Jump to content


Photo
- - - - -

หรือจะเป็นแค่ ประธานเถื่อน


  • Please log in to reply
162 replies to this topic

#151 templar

templar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,180 posts

Posted 11 May 2014 - 15:55

 

จาฤกไปอ่านมาตรา 113 แค่มาตรานี้ก็มีบัญญัติแล้ว

และมาตรา 124 125 มีบทบัญญัติเกี่ยวกับตำแหน่งประธานรองประธาน........ชัดเจน

 

และมาตรา 132 ข้อสอง ก็บอกว่าจะขอเปิดประชุมสมัยวิสามัญขณะที่ยุบสภาไม่ได้เว้นแต่การประชุมที่ให้วุฒิสภาทำหน้าที่พิจารณาให้บุคคลดำรงตำแหน่งใดตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้

 

ไม่ต้องไปตีความคำว่า บุคคล ว่าเป็นใคร

ให้ไปดูว่าบุคคลที่พยายามตีความกันนั้นเช่นประธาน มีบัญญัติในรัฐธรรมนูญข้อไหนหรือไม่ และเป็นหน้าที่ของสว.ที่จะต้องมีมติเลือกหรือปล่าว

ถ้าใช่ทั้งสองก็เปิดประชุมได้

คุณมายาครับ(คนอื่นด้วย)

มาตรา  113   124   125    นั่นมันใช้บังคับในภาวะปกติ  คือยังมีสภาผู้แทนอยู่

แต่เมื่อ  สภาถูกยุบแล้ว  มันต้องใช้  มาตรา  132  เป็นหลัก  คือ

วุฒิสภา  สามารถประชุมได้แค่  3  กรณี  คือ

       1 เกี่ยวกับหมวดพระมหากษัตริย์หรือ  ประกาศสงคราม

       2 .พิจารณา  ให้บุคลดำรงตำแหน่งใดตาม  รธน

       3  การพิจารณาถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง

แต่ตอนนีที่กำลังถกประเด็นกันคือข้อสอง  ผมขออธิบายแบบนี้

 

การพิจารณาบุคคงดำรงตำแหน่งใดตาม  รธน  ใน  รธน  ฉบับนี้เขาก็บัญญัติไว้ว่า  ให้ทำอย่างไร

ในมาตรา  121  เขาเขียนไว้แบบนี้ครับ

 

มาตรา ๑๒๑ ในการที่วุฒิสภาจะพิจารณาให้บุคคลดำ รงตำแหน่งใดตามบทบัญญัติ
แห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้วุฒิสภาแต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นคณะหนึ่ง ทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติ
ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งนั้น รวมทั้ง
รวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานอันจำเป็น แล้วรายงานต่อวุฒิสภาเพื่อประกอบการพิจารณาต่อไป
การดำเนินการของคณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามวิธีการที่กำหนดในข้อบังคับ
การประชุมวุฒิสภา

 

แปลว่าอะไรครับ  แปลว่า  การคัดเลือกบุคคลตาม  มาตรา  132(2)  มันจะต้องทำตาม  ข้อบังคับของ

มาตรา 121  คือ  ต้องตั้งกรรมาธิการ  ตรวจสอบจริยธรรม  ประวัติ  ของผู้ที่จะเข้ารับการพิจารณา

เช่นการพิจารณา   คุณ  สุภา  ปิยะจิตติ    ไปเป็นกรรมการ  ปปช.  เป็นต้น

 

ที่นี้ถ้าจะโต้แย้งผมว่า การเลือกประธานวุฒิ  ในวันนั้น  โดยตีความว่า  ประธานวุฒิ

เป็นบุคลตำแหน่งใดตาม  รธน  มาตรา 132(2)ด้วย

ผมถามว่า  การเลือกในวันนั้น  ได้ทำตามมาตรา 121  หรือเปล่าถ้าคิดว่าประธานวุฒิ

เข้าข่าย  มาตรา 132(2)      ถ้าไม่ทำตาม  มาตรา  121  ไม่มีการตั้งกรรมาธิการเสนอต่อที่ประชุม

ผมก็ถือว่าการเลือกประธาน  ในวันนั้น  ก็ขัด  รธน  อยู่ดี   

 

แต่สำหรับ  คคห.  ของผม   ผมตีความว่า  การเลือกประธานวุฒิ  ในวันนั้น

ไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติ  ของ  รธน  ทั้งมาตรา 132(2)และ  มาตรา 121

จึงสรุปแว่  เอ้ยว่า  ประธานที่ได้รับเลือกในวันนั้น  คือประธานเถื่อน

 

 

ม.121  มีคำว่า  ปปช  ไหมครับ  <_<


อย่ามาเห่าว่ากรูมาจากการเลือกตั้ง  เพราะการเลือกตั้งไม่ใช่ทุกอย่างของประชาธิปไตย

การตรวจสอบบ้านเมืองอย่างเข้มข้น  ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ  จำเป็นสำหรับประเทศไทย

 

สิ่งที่บ่งบอกว่าประเทศไหนพัฒนาแล้วไม่ได้ดูที่  มีตึกสูงมากเท่าไร  มีห้างเยอะไหม  มีจีดีพีสูงแค่ไหน

แต่ดูที่การศึกษา  และ คุณภาพของบุคลากรภายในประเทศ


#152 Bayonet

Bayonet

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,235 posts

Posted 11 May 2014 - 17:21

จั ญไรลึก จะมัวพล่ามพ่นน้ำลายเหม็น ๆ ไปทำไมกัน

 

ก็ถ้าอยากรู้ว่ามันเถื่อนมั๊ย  ก็ไปบอกรัฐบวมโค้ดป้อโค้ดแม่ ..... รีบส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัย ซะซิ

 

แค่ตีความข้อกฏหมายไม่ต้องสืบพยาน ไม่ต้องนั่งอ่านเอกสารเป็นตั้ง ....ไม่แน่ยื่นวันนี้ พรุ่งนี้ก็ได้คำตอบแล้ว

 

อย่ามัวแต่รำฟ้อนเงี้ยว จินตนาการสำเร็จความใคร่หลอกควายไปวัน ๆ ....... มันไม่ช่วยอะไรขึ้นมาหรอก

 

แล้วไปย้ำกับรัดถะบวมโค้ดป้อ จั ญไรลึก ซะด้วย  ยื่นเรื่องให้ถูกหน่วยงาน

 

ไม่ใช่ว่า ..........เรื่องรัฐธรรมนูญ แต่ดันไปยื่นให้ ....กฤษฎีกา  ตีความ

 

แบบนี้ต่อให้ จั ญไรลึกตายห่าวันพรุ่ง ....จนเกิดใหม่ชาติหน้าก็ยังไม่ได้คำตอบเลย  -_-


Edited by Bayonet, 11 May 2014 - 23:05.


#153 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

Posted 11 May 2014 - 17:44

 

จาฤกไปอ่านมาตรา 113 แค่มาตรานี้ก็มีบัญญัติแล้ว

และมาตรา 124 125 มีบทบัญญัติเกี่ยวกับตำแหน่งประธานรองประธาน........ชัดเจน

 

และมาตรา 132 ข้อสอง ก็บอกว่าจะขอเปิดประชุมสมัยวิสามัญขณะที่ยุบสภาไม่ได้เว้นแต่การประชุมที่ให้วุฒิสภาทำหน้าที่พิจารณาให้บุคคลดำรงตำแหน่งใดตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้

 

ไม่ต้องไปตีความคำว่า บุคคล ว่าเป็นใคร

ให้ไปดูว่าบุคคลที่พยายามตีความกันนั้นเช่นประธาน มีบัญญัติในรัฐธรรมนูญข้อไหนหรือไม่ และเป็นหน้าที่ของสว.ที่จะต้องมีมติเลือกหรือปล่าว

ถ้าใช่ทั้งสองก็เปิดประชุมได้

คุณมายาครับ(คนอื่นด้วย)

มาตรา  113   124   125    นั่นมันใช้บังคับในภาวะปกติ  คือยังมีสภาผู้แทนอยู่

แต่เมื่อ  สภาถูกยุบแล้ว  มันต้องใช้  มาตรา  132  เป็นหลัก  คือ

วุฒิสภา  สามารถประชุมได้แค่  3  กรณี  คือ

       1 เกี่ยวกับหมวดพระมหากษัตริย์หรือ  ประกาศสงคราม

       2 .พิจารณา  ให้บุคลดำรงตำแหน่งใดตาม  รธน

       3  การพิจารณาถอดถอนบุคคลออกจากตำแหน่ง

แต่ตอนนีที่กำลังถกประเด็นกันคือข้อสอง  ผมขออธิบายแบบนี้

 

การพิจารณาบุคคงดำรงตำแหน่งใดตาม  รธน  ใน  รธน  ฉบับนี้เขาก็บัญญัติไว้ว่า  ให้ทำอย่างไร

ในมาตรา  121  เขาเขียนไว้แบบนี้ครับ

 

มาตรา ๑๒๑ ในการที่วุฒิสภาจะพิจารณาให้บุคคลดำ รงตำแหน่งใดตามบทบัญญัติ
แห่งรัฐธรรมนูญนี้ ให้วุฒิสภาแต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นคณะหนึ่ง ทำหน้าที่ตรวจสอบประวัติ
ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมของบุคคลผู้ได้รับการเสนอชื่อให้ดำรงตำแหน่งนั้น รวมทั้ง
รวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานอันจำเป็น แล้วรายงานต่อวุฒิสภาเพื่อประกอบการพิจารณาต่อไป
การดำเนินการของคณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ่ง ให้เป็นไปตามวิธีการที่กำหนดในข้อบังคับ
การประชุมวุฒิสภา

 

แปลว่าอะไรครับ  แปลว่า  การคัดเลือกบุคคลตาม  มาตรา  132(2)  มันจะต้องทำตาม  ข้อบังคับของ

มาตรา 121  คือ  ต้องตั้งกรรมาธิการ  ตรวจสอบจริยธรรม  ประวัติ  ของผู้ที่จะเข้ารับการพิจารณา

เช่นการพิจารณา   คุณ  สุภา  ปิยะจิตติ    ไปเป็นกรรมการ  ปปช.  เป็นต้น

 

ที่นี้ถ้าจะโต้แย้งผมว่า การเลือกประธานวุฒิ  ในวันนั้น  โดยตีความว่า  ประธานวุฒิ

เป็นบุคลตำแหน่งใดตาม  รธน  มาตรา 132(2)ด้วย

ผมถามว่า  การเลือกในวันนั้น  ได้ทำตามมาตรา 121  หรือเปล่าถ้าคิดว่าประธานวุฒิ

เข้าข่าย  มาตรา 132(2)      ถ้าไม่ทำตาม  มาตรา  121  ไม่มีการตั้งกรรมาธิการเสนอต่อที่ประชุม

ผมก็ถือว่าการเลือกประธาน  ในวันนั้น  ก็ขัด  รธน  อยู่ดี   

 

แต่สำหรับ  คคห.  ของผม   ผมตีความว่า  การเลือกประธานวุฒิ  ในวันนั้น

ไม่ถูกต้องตามบทบัญญัติ  ของ  รธน  ทั้งมาตรา 132(2)และ  มาตรา 121

จึงสรุปแว่  เอ้ยว่า  ประธานที่ได้รับเลือกในวันนั้น  คือประธานเถื่อน

 

 

 

คำว่า บุคคลใดตามบทบัญญิตในรัฐธรรมนูญ เป็นคำเรียกบุคคลใด ก็ได้ที่มีระบุไว้ตามรัฐธรรมนูญ

 

เอ็งจะตึความว่าไม่ใช่  เอ็งต้องบอกให้ได้ก่อนว่า ประธานวุฒิไม่ใช่ตำแหน่งตามรัฐธรรมนูญ

 

จะไปโยงมาตราอื่นมาบอกว่า ประธานวุฒิไม่เกี่ยวกับ 132 (2) เอ็งเป็นโรคประสาทแล้ว

 

กฏหมายประเทศไทยโดยหลักแล้วเป็น กฏหมายลายลักษณ์ อักษร ถ้าเขียนไปอย่างไรมันก็ต้องหมายความตามนั้น

 

ยกเว้น กรณีที่ ถ้อยคำในกฏหมายไม่ชัดเจน จึงนำมาตราอื่นมาพิจารณาร่วม เข้าใจยัง กระบือน้อย

 

 

 

:lol:


Edited by 55555, 11 May 2014 - 17:49.


#154 Jump Man

Jump Man

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 154 posts

Posted 11 May 2014 - 22:51

ประธานวุฒิสภาเป็นตำแหน่งตามบทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 132(2)  ถ้าในรัฐธรรมนูญเขียนว่า ให้พิจารณาบุคคลดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระหรือองค์กรตุลาการตามบทบัญญํติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ จะไม่เถียงเลย 


Edited by Jump Man, 11 May 2014 - 22:55.


#155 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

Posted 12 May 2014 - 09:41

 

ไม่เข้าใจ ทำไมไอ่ควายจารึก ถึงต้องเปิดกระทู้โชว์โง่ว์ครั้งมโหฬารให้สมาชิกเข้ามารุมกระทืบ รุมยำ กลุ้มใจเมียมีชู้หรือไงวะ

มั่นใจนะว่ารุมยำ

ไม่ใช่ช่วยกันแถ

แต่ชิวๆว่ะ   แต่ละคนไม่ค่อยแน่น   :lol:

 

 

จาฤก โดนตบกระบาลไปทิ่มหัว ยังโงหัวไม่ขึ้นเลย

 

ที่นี่เถือนนะ ถ้าไม่แม่นข้อมูล ไม่แน่จริง อยู่ไม่ได้นะจ๊ะ

 

จะบอกให้

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา

สงสัยว่าพอลคุงนี่คงเป็นแค่ลูกกะโล่  ในกลุ่ม  สรท

มีหน้าที่ออกความเห็นเท่าที่เห็น :lol:

 

 

แล้วไง ขนาดแค่กุ 

 

เอ๊งยังไม่มีปัญญาจะเถียงเลย

 

โดนกุ ตบ กระโหลกไปกี่รอบละ

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาาาา


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#156 Matahari

Matahari

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,408 posts

Posted 19 May 2014 - 06:36

คุณลองไปดู พ.ร.ฏ. สมัยประชุมสมัยสามัญทุั่วไป  ปี 2555  นะคะ ว่ามีระบุเรืองการประชุมเลือกวุฒิสภาหรือไม่
เมือวันที่  17 พค 2557 เขามีสัมนาเรืองประธานวุฒิ
http://www.dailynews...ต._ละเมิด รธน.#
นายวรเจตน์ กล่าวอีกว่า ส่วนกรณีที่ที่ประชุมวุฒิสภาได้เลือกประธานและรองประธานวุฒิสภานั้น การประชุมวุฒิสภาเมื่อวันที่ 9 พ.ค.ที่ผ่านมา อยู่ในช่วงเวลาตาม พ.ร.ฎ.เปิดประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ ซึ่งจำเป็นที่ต้องมี ส.ส.ด้วย แต่ในเมื่อตอนนี้ยังไม่มีส.ส.จึงถือว่าการประชุมวุฒิสภาครั้งนี้เป็นการหารือของกลุ่มบุคคลที่ไม่ได้ทำอย่างเป็นทางการ อีกทั้ง การเลือกประธานวุฒิสภาไม่ถูกระบุเป็นวาระในพ.ร.ฎ.ดังกล่าว จึงถือว่าเป็นการทำผิดชัดแจ้ง ดังนั้นนายนิวัฒน์ธำรงไม่จำเป็นต้องนำชื่อของผู้ที่ได้รับเลือกเป็นประธานและรองประธานวุฒิสภาขึ้นทูลเกล้าฯ นอกจากนี้รองประธานวุฒิสภาไม่มีอำนาจแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี แต่ถ้าอยากให้มีนายกรัฐมนตรีและรัฐบาลก็ต้องให้มีการเลือกตั้งเกิดขึ้น เพราะผู้ที่ได้รับเลือกตั้งต้องเป็น ส.ส. ไม่มีการเขียนกฎหมายบอกว่าให้เลือกคนที่เราชอบไปเป็นนายกรัฐมนตรีได้ ดังนั้นการจะนำเอานายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 7 หรือโดยการอนุโลมนั้นจึงทำไม่ได้ด้วย.
......... <_<
  วรเจตน์พูดว่า
1. พ.ร.ฏ. ต้องระบุเรื่องการเลือกประธานวุฒิสภา
2. การประชุม ต้องมี สส ร่วมด้วย

....
แสดงว่านายวรเจตน์คงไม่ได้อ่านพ.ร.ฏ. มีหรือไม่เคยระบุ  ไม่เคยปรากฎไปค้นมา ไม่เคย ระบุ ว่าต้องมี
การเลือกวุฒิสภา เป็นเรื่องระหว่างวุฒิ ในการเลือกประธาน หรือหัวหน้า  ไม่เกียวกับ สส เลย


10310091_635303139896946_511366414532461

พ.ร.ฏ นี้ืโปรดเกล้าวันที่ 24 กค 2555
วันที่ 26 กค 2555  มีเหตุการณ์เกิด ขึ้นคือ
ศาลลงโทษ พลโทธีรเดช มีเพียร ประธานวุฒิ  2 ปี ฐานขึ้นเงินเดือนตนเอง
เรื่องเกิดหลัง โปรดเกล้าลงมาเรืองเปิดสมัยประชุมสภา
แล้วนายนิคม พูดกับสือว่าจะมีการเลือกปรธาน วุฒิสภา แทน ทีหมดสภาพด้วยมีโทษทางกม
หลักฐาน ว่าการเลือกวุฒิไม่มีข้อกม ต้องเขียนลงใน พ.ร.ฏ.
ก็๋ไม่แน่ใจว่านายวรเจตน์ไม่รู้ หรือเสพความตอแหล เพือให้เกิด ความเข้าใจผิด


http://www.khaosod.c...kkyTURjMU5RPT0=
ตรียมนัดถกเลือกปธ.วุฒิคนใหม่

ที่รัฐสภา นายนิคม ไวยรัชพานิช รองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 ในฐานะประธานวิปวุฒิ กล่าวถึงศาลอาญามีคำพิพากษาสั่งจำคุกพล.อ.ธีรเดช 2 ปี แต่รอลงอาญาว่า ถือว่า พล.อ.ธีรเดช พ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภาโดยทันที ตามรัฐธรรม นูญ มาตรา 124(4) ที่ระบุประธานวุฒิสภาย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อต้องคำพิพากษาให้จำคุก แม้คดีจะยังไม่ถึงที่สุดหรือรอการลงโทษ ที่ประชุมวิปวุฒิเห็นว่าจำเป็นต้องสรรหาประธานวุฒิสภาคนใหม่ และให้เลขานุการวิปวุฒิติดตามหลักฐานจากศาลอาญา เพื่อนำมาประกอบในการนำขึ้นทูลเกล้าฯ แต่งตั้งประธานวุฒิสภาคนใหม่ จึงกำหนดวันสรรหาประธานเอาไว้ 3 วัน คือวันที่ 10, 14 และ 17 ส.ค. ต้องรอดูว่าจะมีหลักฐานหรือเอกสารดังกล่าวพร้อมในวันไหน 

เมื่อถามว่าจะหารือเพื่อกำหนดผู้ที่จะมาเป็นประธานต้องเป็นส.ว.สรรหาหรือส.ว.เลือกตั้ง นายนิคมกล่าวว่า ไม่ได้กำหนดและไม่มีประเพณีว่าต้องเป็นส.ว.เลือกตั้งเท่านั้นถึงจะเป็นประธานได้ แต่จะต้องมีคุณสมบัติเป็นที่ยอมรับจากสมาชิก และยังไม่ได้หารือถึงตัวบุคคลที่เหมาะสม ทั้งนี้หากมีผู้เสนอชื่อตนก็พร้อมรับตำแหน่งและเพื่อความสบายใจ ตนจะลาออกจากรองประธานก่อน แต่ถ้าไม่มีผู้เสนอ ตนจะยังเป็นรองประธานเช่นเดิม 



คาดเลือกปธ.-รองปธ.คราวเดียวกัน

นายจิตติพจน์ วิริยะโรจน์ ส.ว.ศรีสะเกษ กล่าวว่า เชื่อว่าในการประชุมวุฒิสภานัดแรกวันที่ 6 ส.ค. จะหยิบยกเรื่องประธานวุฒิสภาคนใหม่ขึ้นมาหารือ คาดว่ามี 2 กรณี 1.หลังการประชุมนัดแรก อาจนัดวันสรรหาเป็นวันที่ 13 ส.ค. 2.อาจนัดประชุมวุฒิสภานัดพิเศษเพื่อกำหนดวันสรรหาอีกครั้ง ซึ่งน่าจะเป็นวันที่ 10 หรือ 14 ส.ค. เรื่องนี้คงไม่ยืดยาว หลังเปิดสมัยประชุมภายใน 10 วัน น่าจะทราบว่าใครจะเป็นประธานคนใหม่ เท่าที่ทราบนายนิคมออกตัวเป็นแคนดิเดตแล้วหนึ่งราย และต้องดูว่านายนิคมจะยอมถอนตัวจากรองประธานเพื่อชิงตำแหน่งประธานหรือไม่ ถ้ายอมก็จะเลือกประธานและรองประธานในคราวเดียวกัน 

นายวันชัย สอนศิริ ส.ว.สรรหา ที่ปรึกษากฎหมายประธานวุฒิสภา กล่าวว่า พล.อ.ธีรเดชยังเป็นส.ว.อยู่ รัฐธรรมนูญมาตรา 124(4) กำหนดเฉพาะตำแหน่งระดับสูงที่มีความสำคัญเท่านั้น กรณีรัฐธรรมนูญมาตรา 119(8) ระบุถึงการสิ้นสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลงเมื่อต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก แม้จะมีการรอการลงโทษแต่กรณีพล.อ.ธีรเดชยังไม่ถือว่าเข้าข่าย เพราะคดียังอยู่ในศาลชั้นต้นและไม่มีการพิพากษาถึงที่สุด ส่วนประเด็นความรับผิดชอบทางจริย ธรรมจนถึงขั้นลาออกนั้นขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของเจ้าตัว แต่ตามหลักกฎหมายแล้วไม่ถึงขั้นต้องออกจากตำแหน่งทางการเมือง 

.... :ph34r: ...
   นี้คือการประจาน ว่า สส พทรู้  นักกม รู้
แต่เล่นเสพความตอแหล และบิดเบือน
เพือสร้างกระแสให้สังคมแดงเข้าใจผิด และโกรธ 
  ไม่น่่าเชื่อนายวรเจตน์ จะพูดออกมาได้ ทั้งทีเป็นนัก กม แท้ ที่ชอบออกสือ แต่ทำไมบิดเบือน


Edited by Matahari, 19 May 2014 - 06:46.

***********************************************************

#157 Matahari

Matahari

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,408 posts

Posted 19 May 2014 - 06:42

http://www.posttoday...ภายในของวุฒิสภา
อ.บรรเจิด พูดยังมีเหตุผลมากกว่านายวรเจตน์
1. เพราะเป็นเรื่องภายในระหว่างวุฒิเลือกประธาน ก็คือหัวหน้า สส ไม่ได้มาช่วยเลือก และไม่เกียว
2. ถือเป็นภายใน ไม่เกียวการบริหารประเทศ หรือออกกม  
หลักการทำรายงานประชุม คือจะมีหัวข้อประชุม ต่างๆๆ
การเปิดประชุมรัฐสภา ก็ชัดเจน คือ
การประชุมระหว่าง สส และวุฒิสภา  และเป็นเรื่องของประเทศ
ส่วนเลือกประธานเป็นเรื่องระหว่างวุฒิ  สส ไม่เกียว และไม่ต้องระบุ เพราะ สสไม่เกียว และไม่ได้มีผลต่อประเทศ 

 


***********************************************************

#158 ปูผิดหีบ

ปูผิดหีบ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,730 posts

Posted 19 May 2014 - 07:52

420.jpg

 

777_0.jpg?1305273493

 

ประธานเถื่อน...

 

 

ก็ไอ้เหียกนี่ไง มาจากการแต่งตั้ง ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง...


โกงชาวนา ฆ่าเด็กตาย ขายแผ่นดิน โคตรชั่วตระกูลชิน...!


#159 จาฤก

จาฤก

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 916 posts

Posted 19 May 2014 - 18:03

คุณลองไปดู พ.ร.ฏ. สมัยประชุมสมัยสามัญทุั่วไป  ปี 2555  นะคะ ว่ามีระบุเรืองการประชุมเลือกวุฒิสภาหรือไม่
เมือวันที่  17 พค 2557 เขามีสัมนาเรืองประธานวุฒิ
http://www.dailynews...ต._ละเมิด รธน.#
นายวรเจตน์ กล่าวอีกว่า ส่วนกรณีที่ที่ประชุมวุฒิสภาได้เลือกประธานและรองประธานวุฒิสภานั้น การประชุมวุฒิสภาเมื่อวันที่ 9 พ.ค.ที่ผ่านมา อยู่ในช่วงเวลาตาม พ.ร.ฎ.เปิดประชุมรัฐสภาสมัยวิสามัญ ซึ่งจำเป็นที่ต้องมี ส.ส.ด้วย แต่ในเมื่อตอนนี้ยังไม่มีส.ส.จึงถือว่าการประชุมวุฒิสภาครั้งนี้เป็นการหารือของกลุ่มบุคคลที่ไม่ได้ทำอย่างเป็นทางการ อีกทั้ง การเลือกประธานวุฒิสภาไม่ถูกระบุเป็นวาระในพ.ร.ฎ.ดังกล่าว จึงถือว่าเป็นการทำผิดชัดแจ้ง ดังนั้นนายนิวัฒน์ธำรงไม่จำเป็นต้องนำชื่อของผู้ที่ได้รับเลือกเป็นประธานและรองประธานวุฒิสภาขึ้นทูลเกล้าฯ นอกจากนี้รองประธานวุฒิสภาไม่มีอำนาจแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี แต่ถ้าอยากให้มีนายกรัฐมนตรีและรัฐบาลก็ต้องให้มีการเลือกตั้งเกิดขึ้น เพราะผู้ที่ได้รับเลือกตั้งต้องเป็น ส.ส. ไม่มีการเขียนกฎหมายบอกว่าให้เลือกคนที่เราชอบไปเป็นนายกรัฐมนตรีได้ ดังนั้นการจะนำเอานายกรัฐมนตรี ตามมาตรา 7 หรือโดยการอนุโลมนั้นจึงทำไม่ได้ด้วย.
......... <_<
  วรเจตน์พูดว่า
1. พ.ร.ฏ. ต้องระบุเรื่องการเลือกประธานวุฒิสภา
2. การประชุม ต้องมี สส ร่วมด้วย

....
แสดงว่านายวรเจตน์คงไม่ได้อ่านพ.ร.ฏ. มีหรือไม่เคยระบุ  ไม่เคยปรากฎไปค้นมา ไม่เคย ระบุ ว่าต้องมี
การเลือกวุฒิสภา เป็นเรื่องระหว่างวุฒิ ในการเลือกประธาน หรือหัวหน้า  ไม่เกียวกับ สส เลย


10310091_635303139896946_511366414532461

พ.ร.ฏ นี้ืโปรดเกล้าวันที่ 24 กค 2555
วันที่ 26 กค 2555  มีเหตุการณ์เกิด ขึ้นคือ
ศาลลงโทษ พลโทธีรเดช มีเพียร ประธานวุฒิ  2 ปี ฐานขึ้นเงินเดือนตนเอง
เรื่องเกิดหลัง โปรดเกล้าลงมาเรืองเปิดสมัยประชุมสภา
แล้วนายนิคม พูดกับสือว่าจะมีการเลือกปรธาน วุฒิสภา แทน ทีหมดสภาพด้วยมีโทษทางกม
หลักฐาน ว่าการเลือกวุฒิไม่มีข้อกม ต้องเขียนลงใน พ.ร.ฏ.
ก็๋ไม่แน่ใจว่านายวรเจตน์ไม่รู้ หรือเสพความตอแหล เพือให้เกิด ความเข้าใจผิด


http://www.khaosod.c...kkyTURjMU5RPT0=
ตรียมนัดถกเลือกปธ.วุฒิคนใหม่

ที่รัฐสภา นายนิคม ไวยรัชพานิช รองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 ในฐานะประธานวิปวุฒิ กล่าวถึงศาลอาญามีคำพิพากษาสั่งจำคุกพล.อ.ธีรเดช 2 ปี แต่รอลงอาญาว่า ถือว่า พล.อ.ธีรเดช พ้นจากตำแหน่งประธานวุฒิสภาโดยทันที ตามรัฐธรรม นูญ มาตรา 124(4) ที่ระบุประธานวุฒิสภาย่อมพ้นจากตำแหน่งเมื่อต้องคำพิพากษาให้จำคุก แม้คดีจะยังไม่ถึงที่สุดหรือรอการลงโทษ ที่ประชุมวิปวุฒิเห็นว่าจำเป็นต้องสรรหาประธานวุฒิสภาคนใหม่ และให้เลขานุการวิปวุฒิติดตามหลักฐานจากศาลอาญา เพื่อนำมาประกอบในการนำขึ้นทูลเกล้าฯ แต่งตั้งประธานวุฒิสภาคนใหม่ จึงกำหนดวันสรรหาประธานเอาไว้ 3 วัน คือวันที่ 10, 14 และ 17 ส.ค. ต้องรอดูว่าจะมีหลักฐานหรือเอกสารดังกล่าวพร้อมในวันไหน 

เมื่อถามว่าจะหารือเพื่อกำหนดผู้ที่จะมาเป็นประธานต้องเป็นส.ว.สรรหาหรือส.ว.เลือกตั้ง นายนิคมกล่าวว่า ไม่ได้กำหนดและไม่มีประเพณีว่าต้องเป็นส.ว.เลือกตั้งเท่านั้นถึงจะเป็นประธานได้ แต่จะต้องมีคุณสมบัติเป็นที่ยอมรับจากสมาชิก และยังไม่ได้หารือถึงตัวบุคคลที่เหมาะสม ทั้งนี้หากมีผู้เสนอชื่อตนก็พร้อมรับตำแหน่งและเพื่อความสบายใจ ตนจะลาออกจากรองประธานก่อน แต่ถ้าไม่มีผู้เสนอ ตนจะยังเป็นรองประธานเช่นเดิม 



คาดเลือกปธ.-รองปธ.คราวเดียวกัน

นายจิตติพจน์ วิริยะโรจน์ ส.ว.ศรีสะเกษ กล่าวว่า เชื่อว่าในการประชุมวุฒิสภานัดแรกวันที่ 6 ส.ค. จะหยิบยกเรื่องประธานวุฒิสภาคนใหม่ขึ้นมาหารือ คาดว่ามี 2 กรณี 1.หลังการประชุมนัดแรก อาจนัดวันสรรหาเป็นวันที่ 13 ส.ค. 2.อาจนัดประชุมวุฒิสภานัดพิเศษเพื่อกำหนดวันสรรหาอีกครั้ง ซึ่งน่าจะเป็นวันที่ 10 หรือ 14 ส.ค. เรื่องนี้คงไม่ยืดยาว หลังเปิดสมัยประชุมภายใน 10 วัน น่าจะทราบว่าใครจะเป็นประธานคนใหม่ เท่าที่ทราบนายนิคมออกตัวเป็นแคนดิเดตแล้วหนึ่งราย และต้องดูว่านายนิคมจะยอมถอนตัวจากรองประธานเพื่อชิงตำแหน่งประธานหรือไม่ ถ้ายอมก็จะเลือกประธานและรองประธานในคราวเดียวกัน 

นายวันชัย สอนศิริ ส.ว.สรรหา ที่ปรึกษากฎหมายประธานวุฒิสภา กล่าวว่า พล.อ.ธีรเดชยังเป็นส.ว.อยู่ รัฐธรรมนูญมาตรา 124(4) กำหนดเฉพาะตำแหน่งระดับสูงที่มีความสำคัญเท่านั้น กรณีรัฐธรรมนูญมาตรา 119(8) ระบุถึงการสิ้นสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาสิ้นสุดลงเมื่อต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก แม้จะมีการรอการลงโทษแต่กรณีพล.อ.ธีรเดชยังไม่ถือว่าเข้าข่าย เพราะคดียังอยู่ในศาลชั้นต้นและไม่มีการพิพากษาถึงที่สุด ส่วนประเด็นความรับผิดชอบทางจริย ธรรมจนถึงขั้นลาออกนั้นขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของเจ้าตัว แต่ตามหลักกฎหมายแล้วไม่ถึงขั้นต้องออกจากตำแหน่งทางการเมือง 

.... :ph34r: ...
   นี้คือการประจาน ว่า สส พทรู้  นักกม รู้
แต่เล่นเสพความตอแหล และบิดเบือน
เพือสร้างกระแสให้สังคมแดงเข้าใจผิด และโกรธ 
  ไม่น่่าเชื่อนายวรเจตน์ จะพูดออกมาได้ ทั้งทีเป็นนัก กม แท้ ที่ชอบออกสือ แต่ทำไมบิดเบือน

คุณมาตาฮาริ  เข้าใจผิดแล้วครับ

พรฎ. ที่เอามาให้ผมดู   มันเป็น พรฎ. เปิดประชุมรัฐสภาสมัยสามัญทั่วไป  นะครับ

มันถึงไม่ต้องระบุว่าต้องให้ประชุมเรื่องอะไร  เนื่องจากการประชุมสามัญทั่วไป(120วัน)

ประชุมเรื่องอะไรก็ได้ ตามวาระของการประชุมและตามมติของที่ประชุม  ยกเว้นเรื่องที่  รธน  ระบุไว้ว่า

จะต้องประชุมในสมัยสามัญนิติบัญญัติตาม  มาตรา  127 (วรรค4)

ต่างกับการประชุมสมัยวิสามัญ  ที่กำลังถกเถียงกันอยู่นะครับ

การประชุมสมัยวิสามัญ  จะประชุมได้เมื่อเป็นกรณีพิเศษที่มีความจำเป็น  รบ.  ก็จะตรา  พรฎ.

ขอเปิดประชุมสมัยวิสามัญได้  หรืออีกกรณี สมาชิกทั้งสองสภาหรือสมาชิกสภาผู้แทน ไม่น้อยกว่า หนึ่งในสาม

เข้าชือ่ ขอเปิดประชุมสมัยวิสามัญได้  ตาม มาตรา129 

 

ไม่มีใครตอแหลหรือบิดเบือน  สร้างกระแสสังคมให้ใครเข้าใจผิดหรอกครับ  

แต่มันเป็นข้อกฎหมายและข้อเท็จจริง


เลือกตั้ง =ทางออก .......นายกฯเถื่อน  คือทางตัน

 


#160 Critical

Critical

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 642 posts

Posted 19 May 2014 - 20:13

 

 

 

ลองอ่าน มาตรา 127 วรรค 4 ประกอบดูน่ะค่ะ

 

การประชุมนิติบัญญัติ สามารถเสนอให้มีมติพิจรณาเรื่องอื่นใด

ด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด

เท่าที่มีอยู่

 

และการประชุมที่ผ่านมา ก็ได้มี สว เสนอให้มีการลงมติ

เดินหน้าเลือกประธาน ด้วยคะแนน 96 ต่อ 19

 

ถ้ามองโดยรวมแล้ว...ไม่น่าจะมีปัญหา...หรือขัด รธน..

 

http://breakingnews....p?newsid=721052

 

GLPnVE.JPG

มาตรา  127   หมายถึงขณะนั้นมี  สภาฯอยู่(หมายถึงไม่ได้ยุบสภา)  

และคงจะผ่านขั้นตอนเลือกประธานไปแล้ว(วรรคแรก)

แต่เมื่อมีการยุบสภาฯ ก็เข้าบทบัญญัติของมาตรา 132

 

 

 

 

ผมว่าการที่องค์กรต่างๆ  มันไม่สนใจข้อบัญญัติของกฎหมาย

มีเหตุผลเดียวคือ     มันมีตัวช่วย   ถ้าเกี่ยวข้องกับ  รธน.

ตัวช่วยช่วยได้อยู่แล้ว :lol:

 

ถามว่า  ประธานวุฒิ  ดำรงตำแหน่งตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ ไหม  กรุณาอย่าดริฟท์คิง   :lol:

 

คำถามนี้ไม่อยู่ในประเด็น

ประเด็นคือตีความ มาตรา 132 ข้อ2  ว่าอย่างไร

 

 

 

เค้าเขียนชัด ๆ เอ็งยังจะตีความอีก....โอ่ บระเจ้า

 

มาตรา ๑๓๒ ในระหวางที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือสภาผูแทนราษฎร 

ถูกยุบ จะมีการประชุมวุฒิสภามิได เวนแตเปนกรณีดังตอไปนี้ 
(๑) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่รัฐสภาตามมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ 
มาตรา ๒๓ และมาตรา ๑๘๙ โดยถือคะแนนเสียงจากจํานวนสมาชิกของวุฒิสภา 
(๒) ารประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่พิจารณาใหบุคคลดํารงตําแหนงใดตามบทบัญญัติ 
แหงรัฐธรรมนูญนี้ 

(๓) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่พิจารณาและมีมติใหถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง 

 

:lol:

 

ปัญหามันอยู่เอ็งตีความคำว่า  บุคคล  ว่าอย่างไร

เอ็งตีว่า  หมายถึง  ประธาน  แต่ข้าตีความว่า  บุคคลอื่น 

และมั่นใจว่าข้าถูกแต่เอ็งแถ  เพื่อเอาชนะ

 

555 เค้าเขียนบุคคลใด ก็แสดงว่าใครใดๆก็ได้ที่ถูกบัญญัติไว้ใน รธน.

แต่เอ็งบอกว่า บุคคลใด หมายถึงบุคคลอื่น ? บุคคลอื่นนี่คืออะไร เขียนไว้ตรงไหน ?

นี่แหละหนาถึงโดนยุบพรรคซ้ำซาก  :lol:  :lol:  :lol:


"การยอมรับแนวคิดหนึ่งในวงกว้าง ไม่ได้เป็นสิ่งพิสูจน์ความถูกต้องของความคิดนั้น" - แดน บราวน์, สาส์นลับที่สาบสูญ

#161 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

Posted 19 May 2014 - 20:22

 

 

 

 

ลองอ่าน มาตรา 127 วรรค 4 ประกอบดูน่ะค่ะ

 

การประชุมนิติบัญญัติ สามารถเสนอให้มีมติพิจรณาเรื่องอื่นใด

ด้วยคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด

เท่าที่มีอยู่

 

และการประชุมที่ผ่านมา ก็ได้มี สว เสนอให้มีการลงมติ

เดินหน้าเลือกประธาน ด้วยคะแนน 96 ต่อ 19

 

ถ้ามองโดยรวมแล้ว...ไม่น่าจะมีปัญหา...หรือขัด รธน..

 

http://breakingnews....p?newsid=721052

 

GLPnVE.JPG

มาตรา  127   หมายถึงขณะนั้นมี  สภาฯอยู่(หมายถึงไม่ได้ยุบสภา)  

และคงจะผ่านขั้นตอนเลือกประธานไปแล้ว(วรรคแรก)

แต่เมื่อมีการยุบสภาฯ ก็เข้าบทบัญญัติของมาตรา 132

 

 

 

 

ผมว่าการที่องค์กรต่างๆ  มันไม่สนใจข้อบัญญัติของกฎหมาย

มีเหตุผลเดียวคือ     มันมีตัวช่วย   ถ้าเกี่ยวข้องกับ  รธน.

ตัวช่วยช่วยได้อยู่แล้ว :lol:

 

ถามว่า  ประธานวุฒิ  ดำรงตำแหน่งตามบทบัญญัติ รัฐธรรมนูญ ไหม  กรุณาอย่าดริฟท์คิง   :lol:

 

คำถามนี้ไม่อยู่ในประเด็น

ประเด็นคือตีความ มาตรา 132 ข้อ2  ว่าอย่างไร

 

 

 

เค้าเขียนชัด ๆ เอ็งยังจะตีความอีก....โอ่ บระเจ้า

 

มาตรา ๑๓๒ ในระหวางที่อายุของสภาผูแทนราษฎรสิ้นสุดลงหรือสภาผูแทนราษฎร 

ถูกยุบ จะมีการประชุมวุฒิสภามิได เวนแตเปนกรณีดังตอไปนี้ 
(๑) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่รัฐสภาตามมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ 
มาตรา ๒๓ และมาตรา ๑๘๙ โดยถือคะแนนเสียงจากจํานวนสมาชิกของวุฒิสภา 
(๒) ารประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่พิจารณาใหบุคคลดํารงตําแหนงใดตามบทบัญญัติ 
แหงรัฐธรรมนูญนี้ 

(๓) การประชุมที่ใหวุฒิสภาทําหนาที่พิจารณาและมีมติใหถอดถอนบุคคลออกจากตําแหนง 

 

:lol:

 

ปัญหามันอยู่เอ็งตีความคำว่า  บุคคล  ว่าอย่างไร

เอ็งตีว่า  หมายถึง  ประธาน  แต่ข้าตีความว่า  บุคคลอื่น 

และมั่นใจว่าข้าถูกแต่เอ็งแถ  เพื่อเอาชนะ

 

555 เค้าเขียนบุคคลใด ก็แสดงว่าใครใดๆก็ได้ที่ถูกบัญญัติไว้ใน รธน.

แต่เอ็งบอกว่า บุคคลใด หมายถึงบุคคลอื่น ? บุคคลอื่นนี่คืออะไร เขียนไว้ตรงไหน ?

นี่แหละหนาถึงโดนยุบพรรคซ้ำซาก  :lol:  :lol:  :lol:

 

 

รัฐธรรมนูญเขียนออกโต้ง ภาษาไทยอีกต่างหาก

 

ยังจะตีความไปเป็นอื่นอีก....กลุ้ม

 

 

:lol:  :lol:  :lol:



#162 templar

templar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,180 posts

Posted 19 May 2014 - 20:51

ใครช่างใจร้ายขุดกระทู้ทั่น จาฤก  ขึ้นมาเชือดอีกเนี่ย  :lol:


อย่ามาเห่าว่ากรูมาจากการเลือกตั้ง  เพราะการเลือกตั้งไม่ใช่ทุกอย่างของประชาธิปไตย

การตรวจสอบบ้านเมืองอย่างเข้มข้น  ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ  จำเป็นสำหรับประเทศไทย

 

สิ่งที่บ่งบอกว่าประเทศไหนพัฒนาแล้วไม่ได้ดูที่  มีตึกสูงมากเท่าไร  มีห้างเยอะไหม  มีจีดีพีสูงแค่ไหน

แต่ดูที่การศึกษา  และ คุณภาพของบุคลากรภายในประเทศ


#163 Matahari

Matahari

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,408 posts

Posted 19 May 2014 - 21:20

  http://www.kpi.ac.th...hp/การประชุมสภา
ลองอ่านดู การประชุมรัฐสภาเพืออะไรไม่เ่กี่ยววุฒิสภา
การเลือกประธาน เขาเรียก การประชุมวุฒิสภาเขามีข้อกำหนด และข้อบังคับ
อุตสาห์ยกเรื่องนายวรเจตน์ ที่พุดว่า พ.ร.ฏ  ที่เสวนาทางออกเลือกตั้ง
การเลือกประธาน ต้องระบุใน พ.ร.ฏ  เห็นหรือไม่ว่านายวรเจตน์ระบุหรือไม่ ว่าต้องพ.ร.ฏ สมัยประชุมอะไร...มีหรือไม่ ไม่มีคะ
แต่สิ่งทีนายวรเจตน์ ว่าต้องมีระบุ ถ้าไม่มี การเลือกประธาน มันเถือน
แต่สุดท้ายนายวรเจตน์ ตกม้าตายหรือจงใจ บิดเบือน สร้างความคิดผิดให้สังคมแดง
ไม่น่าเชื่อ นักกม แท้ๆๆ
ลองค้นหาอ่านพ.ร.ฏ เก่าๆ ไม่เคยมีระบุ ในการเลือกปธ สว หรือ  ปธ สส เลย  
นายวรเจตน์ จงใจบิดเบือนหรือไม่เพือสร้างกระแสใส่ความคุณสุรชัย 

:ph34r: ...
คุณต้องพิสูจน์เอง ไปหาดูพ.ร.ฏ. เก่า ว่ามีเรืองพวกนี้หรือไม่ 
ฉันอ่านมาแล้วไมเ่คยปรากฎ 
ลองคิดมันเรื่องระหว่าง สว เลือกหัวหน้า หรือเรียกว่าประธาน ไม่ใช่สาระทีจะให้ในหลวงโปรดเกล้าลงมาใช่หรือไม่
ขอย้ำนะ เรื่องการเลือกประธาน นายวรเจตน์ไม่ได้พุดเรื่องข้อกม  แต่พุดว่าเหมือนกับว่าเคยทำมา ต้องระบุในพ.ร.ฏ. เพราะมันไม่มีข้อกม ไหนระบุ ว่า 
ต้องระบุไว้ ในสมัยการประชุม


Edited by Matahari, 19 May 2014 - 21:36.

***********************************************************




1 user(s) are reading this topic

0 members, 1 guests, 0 anonymous users