เอาเป็นว่าผม เซ็งกับทุกคน ที่เอาพระองค์ลงมาครับ
ไม่ว่าฝ่ายล้ม หรือ ฝ่าย สนับสนุน
- DarkSwan, prisonbreak and MOD_01 like this
prisonbreak hasn't added any friends yet.
โดย nunoi on 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 04:00
เอาเป็นว่าผม เซ็งกับทุกคน ที่เอาพระองค์ลงมาครับ
ไม่ว่าฝ่ายล้ม หรือ ฝ่าย สนับสนุน
โดย kanokporn on 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 16:22
มีบางคน จากคณะรัฐบุคคลไปแนะนำหลวงปู่ อิชั้นไม่อยากจะสงสัยว่าเป็น ปราโมทย์ นาครทรรพ ...แกเป็นขาประจำในการเรียกร้องทหารปฏิวัติ+ถวายคืนพระราชอำนาจ+ชอบเขียนบทความแนวๆ นี้ ลงแมเนเจอร์ออนไลน์ ..ส่วนตัวอยากให้สานุศิษย์ช่วยๆ กันทัดทานนะ
โดย HiddenMan on 28 เมษายน พ.ศ. 2557 - 13:40
มาม่า ขึ้นครั้งสุดท้าย พ.ศ. ไหน ???
ขึ้นราคาจาก 5 บาท เป็น 6 บาท มกรา ปี 51 ฮะ
จากเซียนมาม่า
นั่นไงล่ะ... ผลพวงรัฐประหาร
โดย ชาวสวน on 8 เมษายน พ.ศ. 2557 - 09:30
ผิดบ่อยเกิน หลายครั้งแล้ว ลดความน่าเชื่อถือของตัวเองลง
มีบทเรียนแล้ว ไม่จำ ไม่ปรับปรุง
โดย spartacus on 8 เมษายน พ.ศ. 2557 - 01:55
โดย Jump Man on 20 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:53
ผมสงสัยว่า ถ้าคัดค้านแล้วจะได้สร้างหรือครับ ในเมื่อเริ่มสร้างในปี 2542
ปี2542 เปิดใช้บริการแล้ว โครงการเซ็นสัญญาตั้งแต่ปี2535 ใช้เวลาประมาณ 8 ปีในโครงการทั้งหมด แถบยังมีปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 เข้ามาแทรกอีก แต่โครงการก็สำเร็จได้
โดย อู๋ ฮานามิ on 20 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:29
จำลองเป็นผู้ว่าฯ กทม.สมัยที่ 2 ระหว่างปี 33-35 ถัดมาก็ ร.อ.กฤษฎา ผู้ล่วงลับ ที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าฯ ระหว่างปี 35-39
บีทีเอสเปิดใช้เมื่อเดือนธันวาคม 42 สมัย ดร.พิจิตต เป็นผู้ว่าฯ กทม. และรัฐบาลชวน
โดย Jump Man on 20 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:26
เรื่องการคัดค้านเท่าที่จำได้ก็น่าจะเป็น โรงเรียนมาแตร์แดอี เกี่ยวกับปัญหาเรื่องความปลอดภัยของนักเรียน จึงเป็นที่มาของผนังกั้นของสถานนีชิดลมที่สูงกว่าสถานีอื่น
โดย Jump Man on 20 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 13:24
โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร เป็นโครงการที่รัฐให้สัมปทานแก่เอกชน เพื่อสร้าง และประกอบการ ระบบขนส่งมวลชน วิ่งบนทางยกระดับ 2 สาย ในกรุงเทพมหานคร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วยบรรเทา ปัญหาการจราจร ในกรุงเทพมหานคร และเพื่อให้ประชาชน มีทางเลือกในการเดินทาง ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งกรุงเทพมหานคร ได้ประกาศเชิญชวน ให้เอกชนยื่นรายละเอียด ข้อเสนอของโครงการ และข้อเสนอของกลุ่มธนายง ได้รับการคัดเลือก ว่ามีความเหมาะสม มากที่สุด กลุ่มธนายง จึงได้ก่อตั้ง บริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (BTSC) ขึ้นตามข้อเสนอ เพื่อรับสัมปทาน เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2535 และได้ลงนาม สัญญาสัมปทาน กับกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2535 ซึ่งได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม สัญญาสัมปทาน เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2538 และวันที่ 28 มิถุนายน 2538
ลักษณะสัมปทาน
แนวเส้นทาง 1. สายสุขุมวิท
เริ่มจากบริเวณสุขุมวิท 81 ผ่านถนนสุขุมวิท - ถนนเพลินจิต - ถนนพระราม 1 - ถนนพญาไท - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - สนามเป้า - สะพานควาย - จตุจักร ไปสิ้นสุด บริเวณ สถานีขนส่งสายเหนือ และสายตะวันออกเฉียงเหนือ (ตลาดหมอชิต) รวมระยะทาง ประมาณ 17.0 กม. โดยมีสถานีทั้งสิ้น จำนวน 7 สถานี รวมสถานีร่วม สำหรับ เปลี่ยนสายบนถนนพระราม 1
แนวเส้นทาง 2. สายสีลม
เริ่มจากเชิงสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน (สะพานสาธร) ฝั่งกรุงเทพฯ - ถนนสาธร - ถนน นราธิวาสราชนครินทร์ (ถนนเลียบคลองช่องนนทรี) - ถนนสีลม - ถนน ราชดำริ - ถนนพระราม 1 ไปสิ้นสุด บริเวณ หน้าสนามกีฬาแห่งชาติ ระยะทางประมาณ 6.5 กม. มีสถานีจำนวน 7 สถานี รวมสถานีร่วม
ขบวนรถ
รถขนส่งมวลชนความจุสูงแบบมาตรฐาน(Heavy Rail) ประกอบด้วยรถจำนวน 3 หรือ 6 คัน พ่วงต่อกัน รถที่ใช้ มีอยู่ สองประเภท หลัก คือ รถชนิดที่มีห้องคนขับ ซึ่งมีมอเตอร์ สามารถขับเคลื่อนได้ และ รถชนิด ที่ไม่มีห้องคนขับ หรือรถพ่วง มีทั้งชนิดที่มี และไม่มีมอเตอร์ วิ่งบนรางคู่ยกระดับความกว้างราง 1.435 เมตร(Standard guage)แยกทิศทางไปและกลับ มีรางป้อนกระแสไฟฟ้าอยู่ด้านข้าง (Third Rail System) ขับเคลื่อน ตัวรถแต่ละคัน มีความกว้าง ประมาณ 3.20 เมตร ยาวประมาณ 21.8 เมตร จุผู้โดยสาร ได้ประมาณ 320 คน/ตู้ เป็นผู้โดยสารนั่ง 42 คน และยืน 278 คน มีประตูเลื่อนกว้าง 1.40 เมตร ด้านละ 4 บาน ตัวถัง ทำด้วยเหล็ก ปลอดสนิม ติดตั้ง ระบบปรับอากาศ พร้อมหน้าต่าง ชนิดกันแสง มีความปลอดภัยสูงและไม่มีผลกระทบต่อทัศนียภาพระบบที่ใช้นี้เป็นระบบที่มีประสิทธิภาพมีความคล่องตัวสูงและสามารถขยายระบบได้ มีความจุมากกว่า 50,000 คนต่อชั่วโมงต่อ ทิศทาง การควบคุมใช้คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะในเรื่องของความปลอดภัย เช่นระบบป้องกันการชนระบบควบคุมความเร็วเป็นต้น
รถไฟฟ้า 1 ขบวน จุผู้โดยสารได้ประมาณ 1000 คน เทียบกับรถประจำทางเท่ากับ 10 คัน และรถส่วนตัวได้ 400 คัน ใน 1 ชั่วโมงสามารถขนส่งผู้โดยสารได้ 25000 คน/ทิศทาง ระยะเวลาเดินทางจากอ่อนนุช - หมอชิต 51 นาทีและจาก สะพานตากสิน - สยาม 18 นาที รถออกทุก 3-6 นาที
สถานี
สถานีรับ - ส่งผู้โดยสารออกแบบให้หลบเลี่ยงสาธารณูปโภคใต้ดินและบนดินและรักษาผิวจราจรบนถนนมากที่สุดโดยทั่วไปออกแบบให้มีโครงสร้างแบบเสาเดี่ยวตั้งอยู่บนเกาะกลางถนน เช่นเดียวกับโครงสร้างทางวิ่งโดยทั่วไปมีความยาวประมาณ 150 เมตรมี 2 ลักษณะ คือ
1 ) สถานีประเภทมีชานชลาอยู่สองข้าง ( Side Platform Station ) โดยรถไฟวิ่งอยู่ตรงกลางสถานี สถานีทั่วไปได้ออกแบบให้มีลักษณะแบบนี้ เนื่องจากสร้างได้รวดเร็ว และใช้เนื้อที่น้อย
2 ) สถานีประเภทมีชานชลาอยู่ตรงกลาง( CentrePlatformStation ) รถไฟวิ่งอยู่สองข้างสถานี ชนิดนี้มีประสิทธิภาพสูงกว่าแบบแรกแต่การก่อสร้างยุ่งยากกว่าเนื่องจากตัวรางต้องเบนออกจากกัน เมื่อเข้าสู่สถานี ทั้งนี้ ได้ออกแบบให้สถานีร่วมมีลักษณะแบบนี้ เนื่องจากคาดว่าจะมี ผู้โดยสารเป็นจำนวนมาก
ค่าโดยสาร
ค่าโดยสารจะเริ่มต้นที่ 10บาท สูงสุดอยู่ที่ 40 บาทตลอดเส้นทาง
แหล่งข้อมูล www.bts.co.th
โดย HiddenMan on 12 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 11:12
หลักฐานชัดครับ... หมวดเจี๊ยบเป็นคนคล้องแขนการ์ดเดินออกมา
โดย ชาวสวน on 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 19:00
(เป็นข้อมูล) ถ้าให้ใบเหลือง/ใบแดง ก่อนประกาศผล เป็นอำนาจเด็ดขาดของกกต. แต่หลังประกาศผล(สอย) ต้องส่งให้ศาลตัดสินอีกทีค่ะ #nna
โดย applejaa on 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 16:29
ภาพเดียวกันป้ะ ถ้าภาพเดียวกัน นี่ตั้งแต่ สิงหาคม 2556 เลยนะ กปปส ยังไม่เกิดเบย
โดย ongard370 on 11 มีนาคม พ.ศ. 2557 - 17:21
Community Forum Software by IP.Board 3.4.6
Licensed to: serithai.net