ มันไม่ใช่ง่ายๆ ไหนผมถามหน่อย มีพ่อแม่กี่คนที่ลูกสอบติดสวนกุหลาบ เตรียมอุดม สาธิต แล้วพูดว่า ค่าเดินทางแพงนะลูก ไปเรียนโรงเรียนวัดแถวบ้านดีกว่า ไว้รอน้องหมอเป็นพ่อแม่คน ผมจะรอดูคุณบอกลูกตัวเองแบบนี้ ดังนั้นปัจจัยสำคัญคือโรงเรียนดีๆเขาไม่รับต่างหาก

 

school voucher ทำให้พ่อแม่ มีทางเลือกที่จะเอาลูกเข้าที่ไหนก็ได้ และทำให้คนที่กล้าลงทุนสามารถไปเปิดโรงเรียนในที่ที่มีความต้องการสูง เช่นในเขตชนบทที่มีเด็กมากๆ

 

คนที่ไม่อ่านและไม่รู้ คือตัวน้องหมอเอง ผมเปิดประเด็นเรื่อง school voucher มานะครับ คุณไปอ่าน wiki 5 นาทีแล้วมาเถียงถือว่าไม่ให้เกียรติ

 

กรุณามองตัวเองก่อนครับ อย่าปกป้องตัวเองโดยการ Rejection ความจริงทุกอย่างที่ไม่ตรงกับจิตใจที่คุณต้องการ เพราะไม่งั้นคุณจะปิดทางการพัฒนาของตัวคุณเอง

 

 

จะตลกไปไหนครับ school voucher ก็เหมือนตั๋วเข้าดูหนังในโรง

โรงหนังมีความจุ 100 คน ไม่ว่าใครเข้ามาดูหนังในโรงนี้ก็ต้องจ่ายเงิน A บาท/ตั๋ว 1 ใบ/รอบ ดังนั้นโรงหนังจึงมีรายได้ต่อรอบ 100A บาท

แต่เมื่อเปรียบโรงเรียนเป็นธุรกิจโรงหนัง

โรงเรียน 1 โรง มีความสามารถรับนักเรียนได้ 100 คน นักเรียนต้องจ่ายค่าเล่าเรียน B บาท/คน/เทอมการศึกษา รายได้ของโรงเรียนในเทอมการศึกษาเท่ากับ 100B บาท

 

ถ้าโรงหนังเอาหนังดีเข้าบ่อยๆ ก็สามารถเพิ่มจำนวนรอบได้เท่ากับ C รอบ รายได้รวม 100AC บาท

แต่กับธุรกิจโรงเรียน มีสภาพแวดล้อมที่ดี, ครูที่ดี เนื่องจากระยะเวลาในเทอมการศีกษาเท่าเทียมกัน

โรงเรียนที่ดีเหล่านั้นจะสามารถเพิ่มรายได้มากขึ้นด้วยการเพิ่มจำนวนนักเรียนเป็น D เท่าของจำนวนเดิม รายได้รวมเท่ากับ 100BD บาท

 

หลักการสําคัญของขอเสนอวาดวยคูปองการศึกษาอยูที่การเปลี่ยนแปลงนโยบาย การจายเงินอุดหนุนดานการศึกษา (Education Subsidy) จากเงินอุดหนุนผูผลิต (Producer Subsidy) มาเป็นเงินอุดหนุนผูบริโภค (Consumer Subsidy) เด็กในวัยเรียนจะไดรับคูปอง การศึกษาจากรัฐ แลวใชคูปองดังกลาวนี้ในการชําระคาเลาเรียน โดยมีเสรีภาพในการเลือกโรงเรียน โรงเรียนเมื่อไดรับคูปองจากนักเรียน ก็นําคูปองนั้นไปขึ้นเงินจากรัฐบาล รัฐบาลจะใหคูปองการศึกษาสําหรับระดับและประเภทการศึกษาใด และมูลคาของคปูองการศึกษาจะเต็มตามตนทุนการผลิตบริการการศึกษาหรือคาเลาเรียนที่โรงเรียนเรียกเก็บหรือไม เป็นประเด็นทางนโยบายที่รัฐบาลตองตัดสินใจ 

 

เมื่อเข้าสู่ภาวะการแข่งขันกัน จำนวนนักเรียนทั้งหมดเท่ากับ X คน จำนวนนี้ค่อนข้างคงที่ ด้วยอัตราการเกิดของคนไทยคงที่อยู่ประมาณ 2 กว่าๆ มาตลอด 10 ปี

ดังนั้นในสถานการณ์สมมุติ มี X อยู่จำนวน 600 คน มีสถานศึกษาอยู่ 3 แห่งในพื้นที่นั้น

โรงเรียนที่ 1 มีสภาพแวดล้อมดี อาจารย์เยี่ยม อุปกรณ์การเรียนดี รับเด็กได้ทั้งหมด 100 คน

โรงเรียนที่ 2 มีสภาพแวดล้อมปานกลาง อาจารย์ใช้ได้ อุปกรณ์การเรียนพอทน รับเด็กได้ทั้งหมด 200 คน

โรงเรียนที่ 3 มีสภาพแวดล้อมแย่ อาจารย์ไม่ค่อยสอน อุปกรณ์การเรียนถูไถ รับเด็กได้ทั้งหมด 300 คน

 

เมื่อใช้ระบบ school voucher นั้นหมายความเด็กทั้ง 600 คน มีตั๋วคนละ 1 ใบ ราคาเท่ากัน

แน่นอนเด็กส่วนใหญ่ ย่อมอยากเข้าไปเรียนในโรงเรียนที่ 1 เพราะดีกว่าทุกอย่าง รองลงมาเป็นโรเรียนที่ 2 และที่ 3 ตามลำดับ

ในปีแรก เด็กสมัครทุกโรงเรียนเต็มตามจำนวนความจุ โรงเรียนทั้ง 3 เลี้ยงตัวเองได้

ปีต่อมา โรงเรียนที่ 1 เล็งเห็นถึงศักยภาพตัวเองที่มากอยู่แล้ว ขยายตัวเพิ่มขึ้น 1 เท่า รับเด็กได้ 200 คน ตอนนี้เฉลี่ยแต่ละโรงเรียนรับเด็กมา 200 คนเท่าๆ กัน

 

ปีต่อมา โรงเรียนที่ 1 รับรู้ถึงการรายได้ที่มากขึ้น ขยายตัวอีก 100 ที่นั่ง สรุปตอนนี้ โรงเรียนที่ 1 รับเด็ก 300 คน โรงเรียนที่ 2 รับเด็ก 200 คน โรงเรียนที่ 3 เหลือเด็ก 100 คน ทำให้รายได้ของโรงเรียนที่ 3 ไม่เพียงพอกับรายจ่าย ผู้บริหารเห็นว่าไม่คุ้มทุนจนต้องปิดตัวเอง

แล้วเด็ก 100 คน ของโรงเรียนที่ 3 ใครจะรับผิดชอบพวกเค้าละครับ ????

แล้วถ้าเด็กในโรงเรียนที่ 3 ส่วนใหญ่เป็นเด็กที่พ่อแม่ไม่มีรายได้พอที่จะส่งลูกไปเรียนที่โรงเรียนอื่นนอกพื้นที่เหล่านั้นได้ พวกเค้าทำผิดอะไรจึงไม่ได้เรียนต่อละครับ ????

 

 

1 ถามว่าทำไมต้องเพิ่มแค่ 100 ที่นั่ง หรือต้อง 100 ที่นั่งไม่งั้นคุณจะเถียงผมไม่ได้

2 เด็ก 100 คน ของโรงเรียนที่ 3 ก็ไปเข้าโรงเรียนที่ 1 ไงครับ

 

 

1. เคยคิดจะทำธุรกิจไหมครับ การขยายธุรกิจแบบปกติแล้ว ในระยะแรกของช่วงการทำธุรกิจเราสามารถขยายตัวได้เป็นจำนวนเท่าตัวได้ง่ายด้วยว่าเงินลงทุนแรกนั้นยังน้อย เช่นสมมุติว่าคุณทำร้านขายกาแฟลงทุนร้านละ 1 ล้านบาท ลงทุนอีก 1 ร้านก็แค่ 2 ล้านบาท ซึ่งไม่ได้หนักมาก กำไรคิดว่าทั้งปี 1 แสนบาท ใช้เวลา 2 ปีคืนทุน แล้วต่อมาคุณมีอยู่ 2 ร้านอยู่แล้ว คิดว่กำไรดีใช้ได้ จะลงทุนเพิ่มอีก 10 ร้าน ใช้ทุนอีก 10 ล้าน กำไรระหว่างที่กำลังสร้าง 10 ร้านแต่ยังไม่ได้เริ่มขายก็ไม่มี ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยในเงินลงทุน 10 ล้าน จะเอาที่ไหนจ่าย ชีวิตจริงไม่ได้เป็นบัญญัติไตรยางค์ตามที่คิดในกระดาษหรอกนะ บางครั้งก็ต้องดูโลกความเป็นจริงบ้าง

 

2. โรงเรียนที่ 1 รับเด็กเต็มที่ ณ ตอนนั้นได้ 300 คน ในโลกแห่งความเป็นจริง อาคารแต่ละหลังไม่ได้สร้างเสร็จในชั่วพริบตาหรอกนะครับ ในจินตนาการใครจะคิดยังไงก็ได้ คุณใช้คน 10 คนสร้างบ้านเสร็จใน 100 วัน ไม่ได้หมายความว่า คุณจะสามารถใช้คน 1000 คน สร้างบ้านเสร็จในวันเดียวนะครับ 


เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#181 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:08

ที่คุณพูดมา 3 โรงเรียน นั่นไม่ใช่จินตนาการหรอกหรือ หรือในความเป็นจริงเรามีแค่ 3 โรงเรียน
 
ประเด็นที่คุณพูดคือ school voucher อาจมีปัญหาในระยะถ่ายเปลี่ยน แต่เราเริ่มทีละจังหวัดหรืออำเภอก็ได้ ไม่ได้บอกว่าต้องเริ่มทีเดียว 73 จังหวัด

และอย่าบอกนะว่าระบบตอนนี้ที่เราใช้อยู่ ทำให้นักเรียนทุกคนมีที่เรียน ระบบตอนนี้ทำให้คนไม่มีที่เรียนเยอะเยะ

Edited by Tom PR, 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 18:40.


#182 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:09

ที่คุณพูดมา 3 โรงเรียน นั่นไม่ใช่จินตนาการหรอกหรือ หรือในความเป็นจริงเรามีแค่ 3 โรงเรียน
 
ประเด็นที่คุณพูดคือ school voucher อาจมีปัญหาในระยะถ่ายเปลี่ยน แต่เราเริ่มทีละจังหวัดหรืออำเภอก็ได้ ไม่ได้บอกว่าต้องเริ่มทีเดียว 73 จังหวัด

และอย่าบอกนะว่าระบบตอนนี้ที่เราใช้อยู่ ทำให้นักเรียนทุกคนมีที่เรียน ระบบตอนนี้ทำให้คนไม่มีที่เรียนเยอะเยะ

 

นี่แค่เหตุการณ์สมมุติ โรงเรียนที่ยกมามีแค่ 3 โรงเรียน คุณยังแก้สมการนี้ไม่ได้ แล้วถ้าสเกลมันใหญ่กว่านั้นเป็นจังหวัด โรงเรียนเพิ่มเป็นสิบโรงแบบนี้ มันจะไม่ยิ่งแย่ไปกว่านี้เหรอครับ 

เอาละ โดยส่วนตัวนะครับ จากที่ได้อ่านบทความเกี่ยวกับเรื่อง School voucher ไปแล้ว ผมค่อนข้างเห็นด้วยกับแนวคิดนี้นะครับ

ผมมองว่ามันสามารถยกระดับการศึกษาได้จริงๆ แต่ระบบนี้มันมีจุดอ่อนบางเรื่องจากที่ผมได้ยกมานั้นก็ส่วนหนึ่ง

ถ้าสามารถแก้ไขจุดอ่อนบางอย่างได้ ระบบนี้อาจจะเป็นอนาคตสำหรับการศึกษาไทยเลยทีเดียว


เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#183 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 14 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:54

 

 

2 คุณรู้จัก 7/11 ไหม เมื่อไหร่ 7/11 มันไม่รับลูกค้า ขอโทษนะค๊ะเราไม่ขายสินค้าแล้วค่ะวันนี้ลุกค้าเยอะเิกิน เมื่อนั้นผมจะเชื่อที่คุณพูด

 

3 ผมกลัวว่าถ้าทำ school voucher จริง จะมีแต่โรงเรียนพูดว่าใครไม่รับเรารับค่ะ เรารับไม่อั้นค่ะ

 

4 ปีต่อมาโรงเรียนที่ 3 เห็นนักเรียนลาออกมาก จึงจ้างครูที่ดีที่สุดมาสอน ทำให้มีนักเรียน entrance ติดเป็นจำนวนมาก ทำให้มีนักเรียน 300 คนเท่าเดิมในปีต่อมา

 

 

2. ปัญหาถ้าคุณจะเอาไปเทียบกับ 7/11 คุณต้องพิจารณาเรื่องของสินค้าในแต่ละธุรกิจก่อนนะครับ

ธุรกิจ 7/11 โดยเนื้อหาแล้วคือธุรกิจการซื้อมาแล้วขายไป ฟันกำไรจากส่วนต่าง ตัวสินค้าผู้ขายไม่ได้เป็นผู้ผลิต ขอแค่ขนส่งสินค้าให้ทันกับจำนวนที่ขาย ยังไงก็ขายได้เรื่อยๆ 

ส่วนธุรกิจการศึกษา มีการลงทุนและการคิดกำไรที่ไม่เหมือนกัน แม้ว่าสุดท้ายจะดูที่เม็ดเงินที่ได้ก็ตาม การลงทุนกับธุรกิจการศึกษาคือการลงทุนกับทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งใช้ระยะเวลาค่อนข้างนานกว่าที่จะเห็นผลเป็นตัวเงินโดยทันที

นี่ผมจะพูดในแง่คนคือสินค้านะครับ อาจจะดูเหมือนหน้าเลือดไปบ้าง ภาษาประมาณนี้นะครับ "สำหรับวาณิช แม้แต่ความซื่อสัตย์ก็ถูกคำนวณเป็นเงินตรา" รับไม่ได้ ข้ามไปเลยก็ได้ครับ 

ในธุรกิจการศึกษา เด็กที่เรารับเข้ามาคือวัตถุดิบ โรงเรียนคือโรงงาน ผลการสอบหรือการประเมินคือตัวรับประกันคุณภาพสินค้าจากโรงงานนั้นๆ

กำไรคือเงินที่จะเข้ามาหลังจากสินค้ารุ่นแรกได้รับการประเมินคุณค่าแล้ว เด็กที่จบมาแล้วโรงเรียนมาแล้วคือสินค้า 

เทียบกับโรงเรียนปกติในประเทศไทย การประเมินคุณภาพของสินค้าได้กระทำกันทุกปีโดยสิ่งที่เรียกว่าการสอบส่วนกลางหรือเอนทรานซ์ในสมัยก่อน

ระยะเวลาของการแปรรูปวัตถุดิบให้เป็นสินค้าคือ 6 ปี นั้นหมายความว่าถ้าทุกโรงงานเริ่มต้นจากศูนย์เท่ากัน จะต้องใช้ระยะเวลา 6 ปีเท่ากันทุกโรงงงานเพื่อผลิตสินค้าตัวนี้ แล้วไปทดสอบพร้อมกัน

ในระยะเวลา 6 ปีนี้ คือระยะเวลาแห่งการลงทุน ที่คุณจะทำยังไงก็แล้วแต่ที่จะทำให้จบปีที่ 6 สินค้าคุณมีคุณภาพดีที่สุด ไม่ใช่ระยะเวลาแห่งการเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ กำไรยังไม่เข้ามาจนกว่าสินค้าจะได้รับการประเมินคุณภาพ 

ดังนั้นสำหรับธุกิจนี้ การผลิตสินค้าคือระยะเวลา 6 ปี การเอาธุรกิจการศึกษาไปเทียบกับธุรกิจซื้อมาขายไปนั้น แสดงว่าคุณไม่เข้าใจเรื่องการทำการค้าในธุรกิจแบบนี้จริงๆ

 

 

คำกล่าวของขงจื้อ

 

“หากเจ้าวางแผนไว้ 1 ปี...จงปลูกข้าว                  

หากวางแผน 10 ปี...จงปลูกต้นไม้                  

หากวางแผน 100 ปี...จงให้ความรู้แก่บุตรหลาน”

 

3. การที่คุณจะบอกว่ารับไม่อั้น นั้นหมายถึงว่าโรงงานคุณต้องมีสายการผลิตเหลือพอที่จะรับวัตถุดิบเพิ่ม หากไม่เช่นนั้นแล้วผ่านไป 6 ปี สินค้าที่คุณผลิตมาแล้วไม่ได้คุณภาพ มันจะทำลายชื่อเสียงของโรงงานไปในที่สุด

ลักษณะของธุรกิจนี้ กำไรไม่ได้อยู่ที่เงินตรงหน้า แต่อยู่ที่เงินที่จะตามมาข้างหลัง

 

4. ธุรกิจแบบนี้การลงทุนคือ 6 ปี ถ้าโรงเรียนที่ 3 คาดว่าสามารถยืนระยะได้ถึง 6 ปี โดยสามารถแบกรับค่าใช้จ่ายจ้างครูที่ดีและรับสภาพตัวเลขติดลบในบัญชีไปได้ การแก้ปัญหาแบบนั้นก็คงได้ผล

ธุรกิจการศึกษา สิ่งที่ต้องการมากกว่าตัวเลขในบัญชี คือ ชื่อเสียง ตราบใดที่คุณมีชื่อเสียง เงินจะวิ่งเข้ามาคุณเอง

"ยามที่คุณถูกชื่นชม ผู้คนจะยินดีซื้อทุกสิ่งที่คุณขาย ไม่ว่าพวกเขาจะต้องการมันหรือไม่ก็ตาม" 


เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#184 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 06:07

 

 

 

2 คุณรู้จัก 7/11 ไหม เมื่อไหร่ 7/11 มันไม่รับลูกค้า ขอโทษนะค๊ะเราไม่ขายสินค้าแล้วค่ะวันนี้ลุกค้าเยอะเิกิน เมื่อนั้นผมจะเชื่อที่คุณพูด

 

3 ผมกลัวว่าถ้าทำ school voucher จริง จะมีแต่โรงเรียนพูดว่าใครไม่รับเรารับค่ะ เรารับไม่อั้นค่ะ

 

4 ปีต่อมาโรงเรียนที่ 3 เห็นนักเรียนลาออกมาก จึงจ้างครูที่ดีที่สุดมาสอน ทำให้มีนักเรียน entrance ติดเป็นจำนวนมาก ทำให้มีนักเรียน 300 คนเท่าเดิมในปีต่อมา

 

 

2. ปัญหาถ้าคุณจะเอาไปเทียบกับ 7/11 คุณต้องพิจารณาเรื่องของสินค้าในแต่ละธุรกิจก่อนนะครับ

ธุรกิจ 7/11 โดยเนื้อหาแล้วคือธุรกิจการซื้อมาแล้วขายไป ฟันกำไรจากส่วนต่าง ตัวสินค้าผู้ขายไม่ได้เป็นผู้ผลิต ขอแค่ขนส่งสินค้าให้ทันกับจำนวนที่ขาย ยังไงก็ขายได้เรื่อยๆ 

ส่วนธุรกิจการศึกษา มีการลงทุนและการคิดกำไรที่ไม่เหมือนกัน แม้ว่าสุดท้ายจะดูที่เม็ดเงินที่ได้ก็ตาม การลงทุนกับธุรกิจการศึกษาคือการลงทุนกับทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งใช้ระยะเวลาค่อนข้างนานกว่าที่จะเห็นผลเป็นตัวเงินโดยทันที

นี่ผมจะพูดในแง่คนคือสินค้านะครับ อาจจะดูเหมือนหน้าเลือดไปบ้าง ภาษาประมาณนี้นะครับ "สำหรับวาณิช แม้แต่ความซื่อสัตย์ก็ถูกคำนวณเป็นเงินตรา" รับไม่ได้ ข้ามไปเลยก็ได้ครับ 

ในธุรกิจการศึกษา เด็กที่เรารับเข้ามาคือวัตถุดิบ โรงเรียนคือโรงงาน ผลการสอบหรือการประเมินคือตัวรับประกันคุณภาพสินค้าจากโรงงานนั้นๆ

กำไรคือเงินที่จะเข้ามาหลังจากสินค้ารุ่นแรกได้รับการประเมินคุณค่าแล้ว เด็กที่จบมาแล้วโรงเรียนมาแล้วคือสินค้า 

เทียบกับโรงเรียนปกติในประเทศไทย การประเมินคุณภาพของสินค้าได้กระทำกันทุกปีโดยสิ่งที่เรียกว่าการสอบส่วนกลางหรือเอนทรานซ์ในสมัยก่อน

ระยะเวลาของการแปรรูปวัตถุดิบให้เป็นสินค้าคือ 6 ปี นั้นหมายความว่าถ้าทุกโรงงานเริ่มต้นจากศูนย์เท่ากัน จะต้องใช้ระยะเวลา 6 ปีเท่ากันทุกโรงงงานเพื่อผลิตสินค้าตัวนี้ แล้วไปทดสอบพร้อมกัน

ในระยะเวลา 6 ปีนี้ คือระยะเวลาแห่งการลงทุน ที่คุณจะทำยังไงก็แล้วแต่ที่จะทำให้จบปีที่ 6 สินค้าคุณมีคุณภาพดีที่สุด ไม่ใช่ระยะเวลาแห่งการเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ กำไรยังไม่เข้ามาจนกว่าสินค้าจะได้รับการประเมินคุณภาพ 

ดังนั้นสำหรับธุกิจนี้ การผลิตสินค้าคือระยะเวลา 6 ปี การเอาธุรกิจการศึกษาไปเทียบกับธุรกิจซื้อมาขายไปนั้น แสดงว่าคุณไม่เข้าใจเรื่องการทำการค้าในธุรกิจแบบนี้จริงๆ

 

 

คำกล่าวของขงจื้อ

 

“หากเจ้าวางแผนไว้ 1 ปี...จงปลูกข้าว                  

หากวางแผน 10 ปี...จงปลูกต้นไม้                  

หากวางแผน 100 ปี...จงให้ความรู้แก่บุตรหลาน”

 

3. การที่คุณจะบอกว่ารับไม่อั้น นั้นหมายถึงว่าโรงงานคุณต้องมีสายการผลิตเหลือพอที่จะรับวัตถุดิบเพิ่ม หากไม่เช่นนั้นแล้วผ่านไป 6 ปี สินค้าที่คุณผลิตมาแล้วไม่ได้คุณภาพ มันจะทำลายชื่อเสียงของโรงงานไปในที่สุด

ลักษณะของธุรกิจนี้ กำไรไม่ได้อยู่ที่เงินตรงหน้า แต่อยู่ที่เงินที่จะตามมาข้างหลัง

 

4. ธุรกิจแบบนี้การลงทุนคือ 6 ปี ถ้าโรงเรียนที่ 3 คาดว่าสามารถยืนระยะได้ถึง 6 ปี โดยสามารถแบกรับค่าใช้จ่ายจ้างครูที่ดีและรับสภาพตัวเลขติดลบในบัญชีไปได้ การแก้ปัญหาแบบนั้นก็คงได้ผล

ธุรกิจการศึกษา สิ่งที่ต้องการมากกว่าตัวเลขในบัญชี คือ ชื่อเสียง ตราบใดที่คุณมีชื่อเสียง เงินจะวิ่งเข้ามาคุณเอง

"ยามที่คุณถูกชื่นชม ผู้คนจะยินดีซื้อทุกสิ่งที่คุณขาย ไม่ว่าพวกเขาจะต้องการมันหรือไม่ก็ตาม" 

 

คุณพูดเพื่อเอาชนะซึ่งมันไม่ได้เกี่ยวกับสิ่งที่เราเถียงกันแล้ว แต่ถ้าชัยชนะเป็นสิ่งที่คุณต้องการ น้องหมอเอาไปเถอะ ผมยกให้

 

ผมพูดเพราะว่าผมต้องการสังคมที่ดีขึ้น ประเทศที่ปราศจากนักการเมืองที่จะมาโกงกิน ไม่ได้ต้องการที่จะเอาชนะ และผมคิดว่า school voucher เป็นหนึ่งตัวอย่างที่ดีที่จะแก้ไขปัญหานี้ ถ้าบ้านเราใช้ระบบนี้ตอนนี้ก็ไม่มีปัญหาเรื่อง ipad ต่อเด็ก 1 คน แน่นอน

 

ในมุมมองของนัก stat ครับ ทุกอย่างตีค่าได้เป็นเงิน เรื่องที่คุณพูดเป็นเรื่องธรรมดา ขนาด fetus ยังถูกตีค่าเป็นเงินได้ในการทำวิจัยเรื่อง abortion และการลดลงของ crime rate

 

ผมว่าคุณกำลังต้องการจะพูดว่าระบบใหม่ ทำให้เด็กถูกมองเป็นแค่สินค้า แต่ผมขอร้องให้คุณมองเรื่องการที่พ่อแม่ต้องเสียแป๊ะเจี่ย และมีเด็กมากมายที่ไม่มีที่เรียนหนังสือ และปัญหาคอรัปชั่นในระบบปัจจุบัน ผมว่าเด็กก็ถูกมองเป็นสินค้าอยู่แล้ว คุณไม่คิดหรือว่าการที่โรงเรียนรัฐบาลดีๆ รับแต่เด็กเก่งๆเข้าเรียน ใครไม่เก่งกุไม่รับ นั่นคือการหาประโยชน์เข้าโรงเรียน โดยไม่คำนึงถึงเด็ก วิธีแก้ปัญหานี้มีเพียงวิธีเดียวคือ school voucher

 

ปัญหาหลักที่ทำให้ school voucher เกิดไม่ได้ที่คุณไม่ได้พูดแต่ผมรู้คือ อาจารย์ที่ไร้ความสามารถ ที่ไม่สามารถสอนให้เด็กเก่งหรือพัฒนาได้ จะไม่มีงานทำ

 

School voucher จะเป็นประโยชน์ต่อเด็กๆซึ่งคือผู้บริโภค แต่จะเป็นผลเสียต่ออาจารย์ที่มีความสามารถไม่พอ ดังนั้นอาจารย์โรงเรียนหลวงจะไม่ยอมให้เกิดระบบแบบนี้ขึ้น

 

มันเหมือนกับระบบยศตำรวจ ที่เราต้องการล้างมันออกนั่นแหละ

 

ผมขอให้คุณดูวิดิโอนี้ก่อนที่จะเขียนอะไรเพิ่ม

 

 

 

ปล teacher union ในอเมริกามันก็เหมือนกับ ระบบข้าราชการครูไทยครับ


Edited by Tom PR, 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 06:16.


#185 Ricebeanoil

Ricebeanoil

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,320 posts

ตอบ 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:39

 

 

 

 

2 คุณรู้จัก 7/11 ไหม เมื่อไหร่ 7/11 มันไม่รับลูกค้า ขอโทษนะค๊ะเราไม่ขายสินค้าแล้วค่ะวันนี้ลุกค้าเยอะเิกิน เมื่อนั้นผมจะเชื่อที่คุณพูด

 

3 ผมกลัวว่าถ้าทำ school voucher จริง จะมีแต่โรงเรียนพูดว่าใครไม่รับเรารับค่ะ เรารับไม่อั้นค่ะ

 

4 ปีต่อมาโรงเรียนที่ 3 เห็นนักเรียนลาออกมาก จึงจ้างครูที่ดีที่สุดมาสอน ทำให้มีนักเรียน entrance ติดเป็นจำนวนมาก ทำให้มีนักเรียน 300 คนเท่าเดิมในปีต่อมา

 

 

2. ปัญหาถ้าคุณจะเอาไปเทียบกับ 7/11 คุณต้องพิจารณาเรื่องของสินค้าในแต่ละธุรกิจก่อนนะครับ

ธุรกิจ 7/11 โดยเนื้อหาแล้วคือธุรกิจการซื้อมาแล้วขายไป ฟันกำไรจากส่วนต่าง ตัวสินค้าผู้ขายไม่ได้เป็นผู้ผลิต ขอแค่ขนส่งสินค้าให้ทันกับจำนวนที่ขาย ยังไงก็ขายได้เรื่อยๆ 

ส่วนธุรกิจการศึกษา มีการลงทุนและการคิดกำไรที่ไม่เหมือนกัน แม้ว่าสุดท้ายจะดูที่เม็ดเงินที่ได้ก็ตาม การลงทุนกับธุรกิจการศึกษาคือการลงทุนกับทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งใช้ระยะเวลาค่อนข้างนานกว่าที่จะเห็นผลเป็นตัวเงินโดยทันที

นี่ผมจะพูดในแง่คนคือสินค้านะครับ อาจจะดูเหมือนหน้าเลือดไปบ้าง ภาษาประมาณนี้นะครับ "สำหรับวาณิช แม้แต่ความซื่อสัตย์ก็ถูกคำนวณเป็นเงินตรา" รับไม่ได้ ข้ามไปเลยก็ได้ครับ 

ในธุรกิจการศึกษา เด็กที่เรารับเข้ามาคือวัตถุดิบ โรงเรียนคือโรงงาน ผลการสอบหรือการประเมินคือตัวรับประกันคุณภาพสินค้าจากโรงงานนั้นๆ

กำไรคือเงินที่จะเข้ามาหลังจากสินค้ารุ่นแรกได้รับการประเมินคุณค่าแล้ว เด็กที่จบมาแล้วโรงเรียนมาแล้วคือสินค้า 

เทียบกับโรงเรียนปกติในประเทศไทย การประเมินคุณภาพของสินค้าได้กระทำกันทุกปีโดยสิ่งที่เรียกว่าการสอบส่วนกลางหรือเอนทรานซ์ในสมัยก่อน

ระยะเวลาของการแปรรูปวัตถุดิบให้เป็นสินค้าคือ 6 ปี นั้นหมายความว่าถ้าทุกโรงงานเริ่มต้นจากศูนย์เท่ากัน จะต้องใช้ระยะเวลา 6 ปีเท่ากันทุกโรงงงานเพื่อผลิตสินค้าตัวนี้ แล้วไปทดสอบพร้อมกัน

ในระยะเวลา 6 ปีนี้ คือระยะเวลาแห่งการลงทุน ที่คุณจะทำยังไงก็แล้วแต่ที่จะทำให้จบปีที่ 6 สินค้าคุณมีคุณภาพดีที่สุด ไม่ใช่ระยะเวลาแห่งการเก็บเกี่ยวผลประโยชน์ กำไรยังไม่เข้ามาจนกว่าสินค้าจะได้รับการประเมินคุณภาพ 

ดังนั้นสำหรับธุกิจนี้ การผลิตสินค้าคือระยะเวลา 6 ปี การเอาธุรกิจการศึกษาไปเทียบกับธุรกิจซื้อมาขายไปนั้น แสดงว่าคุณไม่เข้าใจเรื่องการทำการค้าในธุรกิจแบบนี้จริงๆ

 

 

คำกล่าวของขงจื้อ

 

“หากเจ้าวางแผนไว้ 1 ปี...จงปลูกข้าว                  

หากวางแผน 10 ปี...จงปลูกต้นไม้                  

หากวางแผน 100 ปี...จงให้ความรู้แก่บุตรหลาน”

 

3. การที่คุณจะบอกว่ารับไม่อั้น นั้นหมายถึงว่าโรงงานคุณต้องมีสายการผลิตเหลือพอที่จะรับวัตถุดิบเพิ่ม หากไม่เช่นนั้นแล้วผ่านไป 6 ปี สินค้าที่คุณผลิตมาแล้วไม่ได้คุณภาพ มันจะทำลายชื่อเสียงของโรงงานไปในที่สุด

ลักษณะของธุรกิจนี้ กำไรไม่ได้อยู่ที่เงินตรงหน้า แต่อยู่ที่เงินที่จะตามมาข้างหลัง

 

4. ธุรกิจแบบนี้การลงทุนคือ 6 ปี ถ้าโรงเรียนที่ 3 คาดว่าสามารถยืนระยะได้ถึง 6 ปี โดยสามารถแบกรับค่าใช้จ่ายจ้างครูที่ดีและรับสภาพตัวเลขติดลบในบัญชีไปได้ การแก้ปัญหาแบบนั้นก็คงได้ผล

ธุรกิจการศึกษา สิ่งที่ต้องการมากกว่าตัวเลขในบัญชี คือ ชื่อเสียง ตราบใดที่คุณมีชื่อเสียง เงินจะวิ่งเข้ามาคุณเอง

"ยามที่คุณถูกชื่นชม ผู้คนจะยินดีซื้อทุกสิ่งที่คุณขาย ไม่ว่าพวกเขาจะต้องการมันหรือไม่ก็ตาม" 

 

คุณพูดเพื่อเอาชนะซึ่งมันไม่ได้เกี่ยวกับสิ่งที่เราเถียงกันแล้ว แต่ถ้าชัยชนะเป็นสิ่งที่คุณต้องการ น้องหมอเอาไปเถอะ ผมยกให้

 

ผมพูดเพราะว่าผมต้องการสังคมที่ดีขึ้น ประเทศที่ปราศจากนักการเมืองที่จะมาโกงกิน ไม่ได้ต้องการที่จะเอาชนะ และผมคิดว่า school voucher เป็นหนึ่งตัวอย่างที่ดีที่จะแก้ไขปัญหานี้ ถ้าบ้านเราใช้ระบบนี้ตอนนี้ก็ไม่มีปัญหาเรื่อง ipad ต่อเด็ก 1 คน แน่นอน

 

ในมุมมองของนัก stat ครับ ทุกอย่างตีค่าได้เป็นเงิน เรื่องที่คุณพูดเป็นเรื่องธรรมดา ขนาด fetus ยังถูกตีค่าเป็นเงินได้ในการทำวิจัยเรื่อง abortion และการลดลงของ crime rate

 

ผมว่าคุณกำลังต้องการจะพูดว่าระบบใหม่ ทำให้เด็กถูกมองเป็นแค่สินค้า แต่ผมขอร้องให้คุณมองเรื่องการที่พ่อแม่ต้องเสียแป๊ะเจี่ย และมีเด็กมากมายที่ไม่มีที่เรียนหนังสือ และปัญหาคอรัปชั่นในระบบปัจจุบัน ผมว่าเด็กก็ถูกมองเป็นสินค้าอยู่แล้ว คุณไม่คิดหรือว่าการที่โรงเรียนรัฐบาลดีๆ รับแต่เด็กเก่งๆเข้าเรียน ใครไม่เก่งกุไม่รับ นั่นคือการหาประโยชน์เข้าโรงเรียน โดยไม่คำนึงถึงเด็ก วิธีแก้ปัญหานี้มีเพียงวิธีเดียวคือ school voucher

 

ปัญหาหลักที่ทำให้ school voucher เกิดไม่ได้ที่คุณไม่ได้พูดแต่ผมรู้คือ อาจารย์ที่ไร้ความสามารถ ที่ไม่สามารถสอนให้เด็กเก่งหรือพัฒนาได้ จะไม่มีงานทำ

 

School voucher จะเป็นประโยชน์ต่อเด็กๆซึ่งคือผู้บริโภค แต่จะเป็นผลเสียต่ออาจารย์ที่มีความสามารถไม่พอ ดังนั้นอาจารย์โรงเรียนหลวงจะไม่ยอมให้เกิดระบบแบบนี้ขึ้น

 

มันเหมือนกับระบบยศตำรวจ ที่เราต้องการล้างมันออกนั่นแหละ

 

ผมขอให้คุณดูวิดิโอนี้ก่อนที่จะเขียนอะไรเพิ่ม

 

 

 

ปล teacher union ในอเมริกามันก็เหมือนกับ ระบบข้าราชการครูไทยครับ

 

 

สิ่งที่ผมต้องการไม่ใช่ชัยชนะ แต่ที่บอกที่อธิบายไปคือมุมมองในฐานะผู้ประกอบการที่เอาเงินตัวเองมาเสี่ยงต่างหาก และผมไม่ใช่นัก stat ด้วย

ผมไม่เคยคิดว่าการที่มองเด็กว่าเป็นสินค้าจะเป็นเรื่องไม่ดี เพราะนี่คือเรื่องจริงที่พวกเราผู้ประกอบการธุรกิจโรงเรียนเอกชนทำ แม้ว่าในการพูดอย่างเป็นทางการ พวกเราจะใช้คำอื่นก็เถอะ

เรื่องอาจารย์ไร้ความสามารถจะตกงานหรือไม่นั้น ขอบอกว่าในฐานะผู้ประกอบการว่า ผมไม่สนใจ เพราะครูใหม่ๆ จะสอนเด็กได้ดีกว่า และค่าจ้างถูกกว่าด้วย

เรื่องแป๊ะเจี๊ยะหรือเรื่องคอร์รัปชั่นนั้น ก็เห็นด้วยว่าระบบ school voucher สามารถแก้ปัญหานี้ได้

ส่วนเรื่องโรงเรียนรัฐบาลดีๆ รับแต่เด็กเก่งๆ นั้น บอกตรงๆ ผมเห็นว่าเป็นเรื่องที่เหมาะสม เพราะเด็กหลายๆ ระดับคละกัน การสอนของครูจะสอนอย่างไรให้เด็กได้รับความรู้มากที่สุด

คุณต้องยอมรับความจริงก่อนว่าเด็กแต่ละคนมีการเรียนรู้ที่ไม่เท่ากัน

สอนง่ายๆ : เด็กอ่อนเข้าใจ เด็กปานกลาง, เด็กเก่งก็เบื่อ เพราะรู้อยู่แล้ว

สอนปานกลาง : เด็กอ่อนไม่เข้าใจ เด็กปานกลางเข้าใจ เด็กเก่งเบื่อ เพราะรู้อยู่แล้ว

สอนยากๆ : เด็กอ่อน, เด็กปานกลางไม่เข้าใจ เด็กเก่งสนุก

ผมว่าเป้าหมายของศึกษาของรัฐบาล คือ เด็กอ่อนมีความรู้ช่วยเหลือตัวเอง, เด็กปานกลางมีศักยภาพเพิ่มขึ้น, เด็กเก่งให้เก่งขึ้นๆ ไปอีกหรือกลายเป็นอัจฉริยะไปเลยยิ่งดี

 

 

school voucher ทำให้พ่อแม่ มีทางเลือกที่จะเอาลูกเข้าที่ไหนก็ได้ และทำให้คนที่กล้าลงทุนสามารถไปเปิดโรงเรียนในที่ที่มีความต้องการสูง เช่นในเขตชนบทที่มีเด็กมากๆ

 

คุณบอกว่าระบบนี้ทำให้มีคนกล้าลงทุนเปิดโรงเรียน นั้นก็ถูก แต่ในมุมมองผู้ประกอบการโรงเรียนไม่ได้มองแค่ตัวเงินที่จะได้เพียงอย่างเดียว

ต้องเปรียบเทียบความเสี่ยงและความยั่งยืนของกิจการด้วย

 

ผมไม่รู้ว่าคุณเคยมีกิจการเป็นของตัวเองหรือไม่ แล้วแต่ละธุรกิจมีความแตกต่างกัน ไม่ใช่แค่ธุรกิจซื้อมาขายไปกับธุรกิจการศึกษาเท่านั้น

คนที่ประสบความสำเร็จในธุรกิจหนึ่งอย่างไม่ใช่ว่าจะประสบความสำเร็จในธุรกิจอีกอย่างหนึ่งได้ พื้นฐานแต่ละธุรกิจย่อมแตกต่างกัน

ส่วนที่บอกในเรื่องธุรกิจการศึกษานั้น นี่เป็นประสบการณ์ตรงของครอบครัวผม

ที่บ้านผม ตั้งแต่รุ่นคุณตา ลูกของคุณตาทุกคน พ่อแม่ผมและน้องผมรวมถึงลูกพี่ลูกน้องผมบางคน ก็ประกอบอาชีพครูมาตลอดชีวิต มีทั้งที่อยู่ในส่วนราชการและเอกชนด้วย

ในกงสีมีธุรกิจโรงเรียนเอกชนที่เปิดกิจการอยู่ เรื่องการบริหารภายในธุรกิจการศึกษา ผมกล้าพูดเลยว่าแตกต่างจากธุรกิจซื้อมาขายไปแบบคนละโลกกันเลย

สิ่งที่คุณอยากเห็นคือ การนำระบบ school voucher มาใช้ ถ้าแค่คิดนะ มันก็ได้อยู่หรอก

แต่ถ้าให้ทำจริงๆ มีหลายอย่างที่ต้องปรับปรุง คุณอยากให้ภาครัฐมีอำนาจควบคุมให้น้อยที่สุด ไม่ใช่แค่เอาระบบมาใช้แล้วมันจะประสบผลสำเร็จ

ปัจจัยที่จะทำให้ระบบนี้ประสบความสำเร็จ คือ การแข่งขัน

การแข่งขันจะเกิดขึ้นได้นั้น สิ่งสำคัญคือ ผู้ประกอบการภาคเอกชน 

แล้วถามว่าเป็นภาครัฐได้หรือไม่ ตอบเลยว่ายาก โรงเรียนที่มีอยู่นั้นตอนนี้ค่อนข้างมีจำนวนมากเกินไปด้วยซ้ำ 

จนช่วง 10 ปีหลังมานี้มีการปิดโรงเรียนเล็กๆ ในชนบทเป็นจำนวนมาก 

ปัจจัยที่ภาคเอกชนต้องการ คือ กำไร แต่สิ่งที่จะการรันตีกำไรคือชื่อเสียงที่สร้างมา

ชื่อเสียงและกำไรที่จะได้มา มีระยะเวลา 6 ปี เป็นช่วงที่ต้องลงทุน โดยไม่หวังกำไร นี่เป็นความจริงที่ปฏิเสธไม่ได้สำหรับธุรกิจนี้

ดังนั้นการลงทุนใดๆ ก็ตามในธุรกิจนี้ ต้องระลึกไว้เสมอถึงความเสี่ยงที่ไม่มีวันเปลี่ยนแปลงนี้

การลงทุนครั้งแรกของโรงเรียนเอกชน คือ การคัดเด็กจำนวนหนึ่งเข้ามา จ้างครูที่มีประสิทธิภาพในการสอนมาสอน รอระยะเวลาอีก 6 ปี เพื่อการันตีชื่อเสียง

หลังจากนั้นจึงเริ่มขยายโรงเรียน เพื่อรับนักเรียนเพิ่ม และรับครูเข้ามาอีกจำนวนหนึ่ง วงจรแบบนี้จะดำเนินต่อไปเรื่อยๆ ตราบที่ชื่อเสียงโรงเรียนยังคงอยู่

เมื่อโรงเรียนเอกชนเข้ามา โรงเรียนรัฐทั้งหลายจึงปรับตัวตาม เพราะไม่งั้นจะถูกดึงรายได้ไปมากขึ้นเรื่อยๆ จึงเกิดสิ่งที่เรียกว่าการแข่งขัน

ประโยชน์จึงจะตกกลับนักเรียนที่มีทางเลือกมากขึ้น แต่ก่อนหน้าจะเกิดสิ่งเหล่านั้นได้ นั้นหมายความว่า โรงเรียนเอกชนต้องยอมรับความเสี่ยง 6 ปี เพื่อลงทุนก่อน

 

 

ใครไม่รับเรารับค่ะ เรารับไม่อั้นค่ะ

 

ความเห็นนี้จะเป็นความเห็นสุดท้ายแล้วสำหรับกระทู้นี้

ตอนนี้ ผมรู้แล้วว่าไม่มีประโยชน์อะไรเลยที่จะอธิบายเรื่องการศึกษา ธุรกิจการศึกษา และปัจจัยความเป็นไปได้ในโลกของธุรกิจ ให้กับคนที่ไม่รู้อะไรเลยกับธุรกิจนี้

เพราะสุดท้ายคุณก็ไม่เข้าใจความยากลำบากของพวกเราผู้ประกอบการโรงเรียนเอกชนอยู่ดี 

คุณมองแต่ในทฤษฎีเรื่อง school voucher ว่าดี แล้วนำมาใช้ทันที แล้วคิดว่าผลมันจะดีทันที

แต่คุณไม่ได้มองในโลกแห่งความเป็นจริง การแข่งขันที่เกิดขึ้น มันต้องมาจากภาคเอกชน

กับคำพูดที่ว่า "ใครไม่รับ เรารับไม่อั้น" การพูดนะมันง่าย แต่เอาเงินตัวเองไปลงทุนทีละ 10-20 ล้านเพื่อขยายโรงเรียนแล้วแบกรับความเสี่ยงเองนะ มันไม่ง่ายเหมือนปากพูดหรอกนะ 


Edited by Ricebeanoil, 15 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:40.

เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ

#186 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 16 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 10:39

มันไม่ง่าย ไม่ยาก ครับ ขึ้นอยู่กับว่าจะทำหรือเปล่า






ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน