ตัวอย่างที่4
สส.เปลี่ยนเป็น บัญชีรายชี่อทั้งหมด รวมสส.500คน blanksak
โดยใช้หลักการ
1. จำนวนประชากรทั้งหมด กำหนด จำนวนสส.แต่ละพรรค
2. ไม่กำหนดเขตเลือกตั้งตามถิ่นอาศัย วัฒนธรรมและวิถีอาชีพที่ใกล้เคียงกัน
สรุปการการเทียบคะแนนโดย ตั้งสมมุติฐานว่า คนเลือกแบ่งเขตพรรคอะไร และคะแนนเสียงขึ้นกับหัวคะแนน (นโยบายหาเสียงประชานิยม)
- พท ได้คะแนนรวม = (61*500)/125 = 244
- ปชป ได้คะแนนรวม = (44*500)/125 = 176
- พรรคอื่น ได้คะแนนรวม = 80
จากการทดลองพบว่า
สามารถป้องกันอำนาจเผด็จการรัฐสภาได้ระดับหนึ่ง คือ รัฐบาลมีเสียงไม่ถึง2ใน3 ทำให้ การออกกฏหมายใดที่มีปัญหาต่อประเทศ จะต้องได้เสียงจากฝ่ายค้าน 9 คนด้วย
ปล. บนเงือนไข ปชป.จะได้คะแนนเพิ่มขึ้น ก็ต่อเมื่อคนที่เลือกพท.เปลี่ยนใจมาเลือกปชป.มีทั้งหมดกี่%ในปัจจุบัน สมมุติ 10% 20%
ตรงนี้คงต้องประเมินเองนะครับตัวเลขมันกว้างมาก เมื่อเทียบกับประชากรที่เลือกพท.ทั้งประเทศ (ประมาณ 24คน 48คน ตามลำดับ)
ปล. พอคิดตามแล้วผมก็ชอบวิธีนี้นะครับ คล้ายประชาธิปไตยทางตรงดี แถมลดอำนาจหัวคะแนนท้องถิ่นโดยตรง(เลือกที่นโยบายแต่ละพรรค ว่าเหมาะสมกับวิถีชีวิตตนหรือไม่).....แต่พวกสส.ท้องถิ่นจะยอมหรือครับ 5555 และก็มีข้อเสียที่เสียงส่วนใหญ่กำหนดนโยบายของประเทศ ทำให้มีแนวโน้มว่า การหาเสียงด้วยประชานิยมจะหนักกว่าเดิม