Jump to content


โจ เอาเย็น

เป็นสมาชิกตั้งแต่ 5 กรกฎาคม 2556
ออฟไลน์ เข้าใช้งานครั้งล่าสุด: 1 สิงหาคม 2556 14:15
-----

#772624 พี่บัญชีของผมบอกว่า "คิดถึงหลักความเป็นจริง อีกไม่นานประเทศไทยเราจะกลายเป...

โดย โจ เอาเย็น on 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:52

 

เงินที่จ่ายไปคือส่วนต่างจากราคาขายข้าวของชาวนา โดยมีเพดานราคา+ราคากลางกำหนดไว้ครับ อย่างข้าวเปลือกเจ้าก็อยู่ที่ 1 หมื่น ราคากลาง 8500 ส่วนต่างคือ 1500 ครับ เงินส่วนต่างนี้โอนตรงเข้ามือชาวนาครับ และเงินส่วนต่างนี้คือแสนกว่าล้านที่ท่านอ้างถึง

ผมคงไม่ต้องอธิบายนะครับว่า รายได้ของชาวนาที่เพิ่มขึ้นในส่วนนี้ มันจะหมุนไปในระบบอย่างไร

ลองคิดเล่นๆ นะครับ ขนาดประกันรายได้ไม่มีต้นทุนที่มองไม่เห็นเหมือนกับจำนำข้าว แต่ยังใช้เงินไปแสนกว่าล้าน แล้วจำนำข้าวที่ใช้จ่ายเงินไปแล้วกว่า 6 แสนล้าน จะขาดทุนเท่าใด
ประกันรายได้ออกมาช่วยเกษตกรในระยะสั้นครับ เมื่อสต็อกข้าวของเรามีพอแค่บริโภคภายในประเทศปีต่อปี เมื่อนั้นราคาข้าวจะสูงตามกลไกตลาดครับ

 

 

เท่าที่เห็นจากข้อมูลล่าสุด โครงการจำนำขาดทุน 1.3 แสนล้านครับ 

 

http://thainews.prd....OL5606180020024

 

 

ไม่ต่างกับรายจ่ายแบบไม่มีรายรับในโครงการประกันราคา (5.59 + 6.76 หมื่น= 1.23 แสน) และหากค่าเงินตกลงกลับไปที่ 35 ข้าวที่ขายออกไปในราคาที่สามารถแข่งกับต่างประเทศได้ ก็จะทอนกลับมาเป็นเงินบาทที่สูงกว่า ทำให้มีโอกาสที่จะขาดทุนน้อยลงหรืออาจจะลงทุนเป็นศูนย์เลยก็ได้

 

ต่างจากการประกันที่เป็นรายจ่ายแน่นอนตายตัว ไม่มีโอกาสเสมอทุนหรือกำไรเลย

 

ถามว่าเหตุใดชาวนาเขาถึงอยากให้มีการจำนำมากกว่าการประกัน? ก็เพราะการประกันมันจ่ายส่วนต่างระหว่างราคาประกันกับราคาโรงสี มันไม่ได้ประกันว่าชาวนาจะเหลือกำไร

 

แต่การจำนำ ขาวนาเขากำไรแน่ๆ ไงครับ

 

เขากำหนดเกณฑ์ราคากลางครับ ซึ่งมีคณะกรรมการประเมินทุก 2 อาทิตย์ ตรงนี้แหละครับที่รัฐบาลมาร์กไม่เสียแชมป์ส่งออกข้าว ราคาตามกลไกตลาดครับ
เรื่องจำนำข้าวที่บอกชาวนาเรียกร้อง มีตัวเลขชาวนาที่เข้าร่วมโครงการไหมครับ แต่ก็เอาเถอะ ลองให้ประกันรายได้ที่เท่ากันกับจำนำข้าวดูสิครับ ท่านคิดว่า
ชาวนาจะเลือกอย่างไหน...เออ นี่ท่านยังจะให้ รบ.หากำไรจากการค้าข้าวอีกเหรอครับ ราคามันสูงกว่าตลาดโลก เลิกคิดดีกว่าครับ

เรื่องโรงสีผมอธิบายไปแล้วนะครับว่า รบ.ตั้งราคากลาง อ้างอิงจากตลาดโลกปรับทุก 2 อาทิตย์ ราคาขึ้นลงเหมือนทองคำล่ะครับ โรงสีรับตามราคากลางนำไปข้าวต่อก็กำไรเห็นๆ ครับ
อย่าอ้างลอยๆ เรื่องโรงสีกดราคาครับ ช่วงผลผลิตออก ถ้าสต๊อกข้าวไทยมีแค่พอกิน เมื่อนั้นชาวนาจะเป็นผู้กำหนดเกมครับ โรงสีเขาไม่โง่ครับ เมื่อไม่ซื้อก็ไม่มีข้าวขาย เจ้าอื่นก็รับตัดหน้า
ไหนบอกรู้เศรษฐศาสตร์ ช่วงประกันรายได้โรงสีเขาติดต่อรับถึงที่ก็แยะครับ




#772607 พี่บัญชีของผมบอกว่า "คิดถึงหลักความเป็นจริง อีกไม่นานประเทศไทยเราจะกลายเป...

โดย โจ เอาเย็น on 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:31

ไทยเข็มแข็งใช้เงินแค่ 4 แสนล้านนะครับ ผมแนะนำลองเข้าไปศึกษาในเว็บโดยตรงจะดีกว่า
เงินกระจายไปทุกภูมิภาค ไม่ได้หายไปอย่างที่ท่านว่า

http://www.tkk2555.c...php?page_id=127




#772600 พี่บัญชีของผมบอกว่า "คิดถึงหลักความเป็นจริง อีกไม่นานประเทศไทยเราจะกลายเป...

โดย โจ เอาเย็น on 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 - 18:23

 

 

 

ปี 52/53 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 5.59 หมื่นล้านบาท
ปี 53/54 รัฐบาล ปชป จ่ายประกันราคาข้าว 6.76 หมื่นล้านบาท
เป็นเงินให้ไปเปล่าๆ จากภาษีคุณและผมครับ ไม่มีรายได้จากการขายข้าวกลับมาเลยสักบาทเดียว จึงไม่มีการขาดทุน
ถามว่าเงินแสนกว่าล้านบาทที่จ่ายไปจากภาษีของคุณและผมนั่นเป็น subsidise หรือเปล่า เป็นการลงทุนหรือเปล่า?

 

 

ถามอีกหน่อยว่าแสนกว่าล้านนั้นคือกำไรหรือขาดทุนสำหรับคุณ?

 

 

 

^^ ยังไม่มีใครตอบเลยว่าแสนกว่าล้านที่จ่ายไปในโครงการประกันราคาข้าวเป็นอะไรกันแน่? มีรายรับกลับมาหรือไม่? และกำไรขาดทุนเท่าไหร่? หากทำต่อไปอีก 10 ปี จำนวนเงินที่ต้องจ่ายไปก็อาจจะถึง 6-7 แสนล้านบาท จะทำให้ประเทศไทยเจ๊งไหม? เพราะเหตุใด?

 

ลองคิดดูครับ ลับสมอง

 

เงินที่จ่ายไปคือส่วนต่างจากราคาขายข้าวของชาวนา โดยมีเพดานราคา+ราคากลางกำหนดไว้ครับ อย่างข้าวเปลือกเจ้าก็อยู่ที่ 1 หมื่น ราคากลาง 8500 ส่วนต่างคือ 1500 ครับ เงินส่วนต่างนี้โอนตรงเข้ามือชาวนาครับ และเงินส่วนต่างนี้คือแสนกว่าล้านที่ท่านอ้างถึง
ผมคงไม่ต้องอธิบายนะครับว่า รายได้ของชาวนาที่เพิ่มขึ้นในส่วนนี้ มันจะหมุนไปในระบบอย่างไร

ลองคิดเล่นๆ นะครับ ขนาดประกันรายได้ไม่มีต้นทุนที่มองไม่เห็นเหมือนกับจำนำข้าว แต่ยังใช้เงินไปแสนกว่าล้าน แล้วจำนำข้าวที่ใช้จ่ายเงินไปแล้วกว่า 6 แสนล้าน จะขาดทุนเท่าใด
ประกันรายได้ออกมาช่วยเกษตกรในระยะสั้นครับ เมื่อสต็อกข้าวของเรามีพอแค่บริโภคภายในประเทศปีต่อปี เมื่อนั้นราคาข้าวจะสูงตามกลไกตลาดครับ