Jump to content


tee4cute

เป็นสมาชิกตั้งแต่ 9 ธันวาคม 2556
ออฟไลน์ เข้าใช้งานครั้งล่าสุด: 13 ธันวาคม 2556 07:34
-----

Posts I've Made

In Topic: ความถูกต้อง หรือประชาธิปไตยที่ถูกบิดเบือน?

10 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 11:36

 

 

ยอมรับแต่กติกาที่เป็นประโยชน์กับตนเอง เช่น การเลือกตั้ง

แต่ไม่ยอมรับกติกาอื่นๆที่ตัดสินโดยศาล ทั้งๆที่ถูกผิดศาลท่านก็ว่าไปตามกฎหมายแท้ๆ

แล้วก็พาลด่าศาล ประกาศไม่ยอมรับอำนาจศาล

 

ประชาธิปไตยของ จขกท เป็นแบบนี้หรือครับ

 

สำหรับผม ต่อให้มันถูกเลือกมาจากคน 60 ล้าน ผมก็จะไล่มัน

 

ผมไม่แน่ใจว่า คห. นี้ คำว่า "ไม่ยอมรับ อำนาจ ศาล" หมายถึง กรณีใด นะครับ?

 

 

1) ถ้าหมายถึง กรณี ที่คุณทักษิณ ถูกตัดสินมูลความผิด เรื่องกรณีทุจริต คอรัปชั่น แล้วต้องหนีไปต่างประเทศ

- ข้อนี้ไม่ใช่ ประเด็น ที่ผมกำลังจะสื่อ นะครับ

 

แล้วความเห็นคุณต่อทักษิณกรณีนี้เป็นยังไงครับ

 

 

2) ถ้าหมายถึง กรณี ที่พรรคเพื่อไทย ไม่ยอมรับอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ กรณีขอแก้ไขรัฐธรรมนูญปี 50

- อันนี้ ผมขอ ออก ความเห็นไว้ดังนี้

 

   2.1) อำนาจบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ เป็น 3 อำนาจที่ถ่วงดุลกันในระบอบประชาธิปไตยของบ้านเรา โดย มีประชาชน ผู้เป็น เจ้าของอำนาจอธิปไตย ที่แท้จริง

 

ถูกครับ

 

   2.2) อำนาจนิติบัญญัติ มาจาก สส. และ สว. ถ้าถามว่ากรณีนี้ สส. และ สว. ได้ใช้ลงมติเห็นชอบให้แก้ร่างรัฐธรรมนูญนี้แล้ว แต่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่า เป็นการแก้ไขเพื่ออำนวยในการสร้างฐานอำนาจให้กับกลุ่มทุน (เช่น แก้ไขข้อจำกัดที่มาของ สว. ฯลฯ) แปลว่า ศาล ได้ใช้อำนาจของเขาในการ ถ่วงดุล แล้ว

 

คุณเข้าใจผิด ศาลตัดสินให้คุณผิดเพราะกระบวนการของคุณไม่ชอบด้วยกฏหมายครับ

 

 

   2.3) การที่ พรรคเพื่อไทย ออกมาปฏิเสธ อำนาจศาล ผมเห็นว่า ก็ไม่ได้ผิด 100% นะครับ. ด้วยเหตุผลที่ว่า 3 สถาบันหลักนี้ ย่อมไม่มีใครใหญ่ไปกว่าใคร.

 

พท นี่เป็น3สถาบันหลักหรือครับ คุณกำลังไปผิดทางเลยนะครับ

 

   2.4) แต่ทางออกที่แท้จริง ของปัญหานี้ (ซึ่งผมเห็นว่า ควรจะต้องบัญญัติไว้ในรัธรรมนูญ เลยด้วยซ้ำ) ว่า ...

 

   "ถ้าเกิดกรณีสถาบันหลัก ผู้ที่เป็นตัวแทนในการใช้อำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทย มีข้อขัดแย้งกันขึ้น ทางออกเดียวคือ จะต้องใช้ประชาธิปไตยทางตรง นั่นคือ ประชามติ ครับ"

 

แล้วทำไม พท ไม่กล้าทำล่ะครับ ง่ายดี

 

เท่าที่ผมดูนะ ณ ตอนนี้ ฝ่ายหนึ่งก็อ้างอำนาจนิติรัฐ นิติธรรม อ้างว่าอำนาจศาลผูกพันทุกองค์กร. ฝ่ายหนึ่งก็อ้างอำนาจนิติบัญญัติจากการเป็นผู้แทนของราษฎร.

 

ถ้าเรา (ประชาชน) รักความถูกต้อง ในระบอบครรลองประชาธิปไตยจริง ผมมองว่า ...

 

เราควรจะออกมาเรียกร้องให้มีการทำ ประชามติ กับกรณีดังกล่าว มากกว่าเถียงกันไปเถียงกันมา ว่าใครมีอำนาจมากกว่าใครนะครับ

 

ผมขอถามอีกครั้งครับ แล้วทำไม พท. ไม่ทำประชามติ

หรือเพราะเมื่อไม่มีนโยบายประชานิยมมาเกี่ยวคนจะไม่เลือกงั้นเหรอครับ

 

 

 

ขอตอบประเด็นเรื่อง

 

คุณเข้าใจผิด ศาลตัดสินให้คุณผิดเพราะกระบวนการของคุณไม่ชอบด้วยกฏหมายครับ

 

ผมตัดมาบางส่วนจาก http://www.manager.c...D=9560000144300

 

นอกจากนี้ การแก้ไขที่มาของสมาชิกวุฒิสภา ได้มาจากการเลือกตั้งเพียงอย่างเดียว อันมีที่มาเหมือนกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จึงย่อมเป็นเสมือนสภาฯ เดียวกัน ไม่เกิดเป็นความแตกต่าง และเป็นอิสระซึ่งกันและกันของทั้ง 2 สภาฯ เป็นการทำลายลักษณะ และสาระสำคัญของระบบ 2 สภาฯ สูญสิ้นไป การแก้ไขที่มา และคุณสมบัติของสมาชิกวุฒิสภามีความเกี่ยวข้องกับฝ่ายการเมือง หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ ย่อมทำให้หลักการตรวจสอบ และถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกันของระบบ 2 สภาฯ ต้องสูญเสียไปอย่างมีนัยสำคัญ ทำให้ฝ่ายการเมืองสามารถควบคุมอำนาจเหนือรัฐสภาได้อย่างเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ปราศจากการตรวจสอบและถ่วงดุลซึ่งกันและกัน อันเป็นการกระทบต่อการปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเปิดทางให้ผู้เกี่ยวข้องกับการดำเนินการครั้งนี้ ได้อำนาจในการตอบแทนต่อประเทศด้วยวิธีการที่ไม่เป็นไปตามวิธีที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้
       
        นอกจากนี้ เนื้อหาในร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 11 และมาตรา 11 /1 ยังขัดต่อรัฐธรรมนูญ ในเรื่องกระบวนการตรากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และสมาชิกวุฒิสภาที่จะบัญญัติขึ้นใหม่ โดบรวบรัดให้มีการประกาศใช้กฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญดังกล่าว โดยไม่ต้องปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญมาตรา 141 ที่จะต้องส่งร่างกฎหมายดังกล่าว ให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาตรวจสอบความชอบของรัฐธรรมนูญเสียก่อน ซึ่งขัดกับการถ่วงดุลและคานอำนาจ อันเป็นหลักการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ทำให้ฝ่ายการเมืองสามารถออกกฎหมายได้ตามอำเภอใจ โดยอาศัยเสียงข้างมากจากการตรวจสอบ
       
       อาศัยเหตุดังที่ได้วินิจฉัยมาแล้วข้างต้น จึงวินิจฉัยโดยมติเสียงข้างมาก 6 ต่อ 3 ว่า การดำเนินการพิจารณาและล้มมติแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญของผู้ถูกร้องทั้งหมดในคดีนี้ เป็นการกระทำที่ไม่ชอบโดยกฎหมายรัฐธธรมนูญ โดยกฎหมายมาตรา 122 มาตรา 125 วรรค 1 และ วรรค 2 มาตรา 126 วรรค 3 มาตรา 291 และมาตรา 3 วรรค 2 และวินิจฉัยโดยมติเสียงข้างมาก 5 ต่อ 4 ว่ามีเนื้อความเป็นสาระสำคัญขัดแย้งต่อหลักการพื้นฐานและเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 อันเป็นการทำให้ผู้ที่ถูกร้องได้มาซึ่งอำนาจในการปกครองประเทศด้วยวิธีการซึ่งไม่ได้เป็นไปตามวิถีทางที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 ฝ่าฝืนรัฐธธรมนูญมาตรา 68 วรรค 1


In Topic: ความถูกต้อง หรือประชาธิปไตยที่ถูกบิดเบือน?

10 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 10:36

 

 

ยอมรับแต่กติกาที่เป็นประโยชน์กับตนเอง เช่น การเลือกตั้ง

แต่ไม่ยอมรับกติกาอื่นๆที่ตัดสินโดยศาล ทั้งๆที่ถูกผิดศาลท่านก็ว่าไปตามกฎหมายแท้ๆ

แล้วก็พาลด่าศาล ประกาศไม่ยอมรับอำนาจศาล

 

ประชาธิปไตยของ จขกท เป็นแบบนี้หรือครับ

 

สำหรับผม ต่อให้มันถูกเลือกมาจากคน 60 ล้าน ผมก็จะไล่มัน

 

ผมไม่แน่ใจว่า คห. นี้ คำว่า "ไม่ยอมรับ อำนาจ ศาล" หมายถึง กรณีใด นะครับ?

 

 

1) ถ้าหมายถึง กรณี ที่คุณทักษิณ ถูกตัดสินมูลความผิด เรื่องกรณีทุจริต คอรัปชั่น แล้วต้องหนีไปต่างประเทศ

- ข้อนี้ไม่ใช่ ประเด็น ที่ผมกำลังจะสื่อ นะครับ

 

แล้วความเห็นคุณต่อทักษิณกรณีนี้เป็นยังไงครับ

 

 

2) ถ้าหมายถึง กรณี ที่พรรคเพื่อไทย ไม่ยอมรับอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ กรณีขอแก้ไขรัฐธรรมนูญปี 50

- อันนี้ ผมขอ ออก ความเห็นไว้ดังนี้

 

   2.1) อำนาจบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ เป็น 3 อำนาจที่ถ่วงดุลกันในระบอบประชาธิปไตยของบ้านเรา โดย มีประชาชน ผู้เป็น เจ้าของอำนาจอธิปไตย ที่แท้จริง

 

ถูกครับ

 

   2.2) อำนาจนิติบัญญัติ มาจาก สส. และ สว. ถ้าถามว่ากรณีนี้ สส. และ สว. ได้ใช้ลงมติเห็นชอบให้แก้ร่างรัฐธรรมนูญนี้แล้ว แต่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่า เป็นการแก้ไขเพื่ออำนวยในการสร้างฐานอำนาจให้กับกลุ่มทุน (เช่น แก้ไขข้อจำกัดที่มาของ สว. ฯลฯ) แปลว่า ศาล ได้ใช้อำนาจของเขาในการ ถ่วงดุล แล้ว

 

คุณเข้าใจผิด ศาลตัดสินให้คุณผิดเพราะกระบวนการของคุณไม่ชอบด้วยกฏหมายครับ

 

 

   2.3) การที่ พรรคเพื่อไทย ออกมาปฏิเสธ อำนาจศาล ผมเห็นว่า ก็ไม่ได้ผิด 100% นะครับ. ด้วยเหตุผลที่ว่า 3 สถาบันหลักนี้ ย่อมไม่มีใครใหญ่ไปกว่าใคร.

 

พท นี่เป็น3สถาบันหลักหรือครับ คุณกำลังไปผิดทางเลยนะครับ

 

   2.4) แต่ทางออกที่แท้จริง ของปัญหานี้ (ซึ่งผมเห็นว่า ควรจะต้องบัญญัติไว้ในรัธรรมนูญ เลยด้วยซ้ำ) ว่า ...

 

   "ถ้าเกิดกรณีสถาบันหลัก ผู้ที่เป็นตัวแทนในการใช้อำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทย มีข้อขัดแย้งกันขึ้น ทางออกเดียวคือ จะต้องใช้ประชาธิปไตยทางตรง นั่นคือ ประชามติ ครับ"

 

แล้วทำไม พท ไม่กล้าทำล่ะครับ ง่ายดี

 

เท่าที่ผมดูนะ ณ ตอนนี้ ฝ่ายหนึ่งก็อ้างอำนาจนิติรัฐ นิติธรรม อ้างว่าอำนาจศาลผูกพันทุกองค์กร. ฝ่ายหนึ่งก็อ้างอำนาจนิติบัญญัติจากการเป็นผู้แทนของราษฎร.

 

ถ้าเรา (ประชาชน) รักความถูกต้อง ในระบอบครรลองประชาธิปไตยจริง ผมมองว่า ...

 

เราควรจะออกมาเรียกร้องให้มีการทำ ประชามติ กับกรณีดังกล่าว มากกว่าเถียงกันไปเถียงกันมา ว่าใครมีอำนาจมากกว่าใครนะครับ

 

ผมขอถามอีกครั้งครับ แล้วทำไม พท. ไม่ทำประชามติ

หรือเพราะเมื่อไม่มีนโยบายประชานิยมมาเกี่ยวคนจะไม่เลือกงั้นเหรอครับ

 

 

ข้อนี้ ผมไม่ทราบ (แทนพรรคเพื่อไทย) เหมือนกันครับ.​ ถ้าจะให้ผมตอบแทน ณ ตอนนี้ ...

 

 

ไม่ว่า นักการเมืองฝ่ายใด พรรคใด ก็ออกมาอ้างความถูกต้องในรูปแบบที่ตัวเองได้ผลประโยชน์ทั้งสิ้น

(ฝ่ายหนึ่ง อ้างหลัก นิติรัฐ ฝ่ายหนึ่งอ้างหลัก รัฐศาสตร์. แต่ไม่มีฝ่ายใด ที่ย้อนกลับไปถามที่ต้นตอของอำนาจ ของระบอบประชาธิปไตยเลย นั่นคือ เสียงของประชาชน ในการทำ ประชามติ)

 

 

ถ้าอ่านดูดีๆ กระทู้นี้ ผมพยายามเสนอความเห็นว่า "อะไรที่เป็นปฏิปักษ์ และถูกบิดเบือน (โดยใช้ความ ถูกต้อง ของ เรา) ไปบ้างใน ระบอบประชาธิปไตย"

 

อย่างที่ผมเชื่อว่า ด้วย แก่นแท้ ของ ระบอบประชาธิปไตย จริงๆ แล้วมันคือ "เสียงส่วนใหญ่" จริงๆ ครับ

 

การที่เราจะเอาความคิด และทัศนคิ ไปตัดสินแทนคนอื่น "นั่นเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง" (ในความเชื่อของผม)

 

 

ท้ายที่สุด ถ้าเรามีประเด็น หรือความขัดแย้งใดๆ ที่ถกเถียงกันไม่จบอย่างเป็นวงกว้างในสังคมอยู่ทุกวันนี้ ผมว่า มันจะจบได้ถ้าเราทุกคนยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย แล้วกลับไปเรียกร้องให้ ประชาชนที่เป็นเจ้าของอำนาจที่แท้จริงในการตัดสิน จะด้วยการ เลือกตั้ง หรือด้วยประชามติ ก็ตาม

 

 

(ข้อความต่อไปนี้ อาจจะมีการเหมารวมอยู่บ้างนะครับ)

แต่ทุกวันนี้เราไปประท้วง เราไปเดินขบวนกัน เราเคยคิดและเข้าใจแก่นแท้ของ ประชาธิปไตย กันจริงๆ แล้วหรือยัง?

สำหรับผม ผมยอมรับไม่ได้ (ด้วยความเชื่อของผมเอง) จากประโยคที่ว่า

 

"เลือกตั้งทำไม เลือกตั้งไปก็แพ้มันอยู่ดี? มันเป็นระบอบทุนสามานย์ ที่ใช้อำนาจเงินซื้อเสียง ใช้อำนาจประชานิยมมาหลอกเสียงคน ตจว."


In Topic: ความถูกต้อง หรือประชาธิปไตยที่ถูกบิดเบือน?

10 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 10:04

ยอมรับแต่กติกาที่เป็นประโยชน์กับตนเอง เช่น การเลือกตั้ง

แต่ไม่ยอมรับกติกาอื่นๆที่ตัดสินโดยศาล ทั้งๆที่ถูกผิดศาลท่านก็ว่าไปตามกฎหมายแท้ๆ

แล้วก็พาลด่าศาล ประกาศไม่ยอมรับอำนาจศาล

 

ประชาธิปไตยของ จขกท เป็นแบบนี้หรือครับ

 

สำหรับผม ต่อให้มันถูกเลือกมาจากคน 60 ล้าน ผมก็จะไล่มัน

 

ผมไม่แน่ใจว่า คห. นี้ คำว่า "ไม่ยอมรับ อำนาจ ศาล" หมายถึง กรณีใด นะครับ?

 

 

1) ถ้าหมายถึง กรณี ที่คุณทักษิณ ถูกตัดสินมูลความผิด เรื่องกรณีทุจริต คอรัปชั่น แล้วต้องหนีไปต่างประเทศ

- ข้อนี้ไม่ใช่ ประเด็น ที่ผมกำลังจะสื่อ นะครับ

 

 

2) ถ้าหมายถึง กรณี ที่พรรคเพื่อไทย ไม่ยอมรับอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ กรณีขอแก้ไขรัฐธรรมนูญปี 50

- อันนี้ ผมขอ ออก ความเห็นไว้ดังนี้

 

   2.1) อำนาจบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการ เป็น 3 อำนาจที่ถ่วงดุลกันในระบอบประชาธิปไตยของบ้านเรา โดย มีประชาชน ผู้เป็น เจ้าของอำนาจอธิปไตย ที่แท้จริง

   2.2) อำนาจนิติบัญญัติ มาจาก สส. และ สว. ถ้าถามว่ากรณีนี้ สส. และ สว. ได้ใช้ลงมติเห็นชอบให้แก้ร่างรัฐธรรมนูญนี้แล้ว แต่ศาลรัฐธรรมนูญเห็นว่า เป็นการแก้ไขเพื่ออำนวยในการสร้างฐานอำนาจให้กับกลุ่มทุน (เช่น แก้ไขข้อจำกัดที่มาของ สว. ฯลฯ) แปลว่า ศาล ได้ใช้อำนาจของเขาในการ ถ่วงดุล แล้ว

   2.3) การที่ พรรคเพื่อไทย ออกมาปฏิเสธ อำนาจศาล ผมเห็นว่า ก็ไม่ได้ผิด 100% นะครับ. ด้วยเหตุผลที่ว่า 3 สถาบันหลักนี้ ย่อมไม่มีใครใหญ่ไปกว่าใคร.

   2.4) แต่ทางออกที่แท้จริง ของปัญหานี้ (ซึ่งผมเห็นว่า ควรจะต้องบัญญัติไว้ในรัธรรมนูญ เลยด้วยซ้ำ) ว่า ...

 

   "ถ้าเกิดกรณีสถาบันหลัก ผู้ที่เป็นตัวแทนในการใช้อำนาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทย มีข้อขัดแย้งกันขึ้น ทางออกเดียวคือ จะต้องใช้ประชาธิปไตยทางตรง นั่นคือ ประชามติ ครับ"

 

เท่าที่ผมดูนะ ณ ตอนนี้ ฝ่ายหนึ่งก็อ้างอำนาจนิติรัฐ นิติธรรม อ้างว่าอำนาจศาลผูกพันทุกองค์กร. ฝ่ายหนึ่งก็อ้างอำนาจนิติบัญญัติจากการเป็นผู้แทนของราษฎร.

 

ถ้าเรา (ประชาชน) รักความถูกต้อง ในระบอบครรลองประชาธิปไตยจริง ผมมองว่า ...

 

เราควรจะออกมาเรียกร้องให้มีการทำ ประชามติ กับกรณีดังกล่าว มากกว่าเถียงกันไปเถียงกันมา ว่าใครมีอำนาจมากกว่าใครนะครับ


In Topic: ความถูกต้อง หรือประชาธิปไตยที่ถูกบิดเบือน?

10 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 09:34

 

 

..........
 
ปล2. ถ้าคุณอ่านบทความนี้ และรู้สึกว่า หลักการและเหตุผลที่ผมนำเสนอในข้างต้น มันถูกต้อง แต่คุณก็ยังรู้สึกขัดแย้งในตัวเองอยู่ดีว่า แล้วเราจะยอมรับระบอบทักษิณได้หรือ? มันเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้วหรือ? ผมขอตอบล่วงหน้าว่า มันไม่ได้ผิดที่ตัวบุคคล (หมายถึงนักการเมือง) หรือตระกูลใดตระกูลหนึ่ง แต่มันผิดที่ระบอบประชาธิปไตยของไทยที่ พิกลพิการ มาแต่ไหนแต่ไรแล้ว โดยผมได้เสนอความเห็นเพื่อตอบความขัดแย้งนี้ไว้ที่ [ http://pantip.com/topic/31339118 ]

 

 

...... ถ้าคุณตั้งคำถามกับสิ่งที่กำลังจะเกิด หมายถึงว่าคุณคิดว่าเราควรให้มันพิกลพิการต่อไปเรื่อยๆเช่นนั้นหรือ???? ถ้าไม่ใช่แค่คำประดิษฐ์ที่สวยหรูเพื่อยกภาพความคิดตัวเอง รบกวนอธิบายคำว่า พิกลพิการ ของประชาธิปไตย ในความเห็นของคุณมาให้บ้าง ผมว่าถ้าคุณอธิบายมันได้คุณก็น่าจะตอบคำถามของคุณได้

 

 

ผมแปะลิงค์ pantip ไว้ให้แล้วครับ. แต่ไม่ได้ โพสต์ ในนี้ ลองเข้าไปอ่านดูก็ได้ครับ. ว่าความคิดผมนั้น เห็นว่า ระบอบประชาธิปไตย เรามันพิกลพิการ ตรงไหน?


In Topic: ความถูกต้อง หรือประชาธิปไตยที่ถูกบิดเบือน?

10 ธันวาคม พ.ศ. 2556 - 00:52

 

 

 

1*) [ผมถามกับตัวเอง] ฝั่งผู้สนับสนุนซีก ปชป. เขาสู้เพื่ออะไร? 
ล้มระบอบทักษิณ เนื่องจากเป็นระบอบที่เป็นภัยต่อประเทศ โดยใช้ทุนเข้ามาสร้างอำนาจ แล้วกอบโกยผลประโยช์จากประเทศ
 
ผมอ่านแค่นี้ผมก็ไม่อ่านต่อ
ถ้ายังคิดว่าคนที่ออกมาเป็นฝั่งผู้สนับสนุน ปชป 
ก็ไม่่มีคุณค่าที่จะอ่านต่อแล้ว คิดจะเขียนเรื่องการเมืองเหตุผลต้องมากกว่านี้
ใจยังเอียงคอมเม้นเฉยๆพอแล้ว ตัวอย่างแบบผมเลือก สส ปชป แต่ สก สข ผมเลือก เพื่อไทย
แล้วผมออกไปแสดงจุดยืนแบบนี้ผมถือเป็นผู้สนับสนุน ปชป หรือ พท ครับ ??

 

 

ขอบคุณครับ แต่ข้อนั้น ผม mark ไว้เป็น * ที่ผมแสดงไว้ว่า ...

"เป็น ความเห็นผม จากมุมมองภายนอก/คนนอก (ซึ่งเป็นไปได้ว่า อาจถูกบิดเบือนเช่นกัน จาก ทัศนคติของผม ที่ไม่เหมือนกับคนในกลุ่มนั้นๆ)"

 

ขออภัย และผมน้อมรับว่า ถ้อยคำบางคำ อาจจะเป็นเหมารวม ไปบ้าง (เพราะทัศนคติของผมบางส่วน). แต่ผมเชื่อว่า เนื้อหาสาระหลัก ของบทความนี้ ผมพยายามชี้ให้เห็นถึง แก่นแท้/หลักการ/เหตุผล ของระบอบประชาธิปไตยครับ.

 

 

คุณไม่ได้ชี้ถึงเหตุผล แก่นแท้อะไรเลย ในสิ่งที่เขียน

คุณแค่เขียนความเห็นส่วนตัว

ประชาธิปไตยไม่ใช่ระบบที่เอาคำนี้ไปอ้างแล้วทำอะไรก็ได้

ประชาธิปไตยมันยังมีรัฐธรรมนูญ มาตรา 1 2 3 - 309 และมีกฏหมายอื่นๆอีก

ที่อยู่ภายใค้คำว่าประชาธิปไตย

คุณจะเอาแค่คำอ้างประชาธิปไตยมาบ่งบอกว่า

ต้องยอมรับเสียงส่วนมากนะ ต้องเคารพเสียงส่วนใหญ่นะ

อันนั้นมันไม่ใช่ครับ มันต้องรับกฏหมายที่มีในประชาธิปไตยด้วย

 

ผมถึงบอกไงถ้ากลางไม่ได้ก็ไม่ต้องเสียเวลาเขียนเรื่องแบบนี้ออกมาหรอก

คอมเม้นแสดงความเห็นนิดๆหน่อยๆพอแล้ว

 

 

ดังที่ผมแสดงหลักการไว้ด้านบนว่า กฎหมาย (ในระบอบประชาธิปไตย) คือ กฎกติกา ที่คนในสังคมส่วนใหญ่ยอมรับ (เพื่อจะอยู่ร่วมกันอย่างสันติได้)

 

กฎหมาย ในระบอบประชาธิปไตย เอาเข้าจริงๆ ถ้าถามว่ามาจากไหน ผมเห็นว่ามันต้อง มาจากมติของประชาชนนะครับ และมิใช่อะไรที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ ตราบใดที่สังคมเรายังมีการพลวัตเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ กฎหมาย ก็ต้องเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัย

 

แต่ทั้งนี้ เรายังจำเป็นต้องใช้ ประชาธิปไตยทางอ้อม เพราะถ้าเราจะออกกฎหมายอะไรกันที มานั่งถาม ประชามติ กับคน 60 ล้านคน ทุกครั้งไป คงไม่ไหว (ไม่ได้ทำอะไรกันพอดี)

 

เราจึงจำเป็นต้องมี สภาผู้แทนราษฎร และ วุฒิสภา ในการทำหน้าที่ นิติบัญญัติ (นี่ไงครับ ที่มาของ กฎหมาย ตามครรลองของระบอบประชาธิปไตย)

 

ถ้ากฎหมายใด ที่ข้อขัดแย้ง กันอย่างเป็นวงกว้างในสังคม. ทางที่ดีที่สุดใน ความเห็นของผม คือ การใช้ประชามติ ครับ.

 

 

(แต่ก็ยังไม่มีฝ่ายใดนะครับ. ที่เสนอให้ใช้ประชามติกันสักคน.)