Jump to content


Konigsburg

เป็นสมาชิกตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2554
ออฟไลน์ เข้าใช้งานครั้งล่าสุด: 30 พฤษภาคม 2557 00:24
-----

Posts I've Made

In Topic: ด่วน ! ศาลรธน. ตัดสิน ยิ่งลักษณ์ พ้นตำแหน่ง-รมต.ร่วมลงมติ โดนด้วย

7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 19:04

เดินหน้าสู่การเลือกตั้ง

 
แล้วใครรับพระราชกฤษฎีกาเลือกตั้ง  ล่ะครับ  ในเมื่ออีโง่ไปแล้ว   :lol: แล้วก็มีนายกคนเดียวที่สามารถรับร่างนี้ได้
 
ขนาดประธานสภายังรับร่างนี้ไม่ได้เลย  หยุดฝันหวานได้แล้ว
ก็ตั้งคนที่ยังอยู่นั้นแหละ  รษก. นายก 1คน
ว่าแต่  นายกฯ  นิ้วกลาง   เลิกฝันได้แล้ว
 
ใครตั้งล่ะครับ? ตามกฏหมายนายกฯ ต้องเลือกมาจากสภาผู้แทนนะครับ แต่ตอนนี้สภาไม่มีแล้ว...
ผมว่าทำได้ก็แค่ให้รองนายกฯ ลำดับที่สูงสุดทำหน้าที่รักษาการได้ตามกระบวนการของระบบราชการเท่านั้น
 
แต่ถ้าไม่มีรองนายกฯ เหลืออยู่เลย ก็ไม่มีกระบวนการบริหารราชการแผ่นดินรองรับ... นายกฯจะมาจากไหน????
ตั้งนายกฯ  ในสภานั้นคือตั้งนายกฯหลักจากเลือกตั้งเสร็จแล้ว
สำหรับกรณีนี้  น่าจะใช้วิธีการแบบเทียบเคียงเวลานายกฯ  ไปต่างประเทศ
จะต้องตั้ง  รักษาการณ์ ทำนองนั้นแหละ   น่าจะระเบียบสำนักนายกฯ(ไม่แน่ใจ)
 
ไม่มีรักษาการณ์นายกแล้ว  มีแต่ผู้ปฏิบัติงานแทนนายกชั่วคราว  อย่ามาแถอีกนะ  ว่ามันเหมือนกัน
 
การเป็นนายกรักษาการณ์มันก็คือนายกนั่นแหละ  เพียงแต่อำนาจบางอย่างหายไป  เช่น  การอนุมัติงบประมาณ  การโยกย้ายข้าราชการ
 
แต่ยังสามารถสั่ง  ตำรวจ  ทหาร  ข้าราชการ ได้  เพื่อความเรียบร้อยของบ้านเมือง   
 
แต่ไอ้รักษาการณ์เก๊  ที่จาเละ  พูดน่ะไม่มีอำนาจอะไรเลย  ประกาศใช้  พรก.ฉุกเฉิน  ก็ไม่ได้  ประกาศใช้  พรบ.มั่นคง  ก็ไม่ได้
 
แถมรับสนองพระราชกฤษฎีกา  ก็ไม่ได้  ทำได้แค่ปฏิบัติงานในส่วนของกระทรวงของตนเองเท่านั้น  ส่วนหน้าที่ของนายกทำอะไรไม่ได้เลย
 
มากสุด  ก็  คอยรับแขกบ้านแขกเมือง  กรณีมีผู้หลักผู้ใหญ่จากต่างประเทศเดินทางมา

ถ้าเป็นแบบนี้ก็อยากให้ สว.ยื่นศาลรัฐธรรมนูญตีความเลยครับว่า ณ ขณะนี้ถือเสมือนให้ใช้มาตรา 7 ได้เลยมั้ย ให้ฝ่ายนิติบัญญัติที่ยังมีอยู่ณขณะนี้คือวุฒิสภา เลือกนายกเองได้เลย เพราะขณะนี้ แม้แต่ "นายกรัฐมนตรีรักษาการ" ก็ไม่มีแล้ว มีแต่ "ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนนายกรัฐมนตรี" การให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทน ไปเป็นเดือนๆ ก็เสมือนกับเป็นสุญญากาศแล้ว อำนาจอะไรก็ไม่มีเลย

In Topic: รัฏฐาธิปัตย์ของกำนัน..ทำได้ไหม ผิดกฏหมายไหมครับ?

16 เมษายน พ.ศ. 2557 - 17:45

หากนายกสิ้นสภาตั้งแต่ยุบสภา นายกก็ไม่สามารถออกประกาศ พรก.ฉุกเฉิน ที่อาศัยอำนาจนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี เป็นผู้ประกาศได้นะ ลองดูประกาศพรก. ตอนลงนามยังใช้ชื่อตำแหน่งเป็น นายกรัฐมนตรี ไม่ใช่ รักษาการนายกรัฐมนตรีเลย


คุณจาฤกขนาดคำว่า พ้นจากตำแหน่งแล้วรักษาการ กับ สิ้นสภาพ ยังแยกไม่ออกเลย

In Topic: รัฏฐาธิปัตย์ของกำนัน..ทำได้ไหม ผิดกฏหมายไหมครับ?

16 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:40

งงนิดนึงอะครับ ถ้ามีรักษาการอยู่แล้วมันจะเป็น สูญญากาศ ยังไงอะครับ? สงสัยจริงๆ นะไม่ได้กวนตีน


ก็นายกฯพ้นจากตำแหน่ง ครม.ก็พ้นไปด้วย ไม่มีฝ่ายบริหาร กลายเป็นสูญญากาศไงครับ
นายกตัวจริงฯพ้นตำแหน่งไปตั้งแต่ยุบสภาแล้วครับ จะมาพ้นซ้ำสองได้อย่างไรล่ะครับ
ส่วนถ้าจะให้นายกฯ รษก พ้นตำแหน่ง ง่ายนิดเดียว
ก็เลือกตั้งหา ครม. ชุดใหม่มา แค่นี้ นายกฯ รษก . ก็พ้นตำแหน่งโดยปริยาย
มีคนที่เข้าใจผิดเรื่องนี้มากมาย คนที่เชื่อว่าเมื่อยุบสภาแล้วพ้นตำแหน่ง จะต้องเป็นรักษาการตลอดไป ใครจะมาถอดถอนไม่ได้ คือนายกยุบสภา ก็จะพ้นตำแหน่งตามมาตรา 180 แต่ยังมีสถานะของการเป็นรัฐมนตรีอยู่ ซึ่งสถานะของรัฐมนตรีจะสิ้นสภาพตาม มาตรา 182
มาตรา ๑๘๒ ความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ตองคําพิพากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เวนแตเปน
กรณีที่คดียังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท
(๔) สภาผูแทนราษฎรมีมติไมไววางใจตามมาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๕๙
(๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๗๔
(๖) มีพระบรมราชโองการใหพนจากความเปนรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๘๓
(๗) กระทําการอันตองหามตามมาตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ หรือมาตรา ๒๖๙
(๘) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง นอกจากเหตุที่ทําใหความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามวรรคหนึ่งแลว ความเปน
รัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อครบกําหนดเวลาตามมาตรา ๑๗๑ วรรคสี่ ดวย ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๑ และมาตรา ๙๒ มาใชบังคับกับการสิ้นสุดของความเปนรัฐมนตรี ตาม (๒) (๓) (๕) หรือ (๗) หรือวรรคสอง โดยใหคณะกรรมการการเลือกตั้งเปนผูสงเรื่องใหศาล
รัฐธรรมนญู วินิจฉัยไดดวย
ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญรับคำร้องเนื่องจากกระทำการขัดต่อ มาตรา 266 กรณีโยกย้าย ถวิล เปลี่ยนสี
มาตรา ๒๖๖ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาตองไมใชสถานะหรือตําแหนง การเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาเขาไปกาวกายหรือแทรกแซงเพ่ือประโยชนของ ตนเอง ของผูอื่น หรือของพรรคการเมือง ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม ในเรื่องดังตอไปนี้
(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดําเนินงานในหนาที่ประจําของขาราชการ พนักงาน หรือ ลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือราชการ สวนทองถิ่น
(๒) การบรรจุ แตงตั้ง โยกยาย โอน เลื่อนตําแหนง และเลื่อนเงินเดือนของขาราชการ ซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือ
(๓) การใหขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือ ราชการสวนทองถิ่น พนจากตําแหนง
ดังนั้นแล้วไอ้พวกนักวิชาการแดงที่เอาแต้อ้างมาตรา 181 ว่านายกต้องรักษาการจนกว่าจะจะมีครม. ชุดใหม่ ลาออกไม่ได้ ไม่งั้นจะมีความผิดฐานละเว้นปฏิบัติหน้าที่ จึงเป็นการตีความกฎหมายได้อย่างสุนัขรับใช้มากๆ จนคุณมีชัยต้องออกมาบอกว่า การลาออกถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ใครจะมาบังคับให้ลาออกไม่ได้
เข้าใจรึยังว่า ไม่ใช่แค่เรื่องการพ้นตำแหน่ง แต่ยังสิ้นสุดสภาพของรัฐมนตรี ตามมาตรา 182 อีกด้วย
คุณลองใช้คอมมอนเซนส์สิครับ หากคุณเชื่ออย่างสนิทใจว่าห้ามรักษาการลาออก สมมติเกิดนายกประสบอุบัติเหตุตายไป คนตายก็ยังอยู่ในตำแหน่งได้เหรอ
ที่คุณพยายาม  อธิบายมาทั้งหมดนั้น   มันสำหรับนายกฯ  ที่มีอำนาจเต็มที่มาจากการเลือกตั้ง  ตาม  รธน  หลายๆ  มาตรา
ไม่ได้ใช้สำหรับ  นายกฯ รษก      สำหรับนายกฯ  รษก.  ถ้าว่ากันตาม  รธน  จะพ้นตำแหน่งด้วยเหตุผลเดีนวคือ
มี  ครม.  ชุดใหม่มารับ  หน้าที่แทน   แค่นั้นแหละ
คุณบอกว่านักกฎหมาย  ที่เห็นไม่สอดคล้องกับคุณตีดวามแบบสุนัขๆ  คุณลองตีความแบบไม่สุนัขๆ  ข้อความที่ว่า"ต้องอยู่ปฎิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่า  ครม  .ที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับปฎิบัติหน้าที่"   หน่อยซิครับ
 ปล.  เดี๋ยวต้องมีคนมาบอกว่า  งั้นก็ตายไม่ได้ซิ    ตายมันเป็นเหตุสุดวิสัย

ไม่ว่าจะนายกที่ยังอยู่ในตำแหน่งหรือรักษาการ ก็อยู่ภายใต้มาตรา 182 ครับ ไม่ทราบว่าคุณจะตะแบงมาตรา 181 เพื่ออะไร กรณีมาตรา 181 คือพ้นตำแหน่งแล้ว รอครม.ชุดใหม่มาหลังเลือกตั้งเสร็จ แต่กรณีที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน นายกรักษาการกำลังจะถูกสอยด้วย มาตรา 182 (7) แถมเลือกตั้งก็ไม่อาจเสร็จทันได้ หลังจากศาลชี้ขาด จึงต้องใช้มาตรา 7 ในการอุดช่องว่างสุญญากาศ แบบนี้ถ้านายกรักษาการฆ่าคนตายถูกศาลตัดสินให้จำคุก คุณคิดว่าเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญจะยอมให้คนที่ถูกตัดสินจำคุกเป็นรักษาการได้โดยตะแบงแต่ มาตรา 181 เหรอครับ เฮ้ย!!!คุณจะตะแบงอะไร เถียงอะไรรู้จักละอายหน่อยสิครับ!!!
สรุปคือคุณเห็นด้วยกับผมว่า  คณะ  รมต. พ้นจากตำแหน่งแล้ว  และกำลัง  รษก.
เอาล่ะ..ผมจะไม่พูดถึง  181   แต่จะพูดถึง   182  แทน
คุณบอกว่านายฯ รษก  กำลังจะถูกสอยแล้วจะเกิดสูญญากาศ(พูดเหมือนคุณจะทราบล่วงหน้า  
แต่เวลาผมบอกว่ามีการสบคบกัน  กลับบอกไม่มี)  และจะต้องใช้มาตรา 7  
คุณอ้างมาตรา  182  แต่บอกว่าจะเกิดสูญญากาศต้องใช้มาตรา  7  มันก็ขัดแย้งกันเองแล้วครับ
มาตรา  182  เป็นการ สิ้นสุดเฉพาะตัว  ก็หมายความว่า  นายกฯ สิ้นสุดคนเดียว  แต่  ครม.  รษก  ยังอยู่
มันก็ยังไม่เกิดสูญญากาศตามที่คุณถวิลหาแน่นอน   ครม.  ก็ต้องเลือกรองนายกหนึ่งคน  ขึ้นมา  รษก  แทน
ก็แค่นั้นแหละครับ
 
 
มาตรา ๑๘๒ ความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื่อ 
(๑) ตาย 
(๒) ลาออก 
(๓) ตองคําพิพากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เวนแตเปน
กรณีที่คดียังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ 
หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท 
(๔) สภาผูแทนราษฎรมีมติไมไววางใจตามมาตรา ๑๕๘ หรือ....
 ...............
 
 
ปล.เวลาผมเถียงผมเถียงจากข้อกฎหมายทั้งนั้นแหละครับ  คุณเสียอีกที่พยายาม
     จินตมโน  ไปสมมุติในสิ่งที่ไม่เกิดขึ้นเช่น  ถ้านายกฯ ฆ่าคนตาย ฯ............
     แต่กลับมาบอกให้ผมละอายหน่อย   มันไม่รู้สึกอะไรบ้างเหรอครับ :D

เสียใจด้วยครับ หากคุณคิดเช่นนั้น หากนายกฯหลุดจากตำแหน่ง จะส่งผลให้ ครม.ทั้งคณะหลุดทั้งยวง เจตนารมณ์รัฐธรรมนูญเป็นเช่นนั้น ตอนสมัครหลุด ก็พ้นทั้งครม.นะครับ แต่ตอนนั้นยังมี สส.ก็เลือกเอาสมชายเป็นแทน นักวิชาการทางกฎหมายแทบทุกคนให้ความเห็นเช่นนี้หมด

In Topic: รัฏฐาธิปัตย์ของกำนัน..ทำได้ไหม ผิดกฏหมายไหมครับ?

13 เมษายน พ.ศ. 2557 - 16:58

งงนิดนึงอะครับ ถ้ามีรักษาการอยู่แล้วมันจะเป็น สูญญากาศ ยังไงอะครับ? สงสัยจริงๆ นะไม่ได้กวนตีน


ก็นายกฯพ้นจากตำแหน่ง ครม.ก็พ้นไปด้วย ไม่มีฝ่ายบริหาร กลายเป็นสูญญากาศไงครับ
นายกตัวจริงฯพ้นตำแหน่งไปตั้งแต่ยุบสภาแล้วครับ จะมาพ้นซ้ำสองได้อย่างไรล่ะครับ
ส่วนถ้าจะให้นายกฯ รษก พ้นตำแหน่ง ง่ายนิดเดียว
ก็เลือกตั้งหา ครม. ชุดใหม่มา แค่นี้ นายกฯ รษก . ก็พ้นตำแหน่งโดยปริยาย
มีคนที่เข้าใจผิดเรื่องนี้มากมาย คนที่เชื่อว่าเมื่อยุบสภาแล้วพ้นตำแหน่ง จะต้องเป็นรักษาการตลอดไป ใครจะมาถอดถอนไม่ได้ คือนายกยุบสภา ก็จะพ้นตำแหน่งตามมาตรา 180 แต่ยังมีสถานะของการเป็นรัฐมนตรีอยู่ ซึ่งสถานะของรัฐมนตรีจะสิ้นสภาพตาม มาตรา 182
มาตรา ๑๘๒ ความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ตองคําพิพากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เวนแตเปน
กรณีที่คดียังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท
(๔) สภาผูแทนราษฎรมีมติไมไววางใจตามมาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๕๙
(๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๗๔
(๖) มีพระบรมราชโองการใหพนจากความเปนรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๘๓
(๗) กระทําการอันตองหามตามมาตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ หรือมาตรา ๒๖๙
(๘) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง นอกจากเหตุที่ทําใหความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามวรรคหนึ่งแลว ความเปน
รัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อครบกําหนดเวลาตามมาตรา ๑๗๑ วรรคสี่ ดวย ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๑ และมาตรา ๙๒ มาใชบังคับกับการสิ้นสุดของความเปนรัฐมนตรี ตาม (๒) (๓) (๕) หรือ (๗) หรือวรรคสอง โดยใหคณะกรรมการการเลือกตั้งเปนผูสงเรื่องใหศาล
รัฐธรรมนญู วินิจฉัยไดดวย
ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญรับคำร้องเนื่องจากกระทำการขัดต่อ มาตรา 266 กรณีโยกย้าย ถวิล เปลี่ยนสี
มาตรา ๒๖๖ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาตองไมใชสถานะหรือตําแหนง การเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาเขาไปกาวกายหรือแทรกแซงเพ่ือประโยชนของ ตนเอง ของผูอื่น หรือของพรรคการเมือง ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม ในเรื่องดังตอไปนี้
(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดําเนินงานในหนาที่ประจําของขาราชการ พนักงาน หรือ ลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือราชการ สวนทองถิ่น
(๒) การบรรจุ แตงตั้ง โยกยาย โอน เลื่อนตําแหนง และเลื่อนเงินเดือนของขาราชการ ซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือ
(๓) การใหขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือ ราชการสวนทองถิ่น พนจากตําแหนง
ดังนั้นแล้วไอ้พวกนักวิชาการแดงที่เอาแต้อ้างมาตรา 181 ว่านายกต้องรักษาการจนกว่าจะจะมีครม. ชุดใหม่ ลาออกไม่ได้ ไม่งั้นจะมีความผิดฐานละเว้นปฏิบัติหน้าที่ จึงเป็นการตีความกฎหมายได้อย่างสุนัขรับใช้มากๆ จนคุณมีชัยต้องออกมาบอกว่า การลาออกถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ใครจะมาบังคับให้ลาออกไม่ได้
เข้าใจรึยังว่า ไม่ใช่แค่เรื่องการพ้นตำแหน่ง แต่ยังสิ้นสุดสภาพของรัฐมนตรี ตามมาตรา 182 อีกด้วย
คุณลองใช้คอมมอนเซนส์สิครับ หากคุณเชื่ออย่างสนิทใจว่าห้ามรักษาการลาออก สมมติเกิดนายกประสบอุบัติเหตุตายไป คนตายก็ยังอยู่ในตำแหน่งได้เหรอ
ที่คุณพยายาม  อธิบายมาทั้งหมดนั้น   มันสำหรับนายกฯ  ที่มีอำนาจเต็มที่มาจากการเลือกตั้ง  ตาม  รธน  หลายๆ  มาตรา
ไม่ได้ใช้สำหรับ  นายกฯ รษก      สำหรับนายกฯ  รษก.  ถ้าว่ากันตาม  รธน  จะพ้นตำแหน่งด้วยเหตุผลเดีนวคือ
มี  ครม.  ชุดใหม่มารับ  หน้าที่แทน   แค่นั้นแหละ
คุณบอกว่านักกฎหมาย  ที่เห็นไม่สอดคล้องกับคุณตีดวามแบบสุนัขๆ  คุณลองตีความแบบไม่สุนัขๆ  ข้อความที่ว่า
"ต้องอยู่ปฎิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่า  ครม  .ที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับปฎิบัติหน้าที่"   หน่อยซิครับ
 
ปล.  เดี๋ยวต้องมีคนมาบอกว่า  งั้นก็ตายไม่ได้ซิ    ตายมันเป็นเหตุสุดวิสัย

ไม่ว่าจะนายกที่ยังอยู่ในตำแหน่งหรือรักษาการ ก็อยู่ภายใต้มาตรา 182 ครับ ไม่ทราบว่าคุณจะตะแบงมาตรา 181 เพื่ออะไร กรณีมาตรา 181 คือพ้นตำแหน่งแล้ว รอครม.ชุดใหม่มาหลังเลือกตั้งเสร็จ แต่กรณีที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน นายกรักษาการกำลังจะถูกสอยด้วย มาตรา 182 (7) แถมเลือกตั้งก็ไม่อาจเสร็จทันได้ หลังจากศาลชี้ขาด จึงต้องใช้มาตรา 7 ในการอุดช่องว่างสุญญากาศ แบบนี้ถ้านายกรักษาการฆ่าคนตายถูกศาลตัดสินให้จำคุก คุณคิดว่าเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญจะยอมให้คนที่ถูกตัดสินจำคุกเป็นรักษาการได้โดยตะแบงแต่ มาตรา 181 เหรอครับ เฮ้ย!!!คุณจะตะแบงอะไร เถียงอะไรรู้จักละอายหน่อยสิครับ!!!

In Topic: รัฏฐาธิปัตย์ของกำนัน..ทำได้ไหม ผิดกฏหมายไหมครับ?

13 เมษายน พ.ศ. 2557 - 13:41

งงนิดนึงอะครับ ถ้ามีรักษาการอยู่แล้วมันจะเป็น สูญญากาศ ยังไงอะครับ? สงสัยจริงๆ นะไม่ได้กวนตีน


ก็นายกฯพ้นจากตำแหน่ง ครม.ก็พ้นไปด้วย ไม่มีฝ่ายบริหาร กลายเป็นสูญญากาศไงครับ
นายกตัวจริงฯพ้นตำแหน่งไปตั้งแต่ยุบสภาแล้วครับ จะมาพ้นซ้ำสองได้อย่างไรล่ะครับ
ส่วนถ้าจะให้นายกฯ รษก พ้นตำแหน่ง ง่ายนิดเดียว
ก็เลือกตั้งหา ครม. ชุดใหม่มา แค่นี้ นายกฯ รษก . ก็พ้นตำแหน่งโดยปริยาย
มีคนที่เข้าใจผิดเรื่องนี้มากมาย คนที่เชื่อว่าเมื่อยุบสภาแล้วพ้นตำแหน่ง จะต้องเป็นรักษาการตลอดไป ใครจะมาถอดถอนไม่ได้ คือนายกยุบสภา ก็จะพ้นตำแหน่งตามมาตรา 180 แต่ยังมีสถานะของการเป็นรัฐมนตรีอยู่ ซึ่งสถานะของรัฐมนตรีจะสิ้นสภาพตาม มาตรา 182
มาตรา ๑๘๒ ความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ตองคําพิพากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เวนแตเปน
กรณีที่คดียังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันไดกระทําโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท
(๔) สภาผูแทนราษฎรมีมติไมไววางใจตามมาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๕๙
(๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๑๗๔
(๖) มีพระบรมราชโองการใหพนจากความเปนรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๘๓
(๗) กระทําการอันตองหามตามมาตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ หรือมาตรา ๒๖๙
(๘) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ใหถอดถอนออกจากตําแหนง นอกจากเหตุที่ทําใหความเปนรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามวรรคหนึ่งแลว ความเปน
รัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อครบกําหนดเวลาตามมาตรา ๑๗๑ วรรคสี่ ดวย ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๙๑ และมาตรา ๙๒ มาใชบังคับกับการสิ้นสุดของความเปนรัฐมนตรี ตาม (๒) (๓) (๕) หรือ (๗) หรือวรรคสอง โดยใหคณะกรรมการการเลือกตั้งเปนผูสงเรื่องใหศาล
รัฐธรรมนญู วินิจฉัยไดดวย

ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญรับคำร้องเนื่องจากกระทำการขัดต่อ มาตรา 266 กรณีโยกย้าย ถวิล เปลี่ยนสี
มาตรา ๒๖๖ สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาตองไมใชสถานะหรือตําแหนง การเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาเขาไปกาวกายหรือแทรกแซงเพ่ือประโยชนของ ตนเอง ของผูอื่น หรือของพรรคการเมือง ไมวาโดยทางตรงหรือทางออม ในเรื่องดังตอไปนี้
(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดําเนินงานในหนาที่ประจําของขาราชการ พนักงาน หรือ ลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือราชการ สวนทองถิ่น
(๒) การบรรจุ แตงตั้ง โยกยาย โอน เลื่อนตําแหนง และเลื่อนเงินเดือนของขาราชการ ซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือราชการสวนทองถิ่น หรือ
(๓) การใหขาราชการซึ่งมีตําแหนงหรือเงินเดือนประจําและมิใชขาราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจางของหนวยราชการ หนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุนใหญ หรือ ราชการสวนทองถิ่น พนจากตําแหนง

ดังนั้นแล้วไอ้พวกนักวิชาการแดงที่เอาแต้อ้างมาตรา 181 ว่านายกต้องรักษาการจนกว่าจะจะมีครม. ชุดใหม่ ลาออกไม่ได้ ไม่งั้นจะมีความผิดฐานละเว้นปฏิบัติหน้าที่ จึงเป็นการตีความกฎหมายได้อย่างสุนัขรับใช้มากๆ จนคุณมีชัยต้องออกมาบอกว่า การลาออกถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน ใครจะมาบังคับให้ลาออกไม่ได้

เข้าใจรึยังว่า ไม่ใช่แค่เรื่องการพ้นตำแหน่ง แต่ยังสิ้นสุดสภาพของรัฐมนตรี ตามมาตรา 182 อีกด้วย

คุณลองใช้คอมมอนเซนส์สิครับ หากคุณเชื่ออย่างสนิทใจว่าห้ามรักษาการลาออก สมมติเกิดนายกประสบอุบัติเหตุตายไป คนตายก็ยังอยู่ในตำแหน่งได้เหรอ