เปิดเรื่องดีนะครับ แต่น่าจะขยายความต่อสักหน่อย มีมุมมอง มีความคิดเห็นอย่างไรก็น่าจะ สักหน่อยนะ
ชีวิตคนที่ลำบากจริงๆไม่ใช่AFนะครับ จะได้ดูแค่เอาความเพลิดเพลิน แล้วก็ผ่านๆไป
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 09:55
เปิดเรื่องดีนะครับ แต่น่าจะขยายความต่อสักหน่อย มีมุมมอง มีความคิดเห็นอย่างไรก็น่าจะ สักหน่อยนะ
ชีวิตคนที่ลำบากจริงๆไม่ใช่AFนะครับ จะได้ดูแค่เอาความเพลิดเพลิน แล้วก็ผ่านๆไป
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:10
ผมเพิ่งกลับจากพาคณะผู้สนใจประกอบด้วยนายธนาคาร นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักลงทุน นักธุรกิจ และผู้สนใจทั่วไป 43 ท่านดูงานการพัฒนาเมืองและอสังหาริมทรัพย์ที่นครโอซากา ประเทศญี่ปุ่น แต่ยามว่างผมก็ไปถ่ายภาพที่เราไม่ค่อยได้สังเกตเห็น วันนี้เลยอยากให้ดูภาพเหล่าคนยากไร้ ไร้ที่อยู่อาศัย ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะของญี่ปุ่นครับผม
ด็อกตั้งอกตั้งใจ post หัวข้อนี้มาก กลัวชาวบ้านไม่รู้หรือไงว่า ด็อกไปญี่ปุ่น
อย่าเชื่อในสิ่งที่ไอ้แม้วและไอ้พวกแกนนำ นปช. พูด
แต่ให้ดูในสิ่งที่พวกมันทำ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:17
ไม่น่าต่างกับคนไทยนะ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:18
ให้ด๊อกไปดู Arakawa under the bridge ครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:29
เพิ่งกลับจากญี่ปุ่น !?!?! ... คือ ... แล้วท่านด๊อกฯ ตอบกระทู้เมื่อ 1-2 วันนี้ ในช่วงที่อยู่ญี่ปุ่นเองรึเปล่าครับ ???
หรือทีมงานมาช่วยตอบ ???
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:35
ให้ด๊อกไปดู Arakawa under the bridge ครับ
อย่าสิ เดี๋ยวด๊อกแกจะงง
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:42
ด้อกฯ ไป JP. แล้วไม่ของเล่น/ตุ๊กตา Adult มาใช้รึ เสียเที่ยวป่าววว!!
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:54
เปิดเรื่องดีนะครับ แต่น่าจะขยายความต่อสักหน่อย มีมุมมอง มีความคิดเห็นอย่างไรก็น่าจะ สักหน่อยนะ
ชีวิตคนที่ลำบากจริงๆไม่ใช่AFนะครับ จะได้ดูแค่เอาความเพลิดเพลิน แล้วก็ผ่านๆไป
ขอบคุณครับผม ผมเขียนไว้แล้วครับ มี reference ในช่วงต่อ ๆ มาครับ ลองเข้าไปดูนะครับ ไม่อยาก copy ใหม่ เดี๋ยวจะรกบอร์ดน่ะครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:55
ด้อกฯ ไป JP. แล้วไม่ของเล่น/ตุ๊กตา Adult มาใช้รึ เสียเที่ยวป่าววว!!
ลุงแก่แล้ว ตอนนี้ก็เป็น สว. (สูงวัย) คงไม่ไหวแล้วครับหลานรัก
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:55
เพิ่งกลับจากญี่ปุ่น !?!?! ... คือ ... แล้วท่านด๊อกฯ ตอบกระทู้เมื่อ 1-2 วันนี้ ในช่วงที่อยู่ญี่ปุ่นเองรึเปล่าครับ ???
หรือทีมงานมาช่วยตอบ ???
ตอบเองครับ ที่นั่นมี net ฟรีครับผม
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:58
ผมเพิ่งกลับจากพาคณะผู้สนใจประกอบด้วยนายธนาคาร นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักลงทุน นักธุรกิจ และผู้สนใจทั่วไป 43 ท่านดูงานการพัฒนาเมืองและอสังหาริมทรัพย์ที่นครโอซากา ประเทศญี่ปุ่น แต่ยามว่างผมก็ไปถ่ายภาพที่เราไม่ค่อยได้สังเกตเห็น วันนี้เลยอยากให้ดูภาพเหล่าคนยากไร้ ไร้ที่อยู่อาศัย ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะของญี่ปุ่นครับผม
ด็อกตั้งอกตั้งใจ post หัวข้อนี้มาก กลัวชาวบ้านไม่รู้หรือไงว่า ด็อกไปญี่ปุ่น
![]()
![]()
![]()
ผมไปมา 11 เมืองทั่วโลกครับ
การศึกษา: จบปริญญาเอกสาขาการพัฒนาเมือง และปริญญาโทด้านที่ดินและที่อยู่อาศัยจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยจากมหาวิทยาลัยคาธอลิกลูแวง (เบลเยียม) และสถาบันนโยบายที่ดินลินคอล์น
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 10:59
เพิ่งกลับจากญี่ปุ่น !?!?! ... คือ ... แล้วท่านด๊อกฯ ตอบกระทู้เมื่อ 1-2 วันนี้ ในช่วงที่อยู่ญี่ปุ่นเองรึเปล่าครับ ???
หรือทีมงานมาช่วยตอบ ???
ตอบเองครับ ที่นั่นมี net ฟรีครับผม
อ่อ ครับ ... นึกว่าเกรียนตามเวปบอร์ดแฝงตัวมาเป็นด๊อกฯ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 11:01
ไปแค่ไม่กี่วัน ทำเป็นรู้ดีเหมือนอยู่ญี่ปุ่นเป็นสิบๆ ปี
แถมทะลึ่งไม่รู้ว่า อนิเมชั่นเรื่องแบบนี้ได้รับรางวัลมากมาย
ผมไปญี่ปุ่นตั้งแต่ปี พ.ศ.2528 ไปบรรยายที่มหาวิทยาลัยที่โตเกียวตั้งแต่ปี 2530 แล้วเดินทางไปเป็นระยะ ๆ นะครับ ไม่ใช่เพิ่งไปนะครับ (ไม่ได้คุยนะครับ แต่เห็นไม่รู้ครับ)
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 11:03
แล้วตอนสมัครผู้ว่า ด็อกได้มีนโยบายเกี่ยวกับเรื่องนี้หรือเปล่า บอกตรงๆ ว่าตอนนั้นไม่ได้ยินเรื่องนโยบายของด็อกเลย รู้แต่เรื่องว่ายน้ำ
แถลงการณ์ 7: แนวทางการช่วยเหลือผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ
ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4
http://www.sopon4.ho...p?p=pages_7.php
ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเกิดจากปัญหาความยากจน และอื่น ๆ ด้วยเหตุผลด้านสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนทุกคนต้องมีที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม จะปล่อยให้นอนระเกะระกะโดยขาดการเหลียวแลจากสังคมไม่ได้ และเพื่อสวัสดิภาพของทุกฝ่าย จึงควรให้การช่วยเหลือตั้งแต่การจัดหาที่พักพิงแบบเช่าหรือแบบให้เปล่าชั่วคราว การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม แต่ทั้งนี้ทำได้ยากเพราะงบประมาณของรัฐในด้านสังคมมีจำกัดเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน ต่ำกว่างบประมาณด้านการทหารถึง 17 เท่าตัว
วันนี้ ดร.โสภณ พรโชคชัย ได้รับเชิญจากสำนักบริการสวัสดิการสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ไปเป็นวิทยากรในการสัมมนา “รวมพลังสร้างเครือข่ายและเสริมศักยภาพบุคลากรยุคใหม่ในการขับเคลื่อนเครือข่ายมุ่งพัฒนาเพื่อสวัสดิการสังคม” โดยเฉพาะประเด็น “คิดทบทวน สร้างบทบาท หาแนวทางการให้บริการสวัสดิการสังคมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ” ณ โรงแรมแกรนด์ เดอ วิลล์ (วังบูรพา) กรุงเทพมหานคร
แม้จากการสำรวจข้อมูลของมูลนิธิอิสรชนพบว่าในปี 2555 มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะไม่มากนัก คือเกือบ 2,846 คนแยกเป็นชาย 1,774 คน และหญิง 1,072 คน แต่หากนับรวมขอทานซึ่งมีทั้งที่เป็นขอทานเดี่ยว สัญชาติไทย และขอทานที่เป็นกระบวนการค้ามนุษย์ทั้งไทยและเทศ ก็คงมีอีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้อยู่ในการสำรวจรอบนี้
ในต่างประเทศพบว่า กรณีนครนิวยอร์ก มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ณ เดือนมิถุนายน 2555 อยู่ถึง 44,402 คน หรือประมาณ 0.5% ของประชากรนิวยอร์ก (ทุก ๆ 1 ใน 200 คนของชาวนิวยอร์ก เป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ) {1} ส่วนอินเดีย มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถึง 78 ล้านคน หรือราว 7% ของประชากรในประเทศดังกล่าว {2} อาจกล่าวได้ว่า ประเทศที่เจริญทางเศรษฐกิจกว่ามักมีจำนวนประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะน้อยกว่า
การเกิดขึ้นของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะก็เพราะบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถอยู่อาศัยในระบบบ้านปกติ เช่น บ้านจัดสรร บ้านเช่า บ้านพักคนงานในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยฐานะที่ยากจนลง ไร้ที่พึ่ง ต่อต้านสังคม วิกลจริต หรืออื่น ๆ ทำให้ต้องมาเป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ซึ่งอาจแยกย่อยเป็นกลุ่มผู้ไร้บ้าน (ควรมีบ้านได้แต่ฐานะยากจนเกินกว่าจะมีบ้านได้หรือเช่าบ้านได้) เยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต หรือผู้ย้ายถิ่นทั้งที่ชั่วคราวหรือ (กึ่ง) ถาวร เป็นต้น
การดำรงอยู่ของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถือเป็นปัญหาที่กระทบต่อสวัสดิภาพของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะและบุคคลอื่น รัฐบาลจึงควรมีมาตรการที่พึงให้ความช่วยเหลือ เช่น
1. การบำบัดต่าง ๆ โดยเฉพาะความหิวโหย ซึ่งถือเป็นการบรรเทาทุกข์เฉพาะหน้า
2. การให้เข้าถึงการรักษาพยาบาลของรัฐ แต่ที่ผ่านมาหลายคนไม่มีบัตรประชาชนเพราะหายไป หรือร่างกายไม่สะอาด ได้รับการรังเกียจจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
3. การจัดที่อยู่อาศัยฉุกเฉินให้โดยไม่คิดมูลค่าเป็นการชั่วคราวโดยเฉพาะผู้ที่ควรได้รับการบำบัดเป็นพิเศษเมื่อพบเห็น
4. การมีที่พักอาศัย เป็นเตนท์ หรือเตียงขนาดเล็กให้เช่าหลับนอนราคาถูก โดยตั้งอยู่ใกล้ ๆ เป็นการชั่วคราว และให้อยู่ในระยะเวลาที่สั้นที่สุดจนกว่าจะเข้าสู่สังคมปกติได้ โดยอาจเช่าที่วัด ราชพัสดุ เอกชน หรือขอรับการบริจาคจากเอกชน เพื่อสวัสดิภาพในการอยู่อาศัยยามค่ำคืน สถานที่ตั้งต้องเป็นในเขตเมือง ไม่ใช่ออกไปชานเมือง เพราะคงไม่มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะสามารถเดินทางไปพักผ่อนในยามค่ำคืนได้
5. สำหรับผู้ที่ไม่มีรายได้ ไม่มีอาชีพแต่จำเป็นต้องอยู่อาศัยในที่พักอาศัยให้เช่าข้างต้น ก็ควรมีบริการงานให้ทำเพื่อให้เกิดรายได้ เช่น งานทำความสะอาดสถานที่สาธารณะ งานฝีมือ ฯลฯ เพื่อเป็นค่าที่อยู่อาศัยในยามค่ำคืน
6. การฝึกอาชีพ สำหรับบุคคลปกติแต่ขาดรายได้ โดยไม่เพียงแต่สอนให้มีทักษะอาชีพ แต่ยังควรสอนให้เป็นผู้ประกอผู้ประกอบการที่ดี หรือเป็นลูกจ้างที่ดีในอนาคตด้วยเช่นกัน
7. ในกรณีบุคคลที่ไม่ได้ต้องการมีบ้านเป็นของตนเอง แต่เป็นกลุ่มเยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต ฯลฯ ต้องส่งสถานสงเคราะห์ให้การรักษาจนกว่าจะกลับเข้าสู่สังคมได้ตามปกติสุข
8. การจัดหน่วย ‘ลาดตระเวน’ เพื่อตรวจสอบ ป้องปรามอาชญากรรมในยามค่ำคืนตามย่านชุมชนและสถานีขนส่งประเภทต่าง ๆ
9. การสร้างฐานข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะโดยออกสำรวจตามย่านชุมชนทั่ว กทม.และปริมณฑล โดยในกรณีนครนิวยอร์ก ได้ระดมอาสาสมัครออกสำรวจในยามค่ำคืนหนึ่งพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้ข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะอย่างครบถ้วน และยังมีการสำรวจถึงจำนวนและสถานที่สาธารณะที่พักอาศัยต่อเนื่องทุกเดือนจนสามารถรู้จักผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะทุกราย
อย่างไรก็ตามโอกาสในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ข้างต้นอาจจำกัด เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด ในปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ที่กำลังพิจารณาอยู่นี้ งบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน หรือเป็นเงิน 10,516.7 ล้านบาท (เป็นของกรมสวัสดิการสังคมเพียง 6,000 ล้านบาท) และหากเทียบกับงบประมาณของกระทรวงกลาโหมที่ 180,811.4 ล้าน บาท (7.5% ของงบประมาณแผ่นดิน) นั้น กลับสูงกว่างบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ถึง 17 เท่าตัว {3}
ด้วยงบประมาณที่จำกัดนี้ จึงทำให้สถานสงเคราะห์ มีอยู่อย่างจำกัดมาชั่วนาตาปี โอกาสขยายจึงเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่สามารถรองรับความต้องการจำเป็นในการดูแลสวัสดิภาพของประชาชน ไม่สามารถทำงานเชิงรุกเพื่อการป้องปราม รัฐจัดสวัสดิการสังคมผ่านกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แต่เพียงในนาม เพราะเจียดงบประมาณให้น้อยมากนั่นเอง
ในกรณีนี้ หากผมได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จะระดมทุนจากประชาชนจัดสร้างสถานสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือทางมนุษยธรรมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเหล่านี้ โดยแยกเป็นสถานสงเคราะห์ด้านเด็ก เยาวชน คนพิการ ผู้ไม่สมประกอบ ผู้ให้บริการทางเพศ ผู้ที่ยากจนไร้ที่อยู่อาศัย ผู้สูงอายุ และอื่น ๆ โดยยังจะขอความร่วมมือกับกระทรงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นต่อไป
ผมเชื่อว่าในส่วนของภาคประชาชน จะมีความยินดีร่วมทำ “จิตอาสา” เพื่อประโยชน์สาธารณะ ที่ผ่านมาประชาชนอาจไม่ได้ร่วม “จิตอาสา” มากนักเพราะข้องใจว่าเงินและทรัพยากรจะตกถึงมือผู้ด้อยโอกาสหรือไม่ หากทำให้มีระบบตรวจสอบที่ดี ก็จะทำให้ประชาชนร่วมใจเสียสละเพื่อส่วนรวมกันมากขึ้น ทำให้สังคมมีความผาสุกจากการให้ ไม่ใช่เฉพาะจากการรับเท่านั้น
อ้างอิง
{1} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.coalition...ges/basic-facts
{2} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.slumdogs....homeless-facts/
{3} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.bb.go.th/...00/00000120.PDF
ติดต่อ ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครหมายเลข 4 ได้ที่ คุณอัจฉรา 08.6628.2817 อีเมล์: sopon@trebs.ac.th thaiappraisal@gmail.com เว็บไซต์หาเสียงที่ www.sopon4.housingyellow.com Facebook: www.facebook.com/dr.sopon4 Twitter: www.twitter.com/Pornchokchai
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 11:16
ผมไปมา 11 เมืองทั่วโลกครับ
การศึกษา: จบปริญญาเอกสาขาการพัฒนาเมือง และปริญญาโทด้านที่ดินและที่อยู่อาศัยจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยจากมหาวิทยาลัยคาธอลิกลูแวง (เบลเยียม) และสถาบันนโยบายที่ดินลินคอล์น
จบการศึกษาปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยอะไร?
อย่าเชื่อในสิ่งที่ไอ้แม้วและไอ้พวกแกนนำ นปช. พูด
แต่ให้ดูในสิ่งที่พวกมันทำ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 11:21
คนไร้บ้่านใน กทม มีอยู่จำนวนมาก
รวมถึงชุมชนแออัด สลัม และชุมชนเร่ร่อน (ก่อสร้าง แรงงานที่ต้องย้ายที่อยู่ไปตามไซด์งาน)
ถ้า ดร ได้เป็นผู้ว่า กทม ดร จะแก้ปัญหานี้อย่างเป็นรูปธรรมอย่างไรครับ
ขอรายละเอียดวิธีการด้วยนะครับ
(ขอคำตอบในนี้นะครับ ขี้เกียจไปตามอ่านในเรื่องอวยตัวเองยาวๆ ของคุณ)
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 11:23
ด๊อกยังไม่ตอบคำถามผมเลยนะครับด๊อก
ไหนๆก็เห็นว่าด๊อกทำงานมานานเลยอยากถามข้อสงสัยครับ
1. เหตุใดเขาถึงออกมาเร่ร่อน
2. อย่างที่ด๊อกบอก ว่าบางคนไม่อยากอยู่บ้านที่ทางการจัดให้ เพราะอะไรครับ
3. ด๊อกทำงานมาหลายปี ด๊อกคิดว่าด๊อกจะแก้จุดบอดที่ทางบ้านอิ่มใจมีอย่างไรครับ
Edited by แอบดูที่รูเดิม, 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 11:26.
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 11:34
เพิ่งกลับจากญี่ปุ่น !?!?! ... คือ ... แล้วท่านด๊อกฯ ตอบกระทู้เมื่อ 1-2 วันนี้ ในช่วงที่อยู่ญี่ปุ่นเองรึเปล่าครับ ???
หรือทีมงานมาช่วยตอบ ???
ตอบเองครับ ที่นั่นมี net ฟรีครับผม
อ่อ ครับ ... นึกว่าเกรียนตามเวปบอร์ดแฝงตัวมาเป็นด๊อกฯ
ก็นายโส..นี่แหละแฝงตัวมาเป็นเกรียนแก่ตามเวบบอร์ด
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 12:55
ผมไปมา 11 เมืองทั่วโลกครับ
การศึกษา: จบปริญญาเอกสาขาการพัฒนาเมือง และปริญญาโทด้านที่ดินและที่อยู่อาศัยจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยจากมหาวิทยาลัยคาธอลิกลูแวง (เบลเยียม) และสถาบันนโยบายที่ดินลินคอล์น
จบการศึกษาปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยอะไร?
หาเอาเองง่าย ๆ นะครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 12:57
คนไร้บ้่านใน กทม มีอยู่จำนวนมาก
รวมถึงชุมชนแออัด สลัม และชุมชนเร่ร่อน (ก่อสร้าง แรงงานที่ต้องย้ายที่อยู่ไปตามไซด์งาน)
ถ้า ดร ได้เป็นผู้ว่า กทม ดร จะแก้ปัญหานี้อย่างเป็นรูปธรรมอย่างไรครับ
ขอรายละเอียดวิธีการด้วยนะครับ
(ขอคำตอบในนี้นะครับ ขี้เกียจไปตามอ่านในเรื่องอวยตัวเองยาวๆ ของคุณ)
การแก้ไขปัญหาชุมชนแออัดต้องทำดังนี้ครับ
ดร.โสภณ พรโชคชัย <1>
ประธานกรรมการ มูลนิธิประเมินค่าทรัพย์สินแห่งประเทศไทย <2>
ในการแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด มีความเข้าใจผิดบางประการ ทำให้แนวทางการแก้ไขปัญหา ไม่อาจบรรลุผลได้ และกลายเป็นการกระทำที่ใช้ภาษีอากรของประชาชนไปอย่าง “ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ” ความจริงเป็นอย่างไร โปรดพิจารณาเหตุผลในแง่มุมที่ท่านอาจไม่เคยได้ยินต่อไปนี้:
1. ชุมชนแออัดโตเร็วกว่าการแก้ไข?
ข้อความข้างต้นนี้ตรงกันข้ามกับความจริงโดยสิ้นเชิง กล่าวคือ ชุมชนแออัดลดจำนวนลงอย่างน่าตกใจมาโดยตลอด ที่ผ่านมามีชุมชนแออัดเกิดใหม่บ้างแต่ก็น้อยมาก ไม่เหมือนเมื่อ 40 ปีก่อนที่ที่ดินราคาถูก เจ้าของที่ดินเลยแบ่งเป็นแปลงย่อยให้ชาวบ้านเช่าที่ปลูกบ้านจนกลายเป็นชุมชนแออัด สมัยนี้ที่ดินราคาแพงลิบลิ่ว เจ้าของที่ดินทั้งภาครัฐและภาคเอกชนส่วนใหญ่คงไม่ปล่อยปละละเลยที่ดินของตนให้ใครเช่าหรือบุกรุกได้ง่าย ๆ
รัฐบาลทักษิณที่ผ่านมา ได้รับข้อมูลเท็จว่า ชุมชนแออัดผู้มีรายได้น้อยมีมากมายมหาศาล จนเกิดโครงการ “บ้านเอื้ออาทร” และ “บ้านมั่นคง” แต่ความจริง ความต้องการที่อยู่อาศัยมีน้อยมาก สิ่งที่สร้างขึ้นกลับกลายเป็นการ “เอื้ออาทร” ต่อผู้รับเหมาและผู้ร่วมทุนโครงการมากกว่า แทนที่จะสร้างบ้านตามความต้องการจริง กลับสร้างตามความต้องการลวง หรือสร้างเกินกว่าความต้องการ ขายไม่ออก
ผมเป็นคนพบชุมชนแออัดมากที่สุดนับพันแห่งในกรุงเทพมหานครในปี 2528 และต่อมาสำรวจชุมชนแออัดในจังหวัดภูมิภาค พบว่า ชุมชนแออัดทั่วประเทศมีไม่มากนัก รวมประชากรเพียงไม่เกิน 1% ของทั้งประเทศ ระหว่างที่ผมสำรวจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งไม่อยากให้มีชุมชนแออัดในท้องที่ก็จะไม่นำเสนอข้อมูล แต่บางแห่งอยากได้งบประมาณมาพัฒนาท้องถิ่น ก็นำชุมชนเขตเมืองของตนมารวมเข้าไว้ด้วย
2. คนจนจำเป็นต้องมีบ้าน?
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพยายามจะยัดเยียดให้ชาวบ้านมีบ้านเป็นของตนเอง แต่ความจริงชาวบ้านจำนวนมากโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในชุมชนแออัดยังไม่มีความพร้อม ในชุมชนแออัดเองก็ยังมีประชากรราวหนึ่งในสามเป็นผู้เช่าบ้าน ในเมื่อชาวบ้านยังไม่มีความพร้อมที่จะมีบ้าน หากเรายัดเยียดบ้านให้ เขาก็อาจไม่เห็นค่า และขายสิทธิเพื่อย้ายออกไปอยู่ที่อื่น
ยิ่งกว่านั้น ในการย้ายชาวบ้านจากชุมชนแออัด นักวางแผนพยายามจะให้ชาวบ้านไปด้วยกันทั้งที่แต่ละคนอาจมีความต้องการต่างกัน บ้างอาจอยากได้ค่าชดเชยไปหาที่อยู่ใหม่ บ้างก็อาจต้องการไปซื้อหรือเช่าบ้านที่อื่น การนำพาชาวบ้านไปร่วมกันจึงเป็นสิ่งที่พึงทบทวน
3. คนจนเข้าไม่ถึงสินเชื่อของสถาบันการเงิน?
มักมีการกล่าวอ้างว่า ชาวบ้านเข้าไม่ถึงระเบียบสินเชื่อของสถาบันการเงินทั่วไป โดยนัยนี้ระเบียบการอำนวยสินเชื่อควรได้รับการผ่อนปรนเพื่อผู้มีรายได้น้อย ข้อเสนอนี้เกิดขึ้นจากสมมติฐานที่ว่าผู้มีรายได้น้อยไม่โกง เพียงแต่ไม่มีหลักประกันเพียงพอ อย่างไรก็ตามการยกเว้นเรื่องมาตรฐานหลักประกันสำหรับผู้มีรายได้น้อย อาจนำไปสู่ช่องโหว่ของการอำนวยสินเชื่อ ที่จะส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อระบบสถาบันการเงินได้
ถ้าผู้มีรายได้น้อยไม่สามารถขอสินเชื่อได้ ก็แสดงว่ายังไม่ควรขอ หาไม่อาจเกิดปัญหาแก่ทุกฝ่ายได้ ถ้าทุกคนในสังคมอ้างเช่นนี้ วินัยทางการเงินก็คงไม่ต้องมี
4. คน (อยาก) จนไม่เบี้ยวหนี้หรอก?
ความจริงที่ไม่ค่อยเปิดเผยก็คือ ในโครงการแบ่งปันที่ดิน (Land Sharing) หลายแห่งที่คุยว่าประสบความสำเร็จจนทั่วโลกมาดูงานนั้น ชาวบ้านที่ได้รับสิทธิเป็นเจ้าของที่ดินในชุมชนแออัดเหล่านี้กลับไม่ยอมผ่อนชำระจนในที่สุดทางราชการต้องตัดบัญชีเป็นหนี้สูญ เร็ว ๆ นี้ชาวบ้านในชุมชนแห่งหนึ่งมีสัญญาการผ่อนชำระค่าที่ดินเพียงตารางวาละ 1 บาท ชาวบ้านส่วนมากก็ยัง “ชักดาบ” จนกลายเป็นหนี้เสียไปแทบทั้งชุมชน คนที่ยอมผ่อนตามสัญญาคงกลายเป็นคนโง่ไปในที่สุด
ชาวบ้านเบี้ยวหนี้เพราะเห็นว่าทางราชการคงยอมผ่อนปรน ก็เลยขาดวินัยทางการเงิน แต่ถ้ากู้เงินนอกระบบ ชาวบ้านคงไม่กล้าแม้แต่จะคิด เรื่องการเบี้ยวหนี้เช่นนี้แทบไม่เคยได้เปิดเผยแก่สังคมได้รับรู้
5. การออมทรัพย์คือทางออก?
ที่ผ่านมา มีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ขึ้นมาเพื่อแสดงให้เห็นว่า ชาวบ้านรู้จักเก็บออม เพื่อนำเงินมาซื้อที่อยู่อาศัย ภาพเช่นนี้อาจดูน่ารัก แต่ในหลาย ๆ กรณีไม่ประสบความสำเร็จ (แต่ปิดเงียบ) กลายเป็น “ปาหี่” เงินที่ออมได้เพียงเล็กน้อย กู้ไปใช้สอยยังแทบไม่พอ แต่ที่ชาวบ้านสามารถสร้างบ้านได้ ก็เพราะหน่วยงานบางแห่ง ให้กู้เงินโดยไม่มีหลักประกันแก่ชาวบ้านโดยแทบไม่เกี่ยวกับการออมทรัพย์
ภาพแห่งความสำเร็จอันงดงามของกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ที่เป็นตัวอย่างบางแห่ง คงไม่สามารถนำมาใช้ได้กับการออมทรัพย์เพื่อนำเงินมาสร้างชุมชนแออัดใหม่
6. “ร่วมกันสร้าง” คือทางออก?
เคยมีความคิดกึ่งโรแมนติกให้ชาวบ้านค่อย ๆ สร้างบ้านของตนเอง ใช้ดิน ใช้วัสดุที่พอมีภายในพื้นที่สร้างกันขึ้นมา คงคล้ายกับชาวอาฟริกันสร้างกระท่อมหรือบ้านดินเป็นของตนเอง แนวคิดนี้เผยแพร่มา 25 ปีแล้ว
ความคิดอย่างนี้ไม่มีโอกาสสำเร็จ เพราะมูลค่าของแรงงานคนไทยมีค่าสูงเกินกว่าจะมาสร้างบ้านหรือ “ถ้า” ของตนเอง การซื้อบ้านในตลาดเปิดที่มีการจัดการดีกลับถูกกว่าการสร้างเอง แต่ถ้าเป็นในอาฟริกาที่ไม่มีโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดี ผู้คนก็อาจต้องสร้างบ้านเอง
7. ชาวบ้านไม่ได้ “ชุมชน” ที่ดี
การปรับปรุงชุมชนแออัดเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ชุมชนแออัดยังไงก็ดูไม่ดี คนที่มีฐานะดีขึ้นก็คงอยากย้ายออกจากชุมชนเพื่อให้ลูกหลานมีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น การมีโครงการปรับปรุงชุมชนแบบ “บ้านมั่นคง” แม้ชาวบ้านจะมีบ้านเป็นของตนเอง แต่เมื่อได้แล้วชาวบ้านก็หมดไฟที่จะดำเนินการพัฒนาต่อ ต่างคนต่างอยู่เป็นส่วนตัวเป็นสำคัญ
ปรากฏการณ์นี้อาจสร้างความผิดหวังกับนักสร้างชุมชน แต่ถือเป็นธรรมชาติ ชาวบ้านอาจร่วมกันทำอะไรบางอย่างด้วยอารมณ์ร่วมแล้วก็จบกัน แต่ความจริงก็คือ การปรับปรุงฐานะทางเศรษฐกิจ เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละคน แต่ละครัวเรือน ไม่ใช่กิจกรรมรวมหมู่
8. กระจายรายได้ให้ชาวบ้าน?
ท่านทราบหรือไม่ งบประมาณเพื่อการปรับปรุงชุมชนแออัดเป็นเงินถึง 68,000 บาทต่อครอบครัว งบพัฒนาสาธารณูปโภคเป็นเงิน 25,000 – 35,000 บาทต่อครัวเรือน และงบประมาณเงินกู้สร้างบ้านใหม่แก่ชาวชุมชนแออัด เป็นเงินถึง 150,000 – 200,000 บาท นี่นับเป็นงบประมาณมหาศาลที่แม้แต่ผู้มีรายได้น้อยนอกชุมชนแออัด ก็ยังไม่มีโอกาสเข้าถึง และการนี้ผู้มีรายได้ปานกลางนอกชุมชนจึงกลายเป็นผู้ด้อยโอกาสไปโดยปริยาย
ก็เพราะการโฆษณาว่า “ชุมชนแออัดโตเร็วกว่าการแก้ไข” หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการนี้ จึงได้งบประมาณไปดำเนินการมหาศาลถึงเพียงนี้ ทำไปทำมาผู้ที่ได้ประโยชน์จะเป็นใครกัน หรือนี่ถือเป็นการกระจายรายได้ให้ประชาชนในรูปแบบใหม่ที่เอาเงินไปแบ่ง ๆ กันใช้
ประเทศไทยเจริญขึ้นมากในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา เพราะเศรษฐกิจดีขึ้น ในปี 2500 ประมาณ 43% ของครัวเรือนในกรุงเทพมหานครอยู่ในบ้านที่มีก่อสร้างต่ำกว่ามาตรฐาน ปัจจุบันนี้เหลืออยู่ไม่ถึง 5% เท่านั้น ในขณะที่ในช่วง 200 ปีแรกของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีบ้านเพียง 1 ล้านหน่วย แต่ตลอดช่วงปี 2525-2550 เรามีบ้านเกิดใหม่อีกเกือบ 3 ล้านหน่วย แทบทั้งหมดคือบ้านจัดสรร ไม่ใช่ชุมชนแออัด
เราควรจะเร่งสร้างบ้านที่มีคุณภาพแทนชุมชนแออัดเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้านและสังคมโดยรวม อย่าทำให้ให้การช่วยเหลือชาวบ้านกลายเป็นการลูบหน้าปะจมูก ที่คนที่ได้ประโยชน์โดยตรงกลับเป็นคนหรือหน่วยงานที่ได้งบประมาณมหาศาลมาช่วยเหลือ ไม่ใช่ชาวบ้าน
อ้างอิง: http://www.thaiappra...y=market170.htm
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 12:58
ด๊อกยังไม่ตอบคำถามผมเลยนะครับด๊อก
ไหนๆก็เห็นว่าด๊อกทำงานมานานเลยอยากถามข้อสงสัยครับ
1. เหตุใดเขาถึงออกมาเร่ร่อน
2. อย่างที่ด๊อกบอก ว่าบางคนไม่อยากอยู่บ้านที่ทางการจัดให้ เพราะอะไรครับ
3. ด๊อกทำงานมาหลายปี ด๊อกคิดว่าด๊อกจะแก้จุดบอดที่ทางบ้านอิ่มใจมีอย่างไรครับ
เขียนด้วยจิตเมตตา และมีคุณธรรมน้ำมิตร แล้วจะตอบให้นะครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:03
ด๊อกยังไม่ตอบคำถามผมเลยนะครับด๊อก
ไหนๆก็เห็นว่าด๊อกทำงานมานานเลยอยากถามข้อสงสัยครับ
1. เหตุใดเขาถึงออกมาเร่ร่อน
2. อย่างที่ด๊อกบอก ว่าบางคนไม่อยากอยู่บ้านที่ทางการจัดให้ เพราะอะไรครับ
3. ด๊อกทำงานมาหลายปี ด๊อกคิดว่าด๊อกจะแก้จุดบอดที่ทางบ้านอิ่มใจมีอย่างไรครับ
เขียนด้วยจิตเมตตา และมีคุณธรรมน้ำมิตร แล้วจะตอบให้นะครับ
กรุณาตอบด้วยครับ ผมรอฟังความเห็นด๊อกอยู่ ที่ทำตัวใหญ่ ผมกลัวด๊อกไม่เห็นครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:13
ว่าจะไม่อบกระทู้นายคนนี้แล้วนะ
แต่ขอถาม เอาจริงจังเลยนะ
ว่า คนไร้บ้านของญี่ปุ่นเี่ย เกิดขึ้นได้อย่างไรครับ
ด๊อก หวังว่าแค่นี้คงไม่หาข้อมุลมาได้นะ
ไม่ใช่ว่าเปิดเรื่อง มาแล้วไม่รู้อะไรของมันเลยสักอย่าง
ขอบคุณครับ ยังไงถ้ามีทัศนคติที่ดี ค่อยเข้ามานะครับ ปล่อยวางก่อน ถ้าอารมณ์ยังขุ่นมัว ก็อย่าเข้ามานะครับ
ตกลงเกิดขึ้นได้อย่างไรครับ ขอคำตอบด้วย
แล้วเกีย่วอะไรกับขุนมัวครับ ตอบมานะครับ คุณด๊อก
ผมรอคำตอบอยู่ อย่าแถครับขอร้อง
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 13:41
ผมไปมา 11 เมืองทั่วโลกครับ
การศึกษา: จบปริญญาเอกสาขาการพัฒนาเมือง และปริญญาโทด้านที่ดินและที่อยู่อาศัยจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยจากมหาวิทยาลัยคาธอลิกลูแวง (เบลเยียม) และสถาบันนโยบายที่ดินลินคอล์น
จบการศึกษาปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยอะไร?
หาเอาเองง่าย ๆ นะครับ
เข้าใจแล้ว ประกาศนียบัตรชั้นสูง (diploma) คือ ปริญญาเอก Ph.D. (Doctor of Philosophy)
อย่าเชื่อในสิ่งที่ไอ้แม้วและไอ้พวกแกนนำ นปช. พูด
แต่ให้ดูในสิ่งที่พวกมันทำ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 14:03
แต่ผมสงสัยว่า ด็อคหยิบเรื่องนี้มาคุยเพื่อ ... ?????
จะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าโอซาก้าหรือครับ
ฮา
![]()
![]()
5 5 5 ไม่ใช่หรอกครับ
ผมช่วยงานภาคสังคมบ้างโดยเฉพาะในเรื่องคนไร้บ้านใน กทม ครับ เลยสนใจ
แถลงการณ์ 7: แนวทางการช่วยเหลือผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2556ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4
ดร.โสภณ#4 ทำงานด้านผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ หรือคนเร่ร่อน หรือคนไร้บ้าน ขณะนี้ยังเป็นประธานกรรมการ มูลนิธิอิสรชน ซึ่งเป็นองค์การสาธารณประโยชน์ที่ช่วยเหลือบุคคลกลุ่มนี้
ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเกิดจากปัญหาความยากจน และอื่น ๆ ด้วยเหตุผลด้านสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนทุกคนต้องมีที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม จะปล่อยให้นอนระเกะระกะโดยขาดการเหลียวแลจากสังคมไม่ได้ และเพื่อสวัสดิภาพของทุกฝ่าย จึงควรให้การช่วยเหลือตั้งแต่การจัดหาที่พักพิงแบบเช่าหรือแบบให้เปล่าชั่วคราว การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม แต่ทั้งนี้ทำได้ยากเพราะงบประมาณของรัฐในด้านสังคมมีจำกัดเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน ต่ำกว่างบประมาณด้านการทหารถึง 17 เท่าตัว
วันนี้ ดร.โสภณ พรโชคชัย ได้รับเชิญจากสำนักบริการสวัสดิการสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ไปเป็นวิทยากรในการสัมมนา “รวมพลังสร้างเครือข่ายและเสริมศักยภาพบุคลากรยุคใหม่ในการขับเคลื่อนเครือข่ายมุ่งพัฒนาเพื่อสวัสดิการสังคม” โดยเฉพาะประเด็น “คิดทบทวน สร้างบทบาท หาแนวทางการให้บริการสวัสดิการสังคมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ” ณ โรงแรมแกรนด์ เดอ วิลล์ (วังบูรพา) กรุงเทพมหานคร
แม้จากการสำรวจข้อมูลของมูลนิธิอิสรชนพบว่าในปี 2555 มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะไม่มากนัก คือเกือบ 2,846 คนแยกเป็นชาย 1,774 คน และหญิง 1,072 คน แต่หากนับรวมขอทานซึ่งมีทั้งที่เป็นขอทานเดี่ยว สัญชาติไทย และขอทานที่เป็นกระบวนการค้ามนุษย์ทั้งไทยและเทศ ก็คงมีอีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้อยู่ในการสำรวจรอบนี้
ในต่างประเทศพบว่า กรณีนครนิวยอร์ก มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ณ เดือนมิถุนายน 2555 อยู่ถึง 44,402 คน หรือประมาณ 0.5% ของประชากรนิวยอร์ก (ทุก ๆ 1 ใน 200 คนของชาวนิวยอร์ก เป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ) {1} ส่วนอินเดีย มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถึง 78 ล้านคน หรือราว 7% ของประชากรในประเทศดังกล่าว {2} อาจกล่าวได้ว่า ประเทศที่เจริญทางเศรษฐกิจกว่ามักมีจำนวนประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะน้อยกว่า
การเกิดขึ้นของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะก็เพราะบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถอยู่อาศัยในระบบบ้านปกติ เช่น บ้านจัดสรร บ้านเช่า บ้านพักคนงานในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยฐานะที่ยากจนลง ไร้ที่พึ่ง ต่อต้านสังคม วิกลจริต หรืออื่น ๆ ทำให้ต้องมาเป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ซึ่งอาจแยกย่อยเป็นกลุ่มผู้ไร้บ้าน (ควรมีบ้านได้แต่ฐานะยากจนเกินกว่าจะมีบ้านได้หรือเช่าบ้านได้) เยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต หรือผู้ย้ายถิ่นทั้งที่ชั่วคราวหรือ (กึ่ง) ถาวร เป็นต้น
การดำรงอยู่ของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถือเป็นปัญหาที่กระทบต่อสวัสดิภาพของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะและบุคคลอื่น รัฐบาลจึงควรมีมาตรการที่พึงให้ความช่วยเหลือ เช่น
1. การบำบัดต่าง ๆ โดยเฉพาะความหิวโหย ซึ่งถือเป็นการบรรเทาทุกข์เฉพาะหน้า
2. การให้เข้าถึงการรักษาพยาบาลของรัฐ แต่ที่ผ่านมาหลายคนไม่มีบัตรประชาชนเพราะหายไป หรือร่างกายไม่สะอาด ได้รับการรังเกียจจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
3. การจัดที่อยู่อาศัยฉุกเฉินให้โดยไม่คิดมูลค่าเป็นการชั่วคราวโดยเฉพาะผู้ที่ควรได้รับการบำบัดเป็นพิเศษเมื่อพบเห็น
4. การมีที่พักอาศัย เป็นเตนท์ หรือเตียงขนาดเล็กให้เช่าหลับนอนราคาถูก โดยตั้งอยู่ใกล้ ๆ เป็นการชั่วคราว และให้อยู่ในระยะเวลาที่สั้นที่สุดจนกว่าจะเข้าสู่สังคมปกติได้ โดยอาจเช่าที่วัด ราชพัสดุ เอกชน หรือขอรับการบริจาคจากเอกชน เพื่อสวัสดิภาพในการอยู่อาศัยยามค่ำคืน สถานที่ตั้งต้องเป็นในเขตเมือง ไม่ใช่ออกไปชานเมือง เพราะคงไม่มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะสามารถเดินทางไปพักผ่อนในยามค่ำคืนได้
5. สำหรับผู้ที่ไม่มีรายได้ ไม่มีอาชีพแต่จำเป็นต้องอยู่อาศัยในที่พักอาศัยให้เช่าข้างต้น ก็ควรมีบริการงานให้ทำเพื่อให้เกิดรายได้ เช่น งานทำความสะอาดสถานที่สาธารณะ งานฝีมือ ฯลฯ เพื่อเป็นค่าที่อยู่อาศัยในยามค่ำคืน
6. การฝึกอาชีพ สำหรับบุคคลปกติแต่ขาดรายได้ โดยไม่เพียงแต่สอนให้มีทักษะอาชีพ แต่ยังควรสอนให้เป็นผู้ประกอผู้ประกอบการที่ดี หรือเป็นลูกจ้างที่ดีในอนาคตด้วยเช่นกัน
7. ในกรณีบุคคลที่ไม่ได้ต้องการมีบ้านเป็นของตนเอง แต่เป็นกลุ่มเยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต ฯลฯ ต้องส่งสถานสงเคราะห์ให้การรักษาจนกว่าจะกลับเข้าสู่สังคมได้ตามปกติสุข
8. การจัดหน่วย ‘ลาดตระเวน’ เพื่อตรวจสอบ ป้องปรามอาชญากรรมในยามค่ำคืนตามย่านชุมชนและสถานีขนส่งประเภทต่าง ๆ
9. การสร้างฐานข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะโดยออกสำรวจตามย่านชุมชนทั่ว กทม.และปริมณฑล โดยในกรณีนครนิวยอร์ก ได้ระดมอาสาสมัครออกสำรวจในยามค่ำคืนหนึ่งพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้ข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะอย่างครบถ้วน และยังมีการสำรวจถึงจำนวนและสถานที่สาธารณะที่พักอาศัยต่อเนื่องทุกเดือนจนสามารถรู้จักผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะทุกราย
อย่างไรก็ตามโอกาสในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ข้างต้นอาจจำกัด เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด ในปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ที่กำลังพิจารณาอยู่นี้ งบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน หรือเป็นเงิน 10,516.7 ล้านบาท (เป็นของกรมสวัสดิการสังคมเพียง 6,000 ล้านบาท) และหากเทียบกับงบประมาณของกระทรวงกลาโหมที่ 180,811.4 ล้าน บาท (7.5% ของงบประมาณแผ่นดิน) นั้น กลับสูงกว่างบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ถึง 17 เท่าตัว {3}
ด้วยงบประมาณที่จำกัดนี้ จึงทำให้สถานสงเคราะห์ มีอยู่อย่างจำกัดมาชั่วนาตาปี โอกาสขยายจึงเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่สามารถรองรับความต้องการจำเป็นในการดูแลสวัสดิภาพของประชาชน ไม่สามารถทำงานเชิงรุกเพื่อการป้องปราม รัฐจัดสวัสดิการสังคมผ่านกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แต่เพียงในนาม เพราะเจียดงบประมาณให้น้อยมากนั่นเอง
ในกรณีนี้ หากผมได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จะระดมทุนจากประชาชนจัดสร้างสถานสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือทางมนุษยธรรมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเหล่านี้ โดยแยกเป็นสถานสงเคราะห์ด้านเด็ก เยาวชน คนพิการ ผู้ไม่สมประกอบ ผู้ให้บริการทางเพศ ผู้ที่ยากจนไร้ที่อยู่อาศัย ผู้สูงอายุ และอื่น ๆ โดยยังจะขอความร่วมมือกับกระทรงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นต่อไป
ผมเชื่อว่าในส่วนของภาคประชาชน จะมีความยินดีร่วมทำ “จิตอาสา” เพื่อประโยชน์สาธารณะ ที่ผ่านมาประชาชนอาจไม่ได้ร่วม “จิตอาสา” มากนักเพราะข้องใจว่าเงินและทรัพยากรจะตกถึงมือผู้ด้อยโอกาสหรือไม่ หากทำให้มีระบบตรวจสอบที่ดี ก็จะทำให้ประชาชนร่วมใจเสียสละเพื่อส่วนรวมกันมากขึ้น ทำให้สังคมมีความผาสุกจากการให้ ไม่ใช่เฉพาะจากการรับเท่านั้น
อ้างอิง
{1} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.coalition...ges/basic-facts
{2} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.slumdogs....homeless-facts/
{3} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.bb.go.th/...00/00000120.PDFติดต่อ ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครหมายเลข 4 ได้ที่ คุณอัจฉรา 08.6628.2817 อีเมล์: sopon@trebs.ac.th thaiappraisal@gmail.com เว็บไซต์หาเสียงที่ www.sopon4.housingyellow.com Facebook: www.facebook.com/dr.sopon4 Twitter: www.twitter.com/Pornchokchai
ตัวใหญ่ๆนั้นบ่งบอกอะไรบางอย่างในตัวมันเอง
นึกว่าได้รับมอบหมายให้มาดูแลงานด้านนี้ แต่ แค่มาพูด ทางวิชาการ ปฏิบัติมันยากกว่านั้นครับ
ลงมือปฏิบัติ ตามที่เป็นวิทยากรมาพูดให้ข้อมูลเลยครับ พูดอย่างเดียวแต่ไม่ทำ มันก็ไร้ซึ่งผลงาน
เข้าไปพบผู้ว่า แล้วขออาสาทำเรื่องนี้ไปเลยครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 14:39
แต่ผมสงสัยว่า ด็อคหยิบเรื่องนี้มาคุยเพื่อ ... ?????
จะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าโอซาก้าหรือครับ
ฮา
![]()
![]()
5 5 5 ไม่ใช่หรอกครับ
ผมช่วยงานภาคสังคมบ้างโดยเฉพาะในเรื่องคนไร้บ้านใน กทม ครับ เลยสนใจ
แถลงการณ์ 7: แนวทางการช่วยเหลือผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2556ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4
ดร.โสภณ#4 ทำงานด้านผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ หรือคนเร่ร่อน หรือคนไร้บ้าน ขณะนี้ยังเป็นประธานกรรมการ มูลนิธิอิสรชน ซึ่งเป็นองค์การสาธารณประโยชน์ที่ช่วยเหลือบุคคลกลุ่มนี้
ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเกิดจากปัญหาความยากจน และอื่น ๆ ด้วยเหตุผลด้านสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนทุกคนต้องมีที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม จะปล่อยให้นอนระเกะระกะโดยขาดการเหลียวแลจากสังคมไม่ได้ และเพื่อสวัสดิภาพของทุกฝ่าย จึงควรให้การช่วยเหลือตั้งแต่การจัดหาที่พักพิงแบบเช่าหรือแบบให้เปล่าชั่วคราว การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม แต่ทั้งนี้ทำได้ยากเพราะงบประมาณของรัฐในด้านสังคมมีจำกัดเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน ต่ำกว่างบประมาณด้านการทหารถึง 17 เท่าตัว
วันนี้ ดร.โสภณ พรโชคชัย ได้รับเชิญจากสำนักบริการสวัสดิการสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ไปเป็นวิทยากรในการสัมมนา “รวมพลังสร้างเครือข่ายและเสริมศักยภาพบุคลากรยุคใหม่ในการขับเคลื่อนเครือข่ายมุ่งพัฒนาเพื่อสวัสดิการสังคม” โดยเฉพาะประเด็น “คิดทบทวน สร้างบทบาท หาแนวทางการให้บริการสวัสดิการสังคมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ” ณ โรงแรมแกรนด์ เดอ วิลล์ (วังบูรพา) กรุงเทพมหานคร
แม้จากการสำรวจข้อมูลของมูลนิธิอิสรชนพบว่าในปี 2555 มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะไม่มากนัก คือเกือบ 2,846 คนแยกเป็นชาย 1,774 คน และหญิง 1,072 คน แต่หากนับรวมขอทานซึ่งมีทั้งที่เป็นขอทานเดี่ยว สัญชาติไทย และขอทานที่เป็นกระบวนการค้ามนุษย์ทั้งไทยและเทศ ก็คงมีอีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้อยู่ในการสำรวจรอบนี้
ในต่างประเทศพบว่า กรณีนครนิวยอร์ก มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ณ เดือนมิถุนายน 2555 อยู่ถึง 44,402 คน หรือประมาณ 0.5% ของประชากรนิวยอร์ก (ทุก ๆ 1 ใน 200 คนของชาวนิวยอร์ก เป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ) {1} ส่วนอินเดีย มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถึง 78 ล้านคน หรือราว 7% ของประชากรในประเทศดังกล่าว {2} อาจกล่าวได้ว่า ประเทศที่เจริญทางเศรษฐกิจกว่ามักมีจำนวนประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะน้อยกว่า
การเกิดขึ้นของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะก็เพราะบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถอยู่อาศัยในระบบบ้านปกติ เช่น บ้านจัดสรร บ้านเช่า บ้านพักคนงานในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยฐานะที่ยากจนลง ไร้ที่พึ่ง ต่อต้านสังคม วิกลจริต หรืออื่น ๆ ทำให้ต้องมาเป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ซึ่งอาจแยกย่อยเป็นกลุ่มผู้ไร้บ้าน (ควรมีบ้านได้แต่ฐานะยากจนเกินกว่าจะมีบ้านได้หรือเช่าบ้านได้) เยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต หรือผู้ย้ายถิ่นทั้งที่ชั่วคราวหรือ (กึ่ง) ถาวร เป็นต้น
การดำรงอยู่ของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถือเป็นปัญหาที่กระทบต่อสวัสดิภาพของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะและบุคคลอื่น รัฐบาลจึงควรมีมาตรการที่พึงให้ความช่วยเหลือ เช่น
1. การบำบัดต่าง ๆ โดยเฉพาะความหิวโหย ซึ่งถือเป็นการบรรเทาทุกข์เฉพาะหน้า
2. การให้เข้าถึงการรักษาพยาบาลของรัฐ แต่ที่ผ่านมาหลายคนไม่มีบัตรประชาชนเพราะหายไป หรือร่างกายไม่สะอาด ได้รับการรังเกียจจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
3. การจัดที่อยู่อาศัยฉุกเฉินให้โดยไม่คิดมูลค่าเป็นการชั่วคราวโดยเฉพาะผู้ที่ควรได้รับการบำบัดเป็นพิเศษเมื่อพบเห็น
4. การมีที่พักอาศัย เป็นเตนท์ หรือเตียงขนาดเล็กให้เช่าหลับนอนราคาถูก โดยตั้งอยู่ใกล้ ๆ เป็นการชั่วคราว และให้อยู่ในระยะเวลาที่สั้นที่สุดจนกว่าจะเข้าสู่สังคมปกติได้ โดยอาจเช่าที่วัด ราชพัสดุ เอกชน หรือขอรับการบริจาคจากเอกชน เพื่อสวัสดิภาพในการอยู่อาศัยยามค่ำคืน สถานที่ตั้งต้องเป็นในเขตเมือง ไม่ใช่ออกไปชานเมือง เพราะคงไม่มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะสามารถเดินทางไปพักผ่อนในยามค่ำคืนได้
5. สำหรับผู้ที่ไม่มีรายได้ ไม่มีอาชีพแต่จำเป็นต้องอยู่อาศัยในที่พักอาศัยให้เช่าข้างต้น ก็ควรมีบริการงานให้ทำเพื่อให้เกิดรายได้ เช่น งานทำความสะอาดสถานที่สาธารณะ งานฝีมือ ฯลฯ เพื่อเป็นค่าที่อยู่อาศัยในยามค่ำคืน
6. การฝึกอาชีพ สำหรับบุคคลปกติแต่ขาดรายได้ โดยไม่เพียงแต่สอนให้มีทักษะอาชีพ แต่ยังควรสอนให้เป็นผู้ประกอผู้ประกอบการที่ดี หรือเป็นลูกจ้างที่ดีในอนาคตด้วยเช่นกัน
7. ในกรณีบุคคลที่ไม่ได้ต้องการมีบ้านเป็นของตนเอง แต่เป็นกลุ่มเยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต ฯลฯ ต้องส่งสถานสงเคราะห์ให้การรักษาจนกว่าจะกลับเข้าสู่สังคมได้ตามปกติสุข
8. การจัดหน่วย ‘ลาดตระเวน’ เพื่อตรวจสอบ ป้องปรามอาชญากรรมในยามค่ำคืนตามย่านชุมชนและสถานีขนส่งประเภทต่าง ๆ
9. การสร้างฐานข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะโดยออกสำรวจตามย่านชุมชนทั่ว กทม.และปริมณฑล โดยในกรณีนครนิวยอร์ก ได้ระดมอาสาสมัครออกสำรวจในยามค่ำคืนหนึ่งพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้ข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะอย่างครบถ้วน และยังมีการสำรวจถึงจำนวนและสถานที่สาธารณะที่พักอาศัยต่อเนื่องทุกเดือนจนสามารถรู้จักผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะทุกราย
อย่างไรก็ตามโอกาสในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ข้างต้นอาจจำกัด เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด ในปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ที่กำลังพิจารณาอยู่นี้ งบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน หรือเป็นเงิน 10,516.7 ล้านบาท (เป็นของกรมสวัสดิการสังคมเพียง 6,000 ล้านบาท) และหากเทียบกับงบประมาณของกระทรวงกลาโหมที่ 180,811.4 ล้าน บาท (7.5% ของงบประมาณแผ่นดิน) นั้น กลับสูงกว่างบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ถึง 17 เท่าตัว {3}
ด้วยงบประมาณที่จำกัดนี้ จึงทำให้สถานสงเคราะห์ มีอยู่อย่างจำกัดมาชั่วนาตาปี โอกาสขยายจึงเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่สามารถรองรับความต้องการจำเป็นในการดูแลสวัสดิภาพของประชาชน ไม่สามารถทำงานเชิงรุกเพื่อการป้องปราม รัฐจัดสวัสดิการสังคมผ่านกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แต่เพียงในนาม เพราะเจียดงบประมาณให้น้อยมากนั่นเอง
ในกรณีนี้ หากผมได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จะระดมทุนจากประชาชนจัดสร้างสถานสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือทางมนุษยธรรมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเหล่านี้ โดยแยกเป็นสถานสงเคราะห์ด้านเด็ก เยาวชน คนพิการ ผู้ไม่สมประกอบ ผู้ให้บริการทางเพศ ผู้ที่ยากจนไร้ที่อยู่อาศัย ผู้สูงอายุ และอื่น ๆ โดยยังจะขอความร่วมมือกับกระทรงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นต่อไป
ผมเชื่อว่าในส่วนของภาคประชาชน จะมีความยินดีร่วมทำ “จิตอาสา” เพื่อประโยชน์สาธารณะ ที่ผ่านมาประชาชนอาจไม่ได้ร่วม “จิตอาสา” มากนักเพราะข้องใจว่าเงินและทรัพยากรจะตกถึงมือผู้ด้อยโอกาสหรือไม่ หากทำให้มีระบบตรวจสอบที่ดี ก็จะทำให้ประชาชนร่วมใจเสียสละเพื่อส่วนรวมกันมากขึ้น ทำให้สังคมมีความผาสุกจากการให้ ไม่ใช่เฉพาะจากการรับเท่านั้น
อ้างอิง
{1} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.coalition...ges/basic-facts
{2} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.slumdogs....homeless-facts/
{3} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.bb.go.th/...00/00000120.PDFติดต่อ ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครหมายเลข 4 ได้ที่ คุณอัจฉรา 08.6628.2817 อีเมล์: sopon@trebs.ac.th thaiappraisal@gmail.com เว็บไซต์หาเสียงที่ www.sopon4.housingyellow.com Facebook: www.facebook.com/dr.sopon4 Twitter: www.twitter.com/Pornchokchai
ตัวใหญ่ๆนั้นบ่งบอกอะไรบางอย่างในตัวมันเอง
นึกว่าได้รับมอบหมายให้มาดูแลงานด้านนี้ แต่ แค่มาพูด ทางวิชาการ ปฏิบัติมันยากกว่านั้นครับ
ลงมือปฏิบัติ ตามที่เป็นวิทยากรมาพูดให้ข้อมูลเลยครับ พูดอย่างเดียวแต่ไม่ทำ มันก็ไร้ซึ่งผลงาน
เข้าไปพบผู้ว่า แล้วขออาสาทำเรื่องนี้ไปเลยครับ
ผมรู้จัก กทม รู้เรื่อง กทม เพราะช่วยงาน กทม มาตั้งแต่ปี 2525 ก่อนท่านผู้ว่าฯหลายปีแล้วครับ รู้จักแทบทุกสำนักใน กทม. รู้จริงแน่ ๆ ครับผม
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 14:47
อันที่จริง Homeless ในไทยก็ไม่งอมืองอเท้านะครับ มีการเก็บพวกของเก่าที่ขายได้
็Homeless ที่ผมเห็ยเยอะที่สุดก็แถวๆ พระนครกับแถวๆ สนามหลวง เนี่ยแหละ
ส่วนที่ญี่ปุ่นเนี่ย ผมว่าการที่ไม่ต้องขอวีซ่าผมว่าเป็นการกระตุ้นเศรษฐกิจได้อีกทางหนึ่ง
แต่ปัญหาคือ ค่าครองชีพเนี่ยแหละ ผมว่าน่าจะให้ค่าเงินเยนเหลือ 100 = 25 บาท จะดีมิใช่น้อย
คนไปเที่ยวเกาหลีเยอะเพราะของถูกกับที่พักถูกกว่าเนี่ยแหละครับ
/人◕ ‿‿ ◕人\
╱/(っ◕ ‿‿◕)っ Hello, I'm a Kyubey /人◕ ‿‿ ◕人\
╱/(っ◕ ‿‿◕)っ Please Make a contract with me and become a Magical girl! /人◕ ‿‿ <人\
ข้าพเจ้าขอสนับสนุนท่านผู้นำที่น่ารักที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ!!! Heil Lertih Adolf!! Heil Lertih Adolf!! Heil Lertih Adolf!!
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 14:52
แต่ผมสงสัยว่า ด็อคหยิบเรื่องนี้มาคุยเพื่อ ... ?????
จะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าโอซาก้าหรือครับ
ฮา
![]()
![]()
5 5 5 ไม่ใช่หรอกครับ
ผมช่วยงานภาคสังคมบ้างโดยเฉพาะในเรื่องคนไร้บ้านใน กทม ครับ เลยสนใจ
แถลงการณ์ 7: แนวทางการช่วยเหลือผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2556ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4
ดร.โสภณ#4 ทำงานด้านผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ หรือคนเร่ร่อน หรือคนไร้บ้าน ขณะนี้ยังเป็นประธานกรรมการ มูลนิธิอิสรชน ซึ่งเป็นองค์การสาธารณประโยชน์ที่ช่วยเหลือบุคคลกลุ่มนี้
ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเกิดจากปัญหาความยากจน และอื่น ๆ ด้วยเหตุผลด้านสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนทุกคนต้องมีที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม จะปล่อยให้นอนระเกะระกะโดยขาดการเหลียวแลจากสังคมไม่ได้ และเพื่อสวัสดิภาพของทุกฝ่าย จึงควรให้การช่วยเหลือตั้งแต่การจัดหาที่พักพิงแบบเช่าหรือแบบให้เปล่าชั่วคราว การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม แต่ทั้งนี้ทำได้ยากเพราะงบประมาณของรัฐในด้านสังคมมีจำกัดเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน ต่ำกว่างบประมาณด้านการทหารถึง 17 เท่าตัว
วันนี้ ดร.โสภณ พรโชคชัย ได้รับเชิญจากสำนักบริการสวัสดิการสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ไปเป็นวิทยากรในการสัมมนา “รวมพลังสร้างเครือข่ายและเสริมศักยภาพบุคลากรยุคใหม่ในการขับเคลื่อนเครือข่ายมุ่งพัฒนาเพื่อสวัสดิการสังคม” โดยเฉพาะประเด็น “คิดทบทวน สร้างบทบาท หาแนวทางการให้บริการสวัสดิการสังคมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ” ณ โรงแรมแกรนด์ เดอ วิลล์ (วังบูรพา) กรุงเทพมหานคร
แม้จากการสำรวจข้อมูลของมูลนิธิอิสรชนพบว่าในปี 2555 มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะไม่มากนัก คือเกือบ 2,846 คนแยกเป็นชาย 1,774 คน และหญิง 1,072 คน แต่หากนับรวมขอทานซึ่งมีทั้งที่เป็นขอทานเดี่ยว สัญชาติไทย และขอทานที่เป็นกระบวนการค้ามนุษย์ทั้งไทยและเทศ ก็คงมีอีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้อยู่ในการสำรวจรอบนี้
ในต่างประเทศพบว่า กรณีนครนิวยอร์ก มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ณ เดือนมิถุนายน 2555 อยู่ถึง 44,402 คน หรือประมาณ 0.5% ของประชากรนิวยอร์ก (ทุก ๆ 1 ใน 200 คนของชาวนิวยอร์ก เป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ) {1} ส่วนอินเดีย มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถึง 78 ล้านคน หรือราว 7% ของประชากรในประเทศดังกล่าว {2} อาจกล่าวได้ว่า ประเทศที่เจริญทางเศรษฐกิจกว่ามักมีจำนวนประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะน้อยกว่า
การเกิดขึ้นของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะก็เพราะบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถอยู่อาศัยในระบบบ้านปกติ เช่น บ้านจัดสรร บ้านเช่า บ้านพักคนงานในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยฐานะที่ยากจนลง ไร้ที่พึ่ง ต่อต้านสังคม วิกลจริต หรืออื่น ๆ ทำให้ต้องมาเป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ซึ่งอาจแยกย่อยเป็นกลุ่มผู้ไร้บ้าน (ควรมีบ้านได้แต่ฐานะยากจนเกินกว่าจะมีบ้านได้หรือเช่าบ้านได้) เยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต หรือผู้ย้ายถิ่นทั้งที่ชั่วคราวหรือ (กึ่ง) ถาวร เป็นต้น
การดำรงอยู่ของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถือเป็นปัญหาที่กระทบต่อสวัสดิภาพของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะและบุคคลอื่น รัฐบาลจึงควรมีมาตรการที่พึงให้ความช่วยเหลือ เช่น
1. การบำบัดต่าง ๆ โดยเฉพาะความหิวโหย ซึ่งถือเป็นการบรรเทาทุกข์เฉพาะหน้า
2. การให้เข้าถึงการรักษาพยาบาลของรัฐ แต่ที่ผ่านมาหลายคนไม่มีบัตรประชาชนเพราะหายไป หรือร่างกายไม่สะอาด ได้รับการรังเกียจจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
3. การจัดที่อยู่อาศัยฉุกเฉินให้โดยไม่คิดมูลค่าเป็นการชั่วคราวโดยเฉพาะผู้ที่ควรได้รับการบำบัดเป็นพิเศษเมื่อพบเห็น
4. การมีที่พักอาศัย เป็นเตนท์ หรือเตียงขนาดเล็กให้เช่าหลับนอนราคาถูก โดยตั้งอยู่ใกล้ ๆ เป็นการชั่วคราว และให้อยู่ในระยะเวลาที่สั้นที่สุดจนกว่าจะเข้าสู่สังคมปกติได้ โดยอาจเช่าที่วัด ราชพัสดุ เอกชน หรือขอรับการบริจาคจากเอกชน เพื่อสวัสดิภาพในการอยู่อาศัยยามค่ำคืน สถานที่ตั้งต้องเป็นในเขตเมือง ไม่ใช่ออกไปชานเมือง เพราะคงไม่มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะสามารถเดินทางไปพักผ่อนในยามค่ำคืนได้
5. สำหรับผู้ที่ไม่มีรายได้ ไม่มีอาชีพแต่จำเป็นต้องอยู่อาศัยในที่พักอาศัยให้เช่าข้างต้น ก็ควรมีบริการงานให้ทำเพื่อให้เกิดรายได้ เช่น งานทำความสะอาดสถานที่สาธารณะ งานฝีมือ ฯลฯ เพื่อเป็นค่าที่อยู่อาศัยในยามค่ำคืน
6. การฝึกอาชีพ สำหรับบุคคลปกติแต่ขาดรายได้ โดยไม่เพียงแต่สอนให้มีทักษะอาชีพ แต่ยังควรสอนให้เป็นผู้ประกอผู้ประกอบการที่ดี หรือเป็นลูกจ้างที่ดีในอนาคตด้วยเช่นกัน
7. ในกรณีบุคคลที่ไม่ได้ต้องการมีบ้านเป็นของตนเอง แต่เป็นกลุ่มเยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต ฯลฯ ต้องส่งสถานสงเคราะห์ให้การรักษาจนกว่าจะกลับเข้าสู่สังคมได้ตามปกติสุข
8. การจัดหน่วย ‘ลาดตระเวน’ เพื่อตรวจสอบ ป้องปรามอาชญากรรมในยามค่ำคืนตามย่านชุมชนและสถานีขนส่งประเภทต่าง ๆ
9. การสร้างฐานข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะโดยออกสำรวจตามย่านชุมชนทั่ว กทม.และปริมณฑล โดยในกรณีนครนิวยอร์ก ได้ระดมอาสาสมัครออกสำรวจในยามค่ำคืนหนึ่งพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้ข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะอย่างครบถ้วน และยังมีการสำรวจถึงจำนวนและสถานที่สาธารณะที่พักอาศัยต่อเนื่องทุกเดือนจนสามารถรู้จักผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะทุกราย
อย่างไรก็ตามโอกาสในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ข้างต้นอาจจำกัด เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด ในปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ที่กำลังพิจารณาอยู่นี้ งบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน หรือเป็นเงิน 10,516.7 ล้านบาท (เป็นของกรมสวัสดิการสังคมเพียง 6,000 ล้านบาท) และหากเทียบกับงบประมาณของกระทรวงกลาโหมที่ 180,811.4 ล้าน บาท (7.5% ของงบประมาณแผ่นดิน) นั้น กลับสูงกว่างบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ถึง 17 เท่าตัว {3}
ด้วยงบประมาณที่จำกัดนี้ จึงทำให้สถานสงเคราะห์ มีอยู่อย่างจำกัดมาชั่วนาตาปี โอกาสขยายจึงเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่สามารถรองรับความต้องการจำเป็นในการดูแลสวัสดิภาพของประชาชน ไม่สามารถทำงานเชิงรุกเพื่อการป้องปราม รัฐจัดสวัสดิการสังคมผ่านกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แต่เพียงในนาม เพราะเจียดงบประมาณให้น้อยมากนั่นเอง
ในกรณีนี้ หากผมได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จะระดมทุนจากประชาชนจัดสร้างสถานสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือทางมนุษยธรรมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเหล่านี้ โดยแยกเป็นสถานสงเคราะห์ด้านเด็ก เยาวชน คนพิการ ผู้ไม่สมประกอบ ผู้ให้บริการทางเพศ ผู้ที่ยากจนไร้ที่อยู่อาศัย ผู้สูงอายุ และอื่น ๆ โดยยังจะขอความร่วมมือกับกระทรงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นต่อไป
ผมเชื่อว่าในส่วนของภาคประชาชน จะมีความยินดีร่วมทำ “จิตอาสา” เพื่อประโยชน์สาธารณะ ที่ผ่านมาประชาชนอาจไม่ได้ร่วม “จิตอาสา” มากนักเพราะข้องใจว่าเงินและทรัพยากรจะตกถึงมือผู้ด้อยโอกาสหรือไม่ หากทำให้มีระบบตรวจสอบที่ดี ก็จะทำให้ประชาชนร่วมใจเสียสละเพื่อส่วนรวมกันมากขึ้น ทำให้สังคมมีความผาสุกจากการให้ ไม่ใช่เฉพาะจากการรับเท่านั้น
อ้างอิง
{1} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.coalition...ges/basic-facts
{2} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.slumdogs....homeless-facts/
{3} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.bb.go.th/...00/00000120.PDFติดต่อ ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครหมายเลข 4 ได้ที่ คุณอัจฉรา 08.6628.2817 อีเมล์: sopon@trebs.ac.th thaiappraisal@gmail.com เว็บไซต์หาเสียงที่ www.sopon4.housingyellow.com Facebook: www.facebook.com/dr.sopon4 Twitter: www.twitter.com/Pornchokchai
ตัวใหญ่ๆนั้นบ่งบอกอะไรบางอย่างในตัวมันเอง
นึกว่าได้รับมอบหมายให้มาดูแลงานด้านนี้ แต่ แค่มาพูด ทางวิชาการ ปฏิบัติมันยากกว่านั้นครับ
ลงมือปฏิบัติ ตามที่เป็นวิทยากรมาพูดให้ข้อมูลเลยครับ พูดอย่างเดียวแต่ไม่ทำ มันก็ไร้ซึ่งผลงาน
เข้าไปพบผู้ว่า แล้วขออาสาทำเรื่องนี้ไปเลยครับ
ผมรู้จัก กทม รู้เรื่อง กทม เพราะช่วยงาน กทม มาตั้งแต่ปี 2525 ก่อนท่านผู้ว่าฯหลายปีแล้วครับ รู้จักแทบทุกสำนักใน กทม. รู้จริงแน่ ๆ ครับผม
รู้อ่ะ รู้แค่ไหน
รู้ทุกสำนักในกทม. ไม่เห็นยาก แค่เปิดกูเกิล ก็รู้ได้แร้ว
ข้าจักล้มล้าง ระบอบทักษิณ ให้หมดสิ้นไปจากแผ่นดินไทย
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 14:59
แต่ผมสงสัยว่า ด็อคหยิบเรื่องนี้มาคุยเพื่อ ... ?????
จะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าโอซาก้าหรือครับ
ฮา
![]()
![]()
5 5 5 ไม่ใช่หรอกครับ
ผมช่วยงานภาคสังคมบ้างโดยเฉพาะในเรื่องคนไร้บ้านใน กทม ครับ เลยสนใจ
แถลงการณ์ 7: แนวทางการช่วยเหลือผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2556ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4
ดร.โสภณ#4 ทำงานด้านผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ หรือคนเร่ร่อน หรือคนไร้บ้าน ขณะนี้ยังเป็นประธานกรรมการ มูลนิธิอิสรชน ซึ่งเป็นองค์การสาธารณประโยชน์ที่ช่วยเหลือบุคคลกลุ่มนี้
ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเกิดจากปัญหาความยากจน และอื่น ๆ ด้วยเหตุผลด้านสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนทุกคนต้องมีที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม จะปล่อยให้นอนระเกะระกะโดยขาดการเหลียวแลจากสังคมไม่ได้ และเพื่อสวัสดิภาพของทุกฝ่าย จึงควรให้การช่วยเหลือตั้งแต่การจัดหาที่พักพิงแบบเช่าหรือแบบให้เปล่าชั่วคราว การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม แต่ทั้งนี้ทำได้ยากเพราะงบประมาณของรัฐในด้านสังคมมีจำกัดเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน ต่ำกว่างบประมาณด้านการทหารถึง 17 เท่าตัว
วันนี้ ดร.โสภณ พรโชคชัย ได้รับเชิญจากสำนักบริการสวัสดิการสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ไปเป็นวิทยากรในการสัมมนา “รวมพลังสร้างเครือข่ายและเสริมศักยภาพบุคลากรยุคใหม่ในการขับเคลื่อนเครือข่ายมุ่งพัฒนาเพื่อสวัสดิการสังคม” โดยเฉพาะประเด็น “คิดทบทวน สร้างบทบาท หาแนวทางการให้บริการสวัสดิการสังคมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ” ณ โรงแรมแกรนด์ เดอ วิลล์ (วังบูรพา) กรุงเทพมหานคร
แม้จากการสำรวจข้อมูลของมูลนิธิอิสรชนพบว่าในปี 2555 มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะไม่มากนัก คือเกือบ 2,846 คนแยกเป็นชาย 1,774 คน และหญิง 1,072 คน แต่หากนับรวมขอทานซึ่งมีทั้งที่เป็นขอทานเดี่ยว สัญชาติไทย และขอทานที่เป็นกระบวนการค้ามนุษย์ทั้งไทยและเทศ ก็คงมีอีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้อยู่ในการสำรวจรอบนี้
ในต่างประเทศพบว่า กรณีนครนิวยอร์ก มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ณ เดือนมิถุนายน 2555 อยู่ถึง 44,402 คน หรือประมาณ 0.5% ของประชากรนิวยอร์ก (ทุก ๆ 1 ใน 200 คนของชาวนิวยอร์ก เป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ) {1} ส่วนอินเดีย มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถึง 78 ล้านคน หรือราว 7% ของประชากรในประเทศดังกล่าว {2} อาจกล่าวได้ว่า ประเทศที่เจริญทางเศรษฐกิจกว่ามักมีจำนวนประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะน้อยกว่า
การเกิดขึ้นของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะก็เพราะบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถอยู่อาศัยในระบบบ้านปกติ เช่น บ้านจัดสรร บ้านเช่า บ้านพักคนงานในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยฐานะที่ยากจนลง ไร้ที่พึ่ง ต่อต้านสังคม วิกลจริต หรืออื่น ๆ ทำให้ต้องมาเป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ซึ่งอาจแยกย่อยเป็นกลุ่มผู้ไร้บ้าน (ควรมีบ้านได้แต่ฐานะยากจนเกินกว่าจะมีบ้านได้หรือเช่าบ้านได้) เยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต หรือผู้ย้ายถิ่นทั้งที่ชั่วคราวหรือ (กึ่ง) ถาวร เป็นต้น
การดำรงอยู่ของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถือเป็นปัญหาที่กระทบต่อสวัสดิภาพของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะและบุคคลอื่น รัฐบาลจึงควรมีมาตรการที่พึงให้ความช่วยเหลือ เช่น
1. การบำบัดต่าง ๆ โดยเฉพาะความหิวโหย ซึ่งถือเป็นการบรรเทาทุกข์เฉพาะหน้า
2. การให้เข้าถึงการรักษาพยาบาลของรัฐ แต่ที่ผ่านมาหลายคนไม่มีบัตรประชาชนเพราะหายไป หรือร่างกายไม่สะอาด ได้รับการรังเกียจจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
3. การจัดที่อยู่อาศัยฉุกเฉินให้โดยไม่คิดมูลค่าเป็นการชั่วคราวโดยเฉพาะผู้ที่ควรได้รับการบำบัดเป็นพิเศษเมื่อพบเห็น
4. การมีที่พักอาศัย เป็นเตนท์ หรือเตียงขนาดเล็กให้เช่าหลับนอนราคาถูก โดยตั้งอยู่ใกล้ ๆ เป็นการชั่วคราว และให้อยู่ในระยะเวลาที่สั้นที่สุดจนกว่าจะเข้าสู่สังคมปกติได้ โดยอาจเช่าที่วัด ราชพัสดุ เอกชน หรือขอรับการบริจาคจากเอกชน เพื่อสวัสดิภาพในการอยู่อาศัยยามค่ำคืน สถานที่ตั้งต้องเป็นในเขตเมือง ไม่ใช่ออกไปชานเมือง เพราะคงไม่มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะสามารถเดินทางไปพักผ่อนในยามค่ำคืนได้
5. สำหรับผู้ที่ไม่มีรายได้ ไม่มีอาชีพแต่จำเป็นต้องอยู่อาศัยในที่พักอาศัยให้เช่าข้างต้น ก็ควรมีบริการงานให้ทำเพื่อให้เกิดรายได้ เช่น งานทำความสะอาดสถานที่สาธารณะ งานฝีมือ ฯลฯ เพื่อเป็นค่าที่อยู่อาศัยในยามค่ำคืน
6. การฝึกอาชีพ สำหรับบุคคลปกติแต่ขาดรายได้ โดยไม่เพียงแต่สอนให้มีทักษะอาชีพ แต่ยังควรสอนให้เป็นผู้ประกอผู้ประกอบการที่ดี หรือเป็นลูกจ้างที่ดีในอนาคตด้วยเช่นกัน
7. ในกรณีบุคคลที่ไม่ได้ต้องการมีบ้านเป็นของตนเอง แต่เป็นกลุ่มเยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต ฯลฯ ต้องส่งสถานสงเคราะห์ให้การรักษาจนกว่าจะกลับเข้าสู่สังคมได้ตามปกติสุข
8. การจัดหน่วย ‘ลาดตระเวน’ เพื่อตรวจสอบ ป้องปรามอาชญากรรมในยามค่ำคืนตามย่านชุมชนและสถานีขนส่งประเภทต่าง ๆ
9. การสร้างฐานข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะโดยออกสำรวจตามย่านชุมชนทั่ว กทม.และปริมณฑล โดยในกรณีนครนิวยอร์ก ได้ระดมอาสาสมัครออกสำรวจในยามค่ำคืนหนึ่งพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้ข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะอย่างครบถ้วน และยังมีการสำรวจถึงจำนวนและสถานที่สาธารณะที่พักอาศัยต่อเนื่องทุกเดือนจนสามารถรู้จักผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะทุกราย
อย่างไรก็ตามโอกาสในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ข้างต้นอาจจำกัด เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด ในปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ที่กำลังพิจารณาอยู่นี้ งบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน หรือเป็นเงิน 10,516.7 ล้านบาท (เป็นของกรมสวัสดิการสังคมเพียง 6,000 ล้านบาท) และหากเทียบกับงบประมาณของกระทรวงกลาโหมที่ 180,811.4 ล้าน บาท (7.5% ของงบประมาณแผ่นดิน) นั้น กลับสูงกว่างบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ถึง 17 เท่าตัว {3}
ด้วยงบประมาณที่จำกัดนี้ จึงทำให้สถานสงเคราะห์ มีอยู่อย่างจำกัดมาชั่วนาตาปี โอกาสขยายจึงเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่สามารถรองรับความต้องการจำเป็นในการดูแลสวัสดิภาพของประชาชน ไม่สามารถทำงานเชิงรุกเพื่อการป้องปราม รัฐจัดสวัสดิการสังคมผ่านกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แต่เพียงในนาม เพราะเจียดงบประมาณให้น้อยมากนั่นเอง
ในกรณีนี้ หากผมได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จะระดมทุนจากประชาชนจัดสร้างสถานสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือทางมนุษยธรรมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเหล่านี้ โดยแยกเป็นสถานสงเคราะห์ด้านเด็ก เยาวชน คนพิการ ผู้ไม่สมประกอบ ผู้ให้บริการทางเพศ ผู้ที่ยากจนไร้ที่อยู่อาศัย ผู้สูงอายุ และอื่น ๆ โดยยังจะขอความร่วมมือกับกระทรงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นต่อไป
ผมเชื่อว่าในส่วนของภาคประชาชน จะมีความยินดีร่วมทำ “จิตอาสา” เพื่อประโยชน์สาธารณะ ที่ผ่านมาประชาชนอาจไม่ได้ร่วม “จิตอาสา” มากนักเพราะข้องใจว่าเงินและทรัพยากรจะตกถึงมือผู้ด้อยโอกาสหรือไม่ หากทำให้มีระบบตรวจสอบที่ดี ก็จะทำให้ประชาชนร่วมใจเสียสละเพื่อส่วนรวมกันมากขึ้น ทำให้สังคมมีความผาสุกจากการให้ ไม่ใช่เฉพาะจากการรับเท่านั้น
อ้างอิง
{1} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.coalition...ges/basic-facts
{2} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.slumdogs....homeless-facts/
{3} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.bb.go.th/...00/00000120.PDFติดต่อ ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครหมายเลข 4 ได้ที่ คุณอัจฉรา 08.6628.2817 อีเมล์: sopon@trebs.ac.th thaiappraisal@gmail.com เว็บไซต์หาเสียงที่ www.sopon4.housingyellow.com Facebook: www.facebook.com/dr.sopon4 Twitter: www.twitter.com/Pornchokchai
ตัวใหญ่ๆนั้นบ่งบอกอะไรบางอย่างในตัวมันเอง
นึกว่าได้รับมอบหมายให้มาดูแลงานด้านนี้ แต่ แค่มาพูด ทางวิชาการ ปฏิบัติมันยากกว่านั้นครับ
ลงมือปฏิบัติ ตามที่เป็นวิทยากรมาพูดให้ข้อมูลเลยครับ พูดอย่างเดียวแต่ไม่ทำ มันก็ไร้ซึ่งผลงาน
เข้าไปพบผู้ว่า แล้วขออาสาทำเรื่องนี้ไปเลยครับ
ผมรู้จัก กทม รู้เรื่อง กทม เพราะช่วยงาน กทม มาตั้งแต่ปี 2525 ก่อนท่านผู้ว่าฯหลายปีแล้วครับ รู้จักแทบทุกสำนักใน กทม. รู้จริงแน่ ๆ ครับผม
แล้วทำไม น้ำยังท่วมขัง อยู่เหมือนเดิมครับ ช่วยงานยังไงเอ่ย......
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 15:03
คนไร้บ้่านใน กทม มีอยู่จำนวนมาก
รวมถึงชุมชนแออัด สลัม และชุมชนเร่ร่อน (ก่อสร้าง แรงงานที่ต้องย้ายที่อยู่ไปตามไซด์งาน)
ถ้า ดร ได้เป็นผู้ว่า กทม ดร จะแก้ปัญหานี้อย่างเป็นรูปธรรมอย่างไรครับ
ขอรายละเอียดวิธีการด้วยนะครับ
(ขอคำตอบในนี้นะครับ ขี้เกียจไปตามอ่านในเรื่องอวยตัวเองยาวๆ ของคุณ)
คุณด้อกฯ ช่วยตอบแบบมีเนื้อหาสาระ ทำได้ ไม่ติงนังนะ แบบว่ายน้ำในคลองแสนแสบก้อไม่เอานะ ด้อกฯ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 15:05
แต่ผมสงสัยว่า ด็อคหยิบเรื่องนี้มาคุยเพื่อ ... ?????
จะลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าโอซาก้าหรือครับ
ฮา
![]()
![]()
5 5 5 ไม่ใช่หรอกครับ
ผมช่วยงานภาคสังคมบ้างโดยเฉพาะในเรื่องคนไร้บ้านใน กทม ครับ เลยสนใจ
แถลงการณ์ 7: แนวทางการช่วยเหลือผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม 2556ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครผู้ว่าฯ กทม. หมายเลข 4
ดร.โสภณ#4 ทำงานด้านผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ หรือคนเร่ร่อน หรือคนไร้บ้าน ขณะนี้ยังเป็นประธานกรรมการ มูลนิธิอิสรชน ซึ่งเป็นองค์การสาธารณประโยชน์ที่ช่วยเหลือบุคคลกลุ่มนี้
ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเกิดจากปัญหาความยากจน และอื่น ๆ ด้วยเหตุผลด้านสิทธิมนุษยชนที่ประชาชนทุกคนต้องมีที่อยู่อาศัยที่เหมาะสม จะปล่อยให้นอนระเกะระกะโดยขาดการเหลียวแลจากสังคมไม่ได้ และเพื่อสวัสดิภาพของทุกฝ่าย จึงควรให้การช่วยเหลือตั้งแต่การจัดหาที่พักพิงแบบเช่าหรือแบบให้เปล่าชั่วคราว การเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคม แต่ทั้งนี้ทำได้ยากเพราะงบประมาณของรัฐในด้านสังคมมีจำกัดเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน ต่ำกว่างบประมาณด้านการทหารถึง 17 เท่าตัว
วันนี้ ดร.โสภณ พรโชคชัย ได้รับเชิญจากสำนักบริการสวัสดิการสังคม กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ให้ไปเป็นวิทยากรในการสัมมนา “รวมพลังสร้างเครือข่ายและเสริมศักยภาพบุคลากรยุคใหม่ในการขับเคลื่อนเครือข่ายมุ่งพัฒนาเพื่อสวัสดิการสังคม” โดยเฉพาะประเด็น “คิดทบทวน สร้างบทบาท หาแนวทางการให้บริการสวัสดิการสังคมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ” ณ โรงแรมแกรนด์ เดอ วิลล์ (วังบูรพา) กรุงเทพมหานคร
แม้จากการสำรวจข้อมูลของมูลนิธิอิสรชนพบว่าในปี 2555 มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะไม่มากนัก คือเกือบ 2,846 คนแยกเป็นชาย 1,774 คน และหญิง 1,072 คน แต่หากนับรวมขอทานซึ่งมีทั้งที่เป็นขอทานเดี่ยว สัญชาติไทย และขอทานที่เป็นกระบวนการค้ามนุษย์ทั้งไทยและเทศ ก็คงมีอีกเป็นจำนวนมาก แต่ไม่ได้อยู่ในการสำรวจรอบนี้
ในต่างประเทศพบว่า กรณีนครนิวยอร์ก มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ณ เดือนมิถุนายน 2555 อยู่ถึง 44,402 คน หรือประมาณ 0.5% ของประชากรนิวยอร์ก (ทุก ๆ 1 ใน 200 คนของชาวนิวยอร์ก เป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ) {1} ส่วนอินเดีย มีประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถึง 78 ล้านคน หรือราว 7% ของประชากรในประเทศดังกล่าว {2} อาจกล่าวได้ว่า ประเทศที่เจริญทางเศรษฐกิจกว่ามักมีจำนวนประชากรผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะน้อยกว่า
การเกิดขึ้นของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะก็เพราะบุคคลเหล่านี้ไม่สามารถอยู่อาศัยในระบบบ้านปกติ เช่น บ้านจัดสรร บ้านเช่า บ้านพักคนงานในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยฐานะที่ยากจนลง ไร้ที่พึ่ง ต่อต้านสังคม วิกลจริต หรืออื่น ๆ ทำให้ต้องมาเป็นผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะ ซึ่งอาจแยกย่อยเป็นกลุ่มผู้ไร้บ้าน (ควรมีบ้านได้แต่ฐานะยากจนเกินกว่าจะมีบ้านได้หรือเช่าบ้านได้) เยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต หรือผู้ย้ายถิ่นทั้งที่ชั่วคราวหรือ (กึ่ง) ถาวร เป็นต้น
การดำรงอยู่ของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะถือเป็นปัญหาที่กระทบต่อสวัสดิภาพของผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะและบุคคลอื่น รัฐบาลจึงควรมีมาตรการที่พึงให้ความช่วยเหลือ เช่น
1. การบำบัดต่าง ๆ โดยเฉพาะความหิวโหย ซึ่งถือเป็นการบรรเทาทุกข์เฉพาะหน้า
2. การให้เข้าถึงการรักษาพยาบาลของรัฐ แต่ที่ผ่านมาหลายคนไม่มีบัตรประชาชนเพราะหายไป หรือร่างกายไม่สะอาด ได้รับการรังเกียจจากเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
3. การจัดที่อยู่อาศัยฉุกเฉินให้โดยไม่คิดมูลค่าเป็นการชั่วคราวโดยเฉพาะผู้ที่ควรได้รับการบำบัดเป็นพิเศษเมื่อพบเห็น
4. การมีที่พักอาศัย เป็นเตนท์ หรือเตียงขนาดเล็กให้เช่าหลับนอนราคาถูก โดยตั้งอยู่ใกล้ ๆ เป็นการชั่วคราว และให้อยู่ในระยะเวลาที่สั้นที่สุดจนกว่าจะเข้าสู่สังคมปกติได้ โดยอาจเช่าที่วัด ราชพัสดุ เอกชน หรือขอรับการบริจาคจากเอกชน เพื่อสวัสดิภาพในการอยู่อาศัยยามค่ำคืน สถานที่ตั้งต้องเป็นในเขตเมือง ไม่ใช่ออกไปชานเมือง เพราะคงไม่มีผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะสามารถเดินทางไปพักผ่อนในยามค่ำคืนได้
5. สำหรับผู้ที่ไม่มีรายได้ ไม่มีอาชีพแต่จำเป็นต้องอยู่อาศัยในที่พักอาศัยให้เช่าข้างต้น ก็ควรมีบริการงานให้ทำเพื่อให้เกิดรายได้ เช่น งานทำความสะอาดสถานที่สาธารณะ งานฝีมือ ฯลฯ เพื่อเป็นค่าที่อยู่อาศัยในยามค่ำคืน
6. การฝึกอาชีพ สำหรับบุคคลปกติแต่ขาดรายได้ โดยไม่เพียงแต่สอนให้มีทักษะอาชีพ แต่ยังควรสอนให้เป็นผู้ประกอผู้ประกอบการที่ดี หรือเป็นลูกจ้างที่ดีในอนาคตด้วยเช่นกัน
7. ในกรณีบุคคลที่ไม่ได้ต้องการมีบ้านเป็นของตนเอง แต่เป็นกลุ่มเยาวชน ผู้ให้บริการทางเพศ คนวิกลจริต ฯลฯ ต้องส่งสถานสงเคราะห์ให้การรักษาจนกว่าจะกลับเข้าสู่สังคมได้ตามปกติสุข
8. การจัดหน่วย ‘ลาดตระเวน’ เพื่อตรวจสอบ ป้องปรามอาชญากรรมในยามค่ำคืนตามย่านชุมชนและสถานีขนส่งประเภทต่าง ๆ
9. การสร้างฐานข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะโดยออกสำรวจตามย่านชุมชนทั่ว กทม.และปริมณฑล โดยในกรณีนครนิวยอร์ก ได้ระดมอาสาสมัครออกสำรวจในยามค่ำคืนหนึ่งพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้ข้อมูลผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะอย่างครบถ้วน และยังมีการสำรวจถึงจำนวนและสถานที่สาธารณะที่พักอาศัยต่อเนื่องทุกเดือนจนสามารถรู้จักผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะทุกราย
อย่างไรก็ตามโอกาสในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ข้างต้นอาจจำกัด เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด ในปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ที่กำลังพิจารณาอยู่นี้ งบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นเพียง 0.44% ของงบประมาณแผ่นดิน หรือเป็นเงิน 10,516.7 ล้านบาท (เป็นของกรมสวัสดิการสังคมเพียง 6,000 ล้านบาท) และหากเทียบกับงบประมาณของกระทรวงกลาโหมที่ 180,811.4 ล้าน บาท (7.5% ของงบประมาณแผ่นดิน) นั้น กลับสูงกว่างบประมาณของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ถึง 17 เท่าตัว {3}
ด้วยงบประมาณที่จำกัดนี้ จึงทำให้สถานสงเคราะห์ มีอยู่อย่างจำกัดมาชั่วนาตาปี โอกาสขยายจึงเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่สามารถรองรับความต้องการจำเป็นในการดูแลสวัสดิภาพของประชาชน ไม่สามารถทำงานเชิงรุกเพื่อการป้องปราม รัฐจัดสวัสดิการสังคมผ่านกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แต่เพียงในนาม เพราะเจียดงบประมาณให้น้อยมากนั่นเอง
ในกรณีนี้ หากผมได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จะระดมทุนจากประชาชนจัดสร้างสถานสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือทางมนุษยธรรมแก่ผู้ใช้ชีวิตในที่สาธารณะเหล่านี้ โดยแยกเป็นสถานสงเคราะห์ด้านเด็ก เยาวชน คนพิการ ผู้ไม่สมประกอบ ผู้ให้บริการทางเพศ ผู้ที่ยากจนไร้ที่อยู่อาศัย ผู้สูงอายุ และอื่น ๆ โดยยังจะขอความร่วมมือกับกระทรงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอื่นต่อไป
ผมเชื่อว่าในส่วนของภาคประชาชน จะมีความยินดีร่วมทำ “จิตอาสา” เพื่อประโยชน์สาธารณะ ที่ผ่านมาประชาชนอาจไม่ได้ร่วม “จิตอาสา” มากนักเพราะข้องใจว่าเงินและทรัพยากรจะตกถึงมือผู้ด้อยโอกาสหรือไม่ หากทำให้มีระบบตรวจสอบที่ดี ก็จะทำให้ประชาชนร่วมใจเสียสละเพื่อส่วนรวมกันมากขึ้น ทำให้สังคมมีความผาสุกจากการให้ ไม่ใช่เฉพาะจากการรับเท่านั้น
อ้างอิง
{1} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.coalition...ges/basic-facts
{2} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.slumdogs....homeless-facts/
{3} โปรดดูรายละเอียดที่ http://www.bb.go.th/...00/00000120.PDFติดต่อ ดร.โสภณ พรโชคชัย ผู้สมัครหมายเลข 4 ได้ที่ คุณอัจฉรา 08.6628.2817 อีเมล์: sopon@trebs.ac.th thaiappraisal@gmail.com เว็บไซต์หาเสียงที่ www.sopon4.housingyellow.com Facebook: www.facebook.com/dr.sopon4 Twitter: www.twitter.com/Pornchokchai
ตัวใหญ่ๆนั้นบ่งบอกอะไรบางอย่างในตัวมันเอง
นึกว่าได้รับมอบหมายให้มาดูแลงานด้านนี้ แต่ แค่มาพูด ทางวิชาการ ปฏิบัติมันยากกว่านั้นครับ
ลงมือปฏิบัติ ตามที่เป็นวิทยากรมาพูดให้ข้อมูลเลยครับ พูดอย่างเดียวแต่ไม่ทำ มันก็ไร้ซึ่งผลงาน
เข้าไปพบผู้ว่า แล้วขออาสาทำเรื่องนี้ไปเลยครับ
ผมรู้จัก กทม รู้เรื่อง กทม เพราะช่วยงาน กทม มาตั้งแต่ปี 2525 ก่อนท่านผู้ว่าฯหลายปีแล้วครับ รู้จักแทบทุกสำนักใน กทม. รู้จริงแน่ ๆ ครับผม
แล้วทำไม น้ำยังท่วมขัง อยู่เหมือนเดิมครับ ช่วยงานยังไงเอ่ย......
นั้นสินะ ทำไม ไม่มีคัยรู้จักด้อกฯเลยละ 1128เสียง หักครอบครัวเคลื่อญาติ จะเหลือที่รู้จักเท่าไร
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 15:07
ด็อก ๆ ถ่ามจิงวะ
นอกจากเกรียนแตกไปวัน ๆ กะว่ายน้ำแร้วนี่
เคยทำห่านอะไรเป็นประโยชน์ เป็นรูปธรรมจับต้องได้บ้า่งม่ะ
ตั้งแต่เกิดมาจนแก่ป่านนี้แร้วอ่ะ ?
![]()
![]()
ด็อกมาแร้ว ช่วยตอบคำถามนี้ด้วยนะ
แร้วช่วยตอบให้ตรงคำถามด้วยนะ
หรือถ้ามันยากไป ก็บ่องตง ๆ นะว่า ยากไป ตอบไม่ได้
ก็จะไม่ว่าอะไร ก็จะเข้าจัย
ข้าจักล้มล้าง ระบอบทักษิณ ให้หมดสิ้นไปจากแผ่นดินไทย
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 15:13
ด็อก ๆ ถ่ามจิงวะ
นอกจากเกรียนแตกไปวัน ๆ กะว่ายน้ำแร้วนี่
เคยทำห่านอะไรเป็นประโยชน์ เป็นรูปธรรมจับต้องได้บ้า่งม่ะ
ตั้งแต่เกิดมาจนแก่ป่านนี้แร้วอ่ะ ?
![]()
![]()
ด็อกมาแร้ว ช่วยตอบคำถามนี้ด้วยนะ
แร้วช่วยตอบให้ตรงคำถามด้วยนะ
หรือถ้ามันยากไป ก็บ่องตง ๆ นะว่า ยากไป ตอบไม่ได้
ก็จะไม่ว่าอะไร ก็จะเข้าจัย
![]()
แล้วด๊อกฯ ก็จะตอบโดยการบรรยายสรรพคุณว่าเรียนที่ไหนมา ทำงานวิจัยอะไรมา ... นั่นแหละรูปธรรมของด๊อกฯ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 15:16
ด็อก ๆ ถ่ามจิงวะ
นอกจากเกรียนแตกไปวัน ๆ กะว่ายน้ำแร้วนี่
เคยทำห่านอะไรเป็นประโยชน์ เป็นรูปธรรมจับต้องได้บ้า่งม่ะ
ตั้งแต่เกิดมาจนแก่ป่านนี้แร้วอ่ะ ?
![]()
![]()
ด็อกมาแร้ว ช่วยตอบคำถามนี้ด้วยนะ
แร้วช่วยตอบให้ตรงคำถามด้วยนะ
หรือถ้ามันยากไป ก็บ่องตง ๆ นะว่า ยากไป ตอบไม่ได้
ก็จะไม่ว่าอะไร ก็จะเข้าจัย
![]()
แล้วด๊อกฯ ก็จะตอบโดยการบรรยายสรรพคุณว่าเรียนที่ไหนมา ทำงานวิจัยอะไรมา ... นั่นแหละรูปธรรมของด๊อกฯ
แหม ช่างรู้ใจด็อกมันเจรง ๆ เรยท่าน
ข้าจักล้มล้าง ระบอบทักษิณ ให้หมดสิ้นไปจากแผ่นดินไทย
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 15:28
สิ่งที่ผมไม่ชอบรัฐบาลญี่ปุ่นคือไม่แก้ไขปัญหา Homeless อย่างจริงจัง
ในกรณีของคนทำงานแต่ไม่มีบ้านเช่าให้อยู่เพราะแพงมากๆ ในโตเกียว
พวกเขาจำเป็นต้องอาศัยที่อินเทอร์เน็ตคาเฟ่เป็นที่หลับนอนแทน
/人◕ ‿‿ ◕人\
╱/(っ◕ ‿‿◕)っ Hello, I'm a Kyubey /人◕ ‿‿ ◕人\
╱/(っ◕ ‿‿◕)っ Please Make a contract with me and become a Magical girl! /人◕ ‿‿ <人\
ข้าพเจ้าขอสนับสนุนท่านผู้นำที่น่ารักที่สุดในประวัติศาสตร์มนุษยชาติ!!! Heil Lertih Adolf!! Heil Lertih Adolf!! Heil Lertih Adolf!!
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 15:56
ผมไปมา 11 เมืองทั่วโลกครับ
การศึกษา: จบปริญญาเอกสาขาการพัฒนาเมือง และปริญญาโทด้านที่ดินและที่อยู่อาศัยจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยจากมหาวิทยาลัยคาธอลิกลูแวง (เบลเยียม) และสถาบันนโยบายที่ดินลินคอล์น
จบการศึกษาปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยอะไร?
หาเอาเองง่าย ๆ นะครับ
ผมรู้น้อยครับ จบภาคบังคับเองอ้ะ สมัยนั้นป.4 ก็เท่ห์กะเบิด กะเบ้อ แล้ว ....บอกหน่อยดิ ด็อกจบที่ไหน จะส่งหลานไปเรียน ปีนี้มันเข้าป.เตรียมแล้ว
ประโยชน์สูงสุดของประชาชน คือกฏหมายสูงสุดของประเทศ ...วิชา มหาคุณ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:24
ผมไปมา 11 เมืองทั่วโลกครับ
การศึกษา: จบปริญญาเอกสาขาการพัฒนาเมือง และปริญญาโทด้านที่ดินและที่อยู่อาศัยจากสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) ได้รับประกาศนียบัตรชั้นสูงด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยจากมหาวิทยาลัยคาธอลิกลูแวง (เบลเยียม) และสถาบันนโยบายที่ดินลินคอล์น
จบการศึกษาปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยอะไร?
หาเอาเองง่าย ๆ นะครับ
ผมรู้น้อยครับ จบภาคบังคับเองอ้ะ สมัยนั้นป.4 ก็เท่ห์กะเบิด กะเบ้อ แล้ว ....บอกหน่อยดิ ด็อกจบที่ไหน จะส่งหลานไปเรียน ปีนี้มันเข้าป.เตรียมแล้ว
ป.เตรียมมมมมมมมมม!!! เนี้ยนะ มันคนละระดับ กับ ป.ตรี ป.โท ป.เอกนะครับ
แต่ก้จริงเนอะ เราต้องเปลี่ยนวันเปิดปิดภาคเรียนให้ตรงกับเพื่อนบ้าน ทั้งๆที่ เพื่อนบ้านส่งบุตรหลานมาเรียนในไทยเยอะแยะ แล้วคนไทยส่งบุตรหลานไปเรียน ยุโรป อเมริกา อืมมมมมมมมมมมมมมม!!! เฮ้ย.....แล้วมันจะเลื่อนเปิดปิดภาคเรียนของไทยให้ตรงกับเออีซีทำไมฟร้าาาาาาาาาาาาาาาา!!!
กลัวลูกเกิดมากลับมาเรียนไทยไม่ได้ใช่ไหมเอ่ย............ที่แต่งงานไปเนี้ย.....
ปล.พอจะโยงได้ไหมคับ ยังไงก็ให้มันเกี่ยวเนื่องกันไปเนอะ เรื่องการศึกษา 555+
Edited by ฟังทั้งสองฝ่าย, 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:25.
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 16:28
อดอย่างเสือ ดีกว่าอิ่มอย่างหมา
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 17:44
ไปแค่ไม่กี่วัน ทำเป็นรู้ดีเหมือนอยู่ญี่ปุ่นเป็นสิบๆ ปี
แถมทะลึ่งไม่รู้ว่า อนิเมชั่นเรื่องแบบนี้ได้รับรางวัลมากมาย
ผมไปญี่ปุ่นตั้งแต่ปี พ.ศ.2528 ไปบรรยายที่มหาวิทยาลัยที่โตเกียวตั้งแต่ปี 2530 แล้วเดินทางไปเป็นระยะ ๆ นะครับ ไม่ใช่เพิ่งไปนะครับ (ไม่ได้คุยนะครับ แต่เห็นไม่รู้ครับ)
รวมเวลาที่อยู่ในญี่ปุ่นกี่วัน
ผมก็เคยไปญี่ปุ่นเหมือนกัน
กะอีแค่ไปต่างประเทศ ต้องเอามาคุย?
อยู่กี่วันกัน หรือว่านับเลขไม่เป็น
ไม่รู้ว่าหนังญี่ปุ่น รวมทั้งอนิเมชั้น
ทำออกมาหลายเรื่องแล้ว
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 18:16
อดอย่างเสือ ดีกว่าอิ่มอย่างหมา
จริงครับ แต่พวกนี้ มักจะมีชีวิตไม่ยาว อายุขัยสั้น เพราะอยู่นอกบ้าน ทั้งอากาศ อาหาร อาชญากรรม น่าสงสารครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 18:17
ไปแค่ไม่กี่วัน ทำเป็นรู้ดีเหมือนอยู่ญี่ปุ่นเป็นสิบๆ ปี
แถมทะลึ่งไม่รู้ว่า อนิเมชั่นเรื่องแบบนี้ได้รับรางวัลมากมาย
ผมไปญี่ปุ่นตั้งแต่ปี พ.ศ.2528 ไปบรรยายที่มหาวิทยาลัยที่โตเกียวตั้งแต่ปี 2530 แล้วเดินทางไปเป็นระยะ ๆ นะครับ ไม่ใช่เพิ่งไปนะครับ (ไม่ได้คุยนะครับ แต่เห็นไม่รู้ครับ)
รวมเวลาที่อยู่ในญี่ปุ่นกี่วัน
ผมก็เคยไปญี่ปุ่นเหมือนกัน
กะอีแค่ไปต่างประเทศ ต้องเอามาคุย?
อยู่กี่วันกัน หรือว่านับเลขไม่เป็น
ไม่รู้ว่าหนังญี่ปุ่น รวมทั้งอนิเมชั้น
ทำออกมาหลายเรื่องแล้ว
หาเรื่องไม่เลิกเลย พับผ่าซี่ครับ 5 5 5
ขนาดไม่ได้ไปเที่ยว ไม่ได้ไปขุดทอง
ได้รับเชิญอย่างสมเกียรติไปสอน
(ไม่ได้คุย . . . มันเป็นเรื่องจริง)
ตั้งแต่คุณเป็นเด็กอ่อนอยู่มั๊ง
ยังต้องมายอกย้อนถามอีกหรือครับ
จะมีอคติเต็มพุง เต็มหัวไปถึงไหนครับผม
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:19
ผมดูซีรี่ส์เรื่อง priceless ก็แสดงภาพของโฮมเลสให้เห็นเหมือนกัน แต่ออกมาในแนวสร้างกำลังใจจนไม่สมจริงเท่าไหร่ แต่อยากจะบอกด็อกนะว่าบางทีถึงเราไม่เคยไปแต่สื่อต่างๆ ทุกวันนี้ มันทำให้คนรู้เรื่องราวได้มากกว่าการไปดูงานฉาบฉวยได้เหมือนกันนะครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:23
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 19:46
อาจารย์ผมบอกว่า ตอนได้ ดร.มา ก็คิดว่าตัวเองเก่งมากๆ แต่พอมาทำงานจริงๆ
ผู้หลักผู้ใหญ่เขาก็ไม่ค่อยเชื่อถือ พอได้ ผศ. ก็ดีขึ้นมาหน่อย ตอนนี้เป็น รศ. พูดอะไรใครๆ ก็ฟัง
ผู้ว่า กทม.คนนี้ ท่านก็มีตำแหน่งทางวิชาการเป็นถึง รศ.เชียวนะ ยังไงผมว่า ท่าน ดร.
เอาเวลาว่างๆ ไปทำ ผศ. รศ. หน่อยก็ดี อย่างผมนี้ไม่ได้จบ ดร. แต่ก็เทียบเท่ากับ ผศ.
พูดอะไร เพื่อนๆ ในที่ทำงานเขาก็ฟังบ้าง แต่ยังหูไว้หู ได้เชี่ยวชาญเมื่อไหร่ คงดีกว่านี้
ดร. เจียดเวลาบางส่วนไปทำผลงานทางวิชาการบ้างสิ ดีกว่าไปว่ายน้ำข้ามแม่น้ำเล่น
มันคงจะน่าเชื่อถือมากกว่า
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:21
ผ ไปดูฉาบฉวยที่ไหน
ผมทำงานอาสาด้านนี้โดยตรง
ไปสอน ม ในโตเกียวตั้งแต่คุณยังไม่เกิดมั๊งครับ
แค่ผมสนใจปัญหาผู้ยากไร้ คุณควรมองบวกบ้าง
อย่าให้มีแต่ความหลงครับ
แล้วมุมที่เราไม่เคยเห็นมันคือมุมไหนครับ ภาพที่คุณเอามาให้เห็นแต่ไม่มีมุมมอง ปัญหาสาเหตุ ไม่มีแม้แต่ความคิดเห็น นี่แหละที่ผมเรียกว่าฉาบฉวย
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:36
การแก้ไขปัญหาชุมชนแออัดต้องทำดังนี้ครับ
ในการแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด มีความเข้าใจผิดบางประการ ทำให้แนวทางการแก้ไขปัญหา ไม่อาจบรรลุผลได้ และกลายเป็นการกระทำที่ใช้ภาษีอากรของประชาชนไปอย่าง “ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ” ความจริงเป็นอย่างไร โปรดพิจารณาเหตุผลในแง่มุมที่ท่านอาจไม่เคยได้ยินต่อไปนี้:
1. ชุมชนแออัดโตเร็วกว่าการแก้ไข?
ข้อความข้างต้นนี้ตรงกันข้ามกับความจริงโดยสิ้นเชิง กล่าวคือ ชุมชนแออัดลดจำนวนลงอย่างน่าตกใจมาโดยตลอด ที่ผ่านมามีชุมชนแออัดเกิดใหม่บ้างแต่ก็น้อยมาก ไม่เหมือนเมื่อ 40 ปีก่อนที่ที่ดินราคาถูก เจ้าของที่ดินเลยแบ่งเป็นแปลงย่อยให้ชาวบ้านเช่าที่ปลูกบ้านจนกลายเป็นชุมชนแออัด สมัยนี้ที่ดินราคาแพงลิบลิ่ว เจ้าของที่ดินทั้งภาครัฐและภาคเอกชนส่วนใหญ่คงไม่ปล่อยปละละเลยที่ดินของตนให้ใครเช่าหรือบุกรุกได้ง่าย ๆ
รัฐบาลทักษิณที่ผ่านมา ได้รับข้อมูลเท็จว่า ชุมชนแออัดผู้มีรายได้น้อยมีมากมายมหาศาล จนเกิดโครงการ “บ้านเอื้ออาทร” และ “บ้านมั่นคง” แต่ความจริง ความต้องการที่อยู่อาศัยมีน้อยมาก สิ่งที่สร้างขึ้นกลับกลายเป็นการ “เอื้ออาทร” ต่อผู้รับเหมาและผู้ร่วมทุนโครงการมากกว่า แทนที่จะสร้างบ้านตามความต้องการจริง กลับสร้างตามความต้องการลวง หรือสร้างเกินกว่าความต้องการ ขายไม่ออก
ผมเป็นคนพบชุมชนแออัดมากที่สุดนับพันแห่งในกรุงเทพมหานครในปี 2528 และต่อมาสำรวจชุมชนแออัดในจังหวัดภูมิภาค พบว่า ชุมชนแออัดทั่วประเทศมีไม่มากนัก รวมประชากรเพียงไม่เกิน 1% ของทั้งประเทศ ระหว่างที่ผมสำรวจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งไม่อยากให้มีชุมชนแออัดในท้องที่ก็จะไม่นำเสนอข้อมูล แต่บางแห่งอยากได้งบประมาณมาพัฒนาท้องถิ่น ก็นำชุมชนเขตเมืองของตนมารวมเข้าไว้ด้วย2. คนจนจำเป็นต้องมีบ้าน?
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพยายามจะยัดเยียดให้ชาวบ้านมีบ้านเป็นของตนเอง แต่ความจริงชาวบ้านจำนวนมากโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในชุมชนแออัดยังไม่มีความพร้อม ในชุมชนแออัดเองก็ยังมีประชากรราวหนึ่งในสามเป็นผู้เช่าบ้าน ในเมื่อชาวบ้านยังไม่มีความพร้อมที่จะมีบ้าน หากเรายัดเยียดบ้านให้ เขาก็อาจไม่เห็นค่า และขายสิทธิเพื่อย้ายออกไปอยู่ที่อื่น
ยิ่งกว่านั้น ในการย้ายชาวบ้านจากชุมชนแออัด นักวางแผนพยายามจะให้ชาวบ้านไปด้วยกันทั้งที่แต่ละคนอาจมีความต้องการต่างกัน บ้างอาจอยากได้ค่าชดเชยไปหาที่อยู่ใหม่ บ้างก็อาจต้องการไปซื้อหรือเช่าบ้านที่อื่น การนำพาชาวบ้านไปร่วมกันจึงเป็นสิ่งที่พึงทบทวน3. คนจนเข้าไม่ถึงสินเชื่อของสถาบันการเงิน?
มักมีการกล่าวอ้างว่า ชาวบ้านเข้าไม่ถึงระเบียบสินเชื่อของสถาบันการเงินทั่วไป โดยนัยนี้ระเบียบการอำนวยสินเชื่อควรได้รับการผ่อนปรนเพื่อผู้มีรายได้น้อย ข้อเสนอนี้เกิดขึ้นจากสมมติฐานที่ว่าผู้มีรายได้น้อยไม่โกง เพียงแต่ไม่มีหลักประกันเพียงพอ อย่างไรก็ตามการยกเว้นเรื่องมาตรฐานหลักประกันสำหรับผู้มีรายได้น้อย อาจนำไปสู่ช่องโหว่ของการอำนวยสินเชื่อ ที่จะส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อระบบสถาบันการเงินได้
ถ้าผู้มีรายได้น้อยไม่สามารถขอสินเชื่อได้ ก็แสดงว่ายังไม่ควรขอ หาไม่อาจเกิดปัญหาแก่ทุกฝ่ายได้ ถ้าทุกคนในสังคมอ้างเช่นนี้ วินัยทางการเงินก็คงไม่ต้องมี4. คน (อยาก) จนไม่เบี้ยวหนี้หรอก?
ความจริงที่ไม่ค่อยเปิดเผยก็คือ ในโครงการแบ่งปันที่ดิน (Land Sharing) หลายแห่งที่คุยว่าประสบความสำเร็จจนทั่วโลกมาดูงานนั้น ชาวบ้านที่ได้รับสิทธิเป็นเจ้าของที่ดินในชุมชนแออัดเหล่านี้กลับไม่ยอมผ่อนชำระจนในที่สุดทางราชการต้องตัดบัญชีเป็นหนี้สูญ เร็ว ๆ นี้ชาวบ้านในชุมชนแห่งหนึ่งมีสัญญาการผ่อนชำระค่าที่ดินเพียงตารางวาละ 1 บาท ชาวบ้านส่วนมากก็ยัง “ชักดาบ” จนกลายเป็นหนี้เสียไปแทบทั้งชุมชน คนที่ยอมผ่อนตามสัญญาคงกลายเป็นคนโง่ไปในที่สุด
ชาวบ้านเบี้ยวหนี้เพราะเห็นว่าทางราชการคงยอมผ่อนปรน ก็เลยขาดวินัยทางการเงิน แต่ถ้ากู้เงินนอกระบบ ชาวบ้านคงไม่กล้าแม้แต่จะคิด เรื่องการเบี้ยวหนี้เช่นนี้แทบไม่เคยได้เปิดเผยแก่สังคมได้รับรู้5. การออมทรัพย์คือทางออก?
ที่ผ่านมา มีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ขึ้นมาเพื่อแสดงให้เห็นว่า ชาวบ้านรู้จักเก็บออม เพื่อนำเงินมาซื้อที่อยู่อาศัย ภาพเช่นนี้อาจดูน่ารัก แต่ในหลาย ๆ กรณีไม่ประสบความสำเร็จ (แต่ปิดเงียบ) กลายเป็น “ปาหี่” เงินที่ออมได้เพียงเล็กน้อย กู้ไปใช้สอยยังแทบไม่พอ แต่ที่ชาวบ้านสามารถสร้างบ้านได้ ก็เพราะหน่วยงานบางแห่ง ให้กู้เงินโดยไม่มีหลักประกันแก่ชาวบ้านโดยแทบไม่เกี่ยวกับการออมทรัพย์
ภาพแห่งความสำเร็จอันงดงามของกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ที่เป็นตัวอย่างบางแห่ง คงไม่สามารถนำมาใช้ได้กับการออมทรัพย์เพื่อนำเงินมาสร้างชุมชนแออัดใหม่6. “ร่วมกันสร้าง” คือทางออก?
เคยมีความคิดกึ่งโรแมนติกให้ชาวบ้านค่อย ๆ สร้างบ้านของตนเอง ใช้ดิน ใช้วัสดุที่พอมีภายในพื้นที่สร้างกันขึ้นมา คงคล้ายกับชาวอาฟริกันสร้างกระท่อมหรือบ้านดินเป็นของตนเอง แนวคิดนี้เผยแพร่มา 25 ปีแล้ว
ความคิดอย่างนี้ไม่มีโอกาสสำเร็จ เพราะมูลค่าของแรงงานคนไทยมีค่าสูงเกินกว่าจะมาสร้างบ้านหรือ “ถ้า” ของตนเอง การซื้อบ้านในตลาดเปิดที่มีการจัดการดีกลับถูกกว่าการสร้างเอง แต่ถ้าเป็นในอาฟริกาที่ไม่มีโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดี ผู้คนก็อาจต้องสร้างบ้านเอง7. ชาวบ้านไม่ได้ “ชุมชน” ที่ดี
การปรับปรุงชุมชนแออัดเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ชุมชนแออัดยังไงก็ดูไม่ดี คนที่มีฐานะดีขึ้นก็คงอยากย้ายออกจากชุมชนเพื่อให้ลูกหลานมีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น การมีโครงการปรับปรุงชุมชนแบบ “บ้านมั่นคง” แม้ชาวบ้านจะมีบ้านเป็นของตนเอง แต่เมื่อได้แล้วชาวบ้านก็หมดไฟที่จะดำเนินการพัฒนาต่อ ต่างคนต่างอยู่เป็นส่วนตัวเป็นสำคัญ
ปรากฏการณ์นี้อาจสร้างความผิดหวังกับนักสร้างชุมชน แต่ถือเป็นธรรมชาติ ชาวบ้านอาจร่วมกันทำอะไรบางอย่างด้วยอารมณ์ร่วมแล้วก็จบกัน แต่ความจริงก็คือ การปรับปรุงฐานะทางเศรษฐกิจ เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละคน แต่ละครัวเรือน ไม่ใช่กิจกรรมรวมหมู่8. กระจายรายได้ให้ชาวบ้าน?
ท่านทราบหรือไม่ งบประมาณเพื่อการปรับปรุงชุมชนแออัดเป็นเงินถึง 68,000 บาทต่อครอบครัว งบพัฒนาสาธารณูปโภคเป็นเงิน 25,000 – 35,000 บาทต่อครัวเรือน และงบประมาณเงินกู้สร้างบ้านใหม่แก่ชาวชุมชนแออัด เป็นเงินถึง 150,000 – 200,000 บาท นี่นับเป็นงบประมาณมหาศาลที่แม้แต่ผู้มีรายได้น้อยนอกชุมชนแออัด ก็ยังไม่มีโอกาสเข้าถึง และการนี้ผู้มีรายได้ปานกลางนอกชุมชนจึงกลายเป็นผู้ด้อยโอกาสไปโดยปริยาย
ก็เพราะการโฆษณาว่า “ชุมชนแออัดโตเร็วกว่าการแก้ไข” หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการนี้ จึงได้งบประมาณไปดำเนินการมหาศาลถึงเพียงนี้ ทำไปทำมาผู้ที่ได้ประโยชน์จะเป็นใครกัน หรือนี่ถือเป็นการกระจายรายได้ให้ประชาชนในรูปแบบใหม่ที่เอาเงินไปแบ่ง ๆ กันใช้
ประเทศไทยเจริญขึ้นมากในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา เพราะเศรษฐกิจดีขึ้น ในปี 2500 ประมาณ 43% ของครัวเรือนในกรุงเทพมหานครอยู่ในบ้านที่มีก่อสร้างต่ำกว่ามาตรฐาน ปัจจุบันนี้เหลืออยู่ไม่ถึง 5% เท่านั้น ในขณะที่ในช่วง 200 ปีแรกของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีบ้านเพียง 1 ล้านหน่วย แต่ตลอดช่วงปี 2525-2550 เรามีบ้านเกิดใหม่อีกเกือบ 3 ล้านหน่วย แทบทั้งหมดคือบ้านจัดสรร ไม่ใช่ชุมชนแออัดเราควรจะเร่งสร้างบ้านที่มีคุณภาพแทนชุมชนแออัดเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้านและสังคมโดยรวม อย่าทำให้ให้การช่วยเหลือชาวบ้านกลายเป็นการลูบหน้าปะจมูก ที่คนที่ได้ประโยชน์โดยตรงกลับเป็นคนหรือหน่วยงานที่ได้งบประมาณมหาศาลมาช่วยเหลือ ไม่ใช่ชาวบ้าน
อ้างอิง: http://www.thaiappra...y=market170.htm
8 หัวข้อที่คุณว่ามา ผมพยายามอ่าน ก็ยังไม่เห็นวิธีแก้ปัญหา
เป็นแต่เพียงปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความล้มเหลวของบ้านเอื้ออาทร
หรือคนยากจนไม่มีปัญญาเข้าถึงแหล่งเงินกู้ ฯลฯ
อ่านจนจบ คุณก็สรุปไปเป็นเรื่องของการสร้างบ้านคุณภาพไปเสีย
แล้วชาวบ้านยากไร้พวกนั้น คุณเอาพวกเขาไปไว้ตรงไหนครับ
คุณอาจบอกว่า จำนวนคนเหล่านั้น มีจำนวนไม่เกิน 1%
1% ของ 70 ล้านคน เท่ากับ 700,000 คนเลยนะครับ
เขาจะไปอยู่ตรงจุดไหนดีครับ
ปัญหาสังคมจำนวนหนึ่ง ไม่ใช่เป็นเพราะคนด้อยโอกาสเหล่านี้หรอกหรือ
คุณเดินข้ามคำถามของผมไป เหมือนกวาดขยะไว้ใต้พรม
เพื่อที่จะได้แปะคำตอบในเชิงหาเสียงให้ตัวเอง
แล้วการแก้ปัญหาล่ะครับ อยู่ตรงไหน
การเร่งสร้างบ้านคุณภาพสูง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้าน
เป็นชาวบ้านกลุ่มไหนครับ จึงจะมีสิทธิ์ยกระดับชีวิต
แล้วชาวสลัม หรือพวกเร่ร่อนล่ะครับ มีสิทธิ์ยกระดับชีวิตมั๊ยครับ
ข อ ใ ห้ โ ช ค ดี ต่ อ ค ว า ม เ ชื่ อ ค รั บ
เราอยู่ด้วยกัน ยืนข้างกัน เดินไปด้วยกัน ด้วยเพราะเรามีมุมมองและเป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน
จนกว่าจะถึงวันที่เราพบว่า เรามีจุดหมายปลายทางคนละตำแหน่งกัน
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 20:43
อ้าวเงียบไม่ตอบ แสดงว่าไม่ได้รู้ ถึงจุดต้นตอของปัญหา แล้วเอามาพล่ามไปเรื่อยนะครับ
สรุป คือ ดิสเครดิส ่ายค้านทางไหนได้ คุณโสภณ ทำทุกทางนะครับ
เยี่ยมครับ กระจอกจริงๆ ผมจะได้ เอาคุณไว้เป็นบุคคลตัวอย่างในการสั่งสอนลูกหลานว่าอย่าทำตัวเยี่ยงนี้
มันไม่มีศักดิ์ศรีเลยครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 21:39
อาจารย์ผมบอกว่า ตอนได้ ดร.มา ก็คิดว่าตัวเองเก่งมากๆ แต่พอมาทำงานจริงๆ
ผู้หลักผู้ใหญ่เขาก็ไม่ค่อยเชื่อถือ พอได้ ผศ. ก็ดีขึ้นมาหน่อย ตอนนี้เป็น รศ. พูดอะไรใครๆ ก็ฟัง
ผู้ว่า กทม.คนนี้ ท่านก็มีตำแหน่งทางวิชาการเป็นถึง รศ.เชียวนะ ยังไงผมว่า ท่าน ดร.
เอาเวลาว่างๆ ไปทำ ผศ. รศ. หน่อยก็ดี อย่างผมนี้ไม่ได้จบ ดร. แต่ก็เทียบเท่ากับ ผศ.
พูดอะไร เพื่อนๆ ในที่ทำงานเขาก็ฟังบ้าง แต่ยังหูไว้หู ได้เชี่ยวชาญเมื่อไหร่ คงดีกว่านี้
ดร. เจียดเวลาบางส่วนไปทำผลงานทางวิชาการบ้างสิ ดีกว่าไปว่ายน้ำข้ามแม่น้ำเล่น
มันคงจะน่าเชื่อถือมากกว่า
ไม่รู้ประวัติแล้วก็มาพูดส่งเดชอย่างนี้ไม่ดีนะครับ ไม่อยากบอก เดี๋ยวก็หาว่าคุยอีกนะครับ
ตอบ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 - 21:40
การแก้ไขปัญหาชุมชนแออัดต้องทำดังนี้ครับ
ในการแก้ไขปัญหาชุมชนแออัด มีความเข้าใจผิดบางประการ ทำให้แนวทางการแก้ไขปัญหา ไม่อาจบรรลุผลได้ และกลายเป็นการกระทำที่ใช้ภาษีอากรของประชาชนไปอย่าง “ตำน้ำพริกละลายแม่น้ำ” ความจริงเป็นอย่างไร โปรดพิจารณาเหตุผลในแง่มุมที่ท่านอาจไม่เคยได้ยินต่อไปนี้:
1. ชุมชนแออัดโตเร็วกว่าการแก้ไข?
ข้อความข้างต้นนี้ตรงกันข้ามกับความจริงโดยสิ้นเชิง กล่าวคือ ชุมชนแออัดลดจำนวนลงอย่างน่าตกใจมาโดยตลอด ที่ผ่านมามีชุมชนแออัดเกิดใหม่บ้างแต่ก็น้อยมาก ไม่เหมือนเมื่อ 40 ปีก่อนที่ที่ดินราคาถูก เจ้าของที่ดินเลยแบ่งเป็นแปลงย่อยให้ชาวบ้านเช่าที่ปลูกบ้านจนกลายเป็นชุมชนแออัด สมัยนี้ที่ดินราคาแพงลิบลิ่ว เจ้าของที่ดินทั้งภาครัฐและภาคเอกชนส่วนใหญ่คงไม่ปล่อยปละละเลยที่ดินของตนให้ใครเช่าหรือบุกรุกได้ง่าย ๆ
รัฐบาลทักษิณที่ผ่านมา ได้รับข้อมูลเท็จว่า ชุมชนแออัดผู้มีรายได้น้อยมีมากมายมหาศาล จนเกิดโครงการ “บ้านเอื้ออาทร” และ “บ้านมั่นคง” แต่ความจริง ความต้องการที่อยู่อาศัยมีน้อยมาก สิ่งที่สร้างขึ้นกลับกลายเป็นการ “เอื้ออาทร” ต่อผู้รับเหมาและผู้ร่วมทุนโครงการมากกว่า แทนที่จะสร้างบ้านตามความต้องการจริง กลับสร้างตามความต้องการลวง หรือสร้างเกินกว่าความต้องการ ขายไม่ออก
ผมเป็นคนพบชุมชนแออัดมากที่สุดนับพันแห่งในกรุงเทพมหานครในปี 2528 และต่อมาสำรวจชุมชนแออัดในจังหวัดภูมิภาค พบว่า ชุมชนแออัดทั่วประเทศมีไม่มากนัก รวมประชากรเพียงไม่เกิน 1% ของทั้งประเทศ ระหว่างที่ผมสำรวจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งไม่อยากให้มีชุมชนแออัดในท้องที่ก็จะไม่นำเสนอข้อมูล แต่บางแห่งอยากได้งบประมาณมาพัฒนาท้องถิ่น ก็นำชุมชนเขตเมืองของตนมารวมเข้าไว้ด้วย2. คนจนจำเป็นต้องมีบ้าน?
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพยายามจะยัดเยียดให้ชาวบ้านมีบ้านเป็นของตนเอง แต่ความจริงชาวบ้านจำนวนมากโดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในชุมชนแออัดยังไม่มีความพร้อม ในชุมชนแออัดเองก็ยังมีประชากรราวหนึ่งในสามเป็นผู้เช่าบ้าน ในเมื่อชาวบ้านยังไม่มีความพร้อมที่จะมีบ้าน หากเรายัดเยียดบ้านให้ เขาก็อาจไม่เห็นค่า และขายสิทธิเพื่อย้ายออกไปอยู่ที่อื่น
ยิ่งกว่านั้น ในการย้ายชาวบ้านจากชุมชนแออัด นักวางแผนพยายามจะให้ชาวบ้านไปด้วยกันทั้งที่แต่ละคนอาจมีความต้องการต่างกัน บ้างอาจอยากได้ค่าชดเชยไปหาที่อยู่ใหม่ บ้างก็อาจต้องการไปซื้อหรือเช่าบ้านที่อื่น การนำพาชาวบ้านไปร่วมกันจึงเป็นสิ่งที่พึงทบทวน3. คนจนเข้าไม่ถึงสินเชื่อของสถาบันการเงิน?
มักมีการกล่าวอ้างว่า ชาวบ้านเข้าไม่ถึงระเบียบสินเชื่อของสถาบันการเงินทั่วไป โดยนัยนี้ระเบียบการอำนวยสินเชื่อควรได้รับการผ่อนปรนเพื่อผู้มีรายได้น้อย ข้อเสนอนี้เกิดขึ้นจากสมมติฐานที่ว่าผู้มีรายได้น้อยไม่โกง เพียงแต่ไม่มีหลักประกันเพียงพอ อย่างไรก็ตามการยกเว้นเรื่องมาตรฐานหลักประกันสำหรับผู้มีรายได้น้อย อาจนำไปสู่ช่องโหว่ของการอำนวยสินเชื่อ ที่จะส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อระบบสถาบันการเงินได้
ถ้าผู้มีรายได้น้อยไม่สามารถขอสินเชื่อได้ ก็แสดงว่ายังไม่ควรขอ หาไม่อาจเกิดปัญหาแก่ทุกฝ่ายได้ ถ้าทุกคนในสังคมอ้างเช่นนี้ วินัยทางการเงินก็คงไม่ต้องมี4. คน (อยาก) จนไม่เบี้ยวหนี้หรอก?
ความจริงที่ไม่ค่อยเปิดเผยก็คือ ในโครงการแบ่งปันที่ดิน (Land Sharing) หลายแห่งที่คุยว่าประสบความสำเร็จจนทั่วโลกมาดูงานนั้น ชาวบ้านที่ได้รับสิทธิเป็นเจ้าของที่ดินในชุมชนแออัดเหล่านี้กลับไม่ยอมผ่อนชำระจนในที่สุดทางราชการต้องตัดบัญชีเป็นหนี้สูญ เร็ว ๆ นี้ชาวบ้านในชุมชนแห่งหนึ่งมีสัญญาการผ่อนชำระค่าที่ดินเพียงตารางวาละ 1 บาท ชาวบ้านส่วนมากก็ยัง “ชักดาบ” จนกลายเป็นหนี้เสียไปแทบทั้งชุมชน คนที่ยอมผ่อนตามสัญญาคงกลายเป็นคนโง่ไปในที่สุด
ชาวบ้านเบี้ยวหนี้เพราะเห็นว่าทางราชการคงยอมผ่อนปรน ก็เลยขาดวินัยทางการเงิน แต่ถ้ากู้เงินนอกระบบ ชาวบ้านคงไม่กล้าแม้แต่จะคิด เรื่องการเบี้ยวหนี้เช่นนี้แทบไม่เคยได้เปิดเผยแก่สังคมได้รับรู้5. การออมทรัพย์คือทางออก?
ที่ผ่านมา มีการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ขึ้นมาเพื่อแสดงให้เห็นว่า ชาวบ้านรู้จักเก็บออม เพื่อนำเงินมาซื้อที่อยู่อาศัย ภาพเช่นนี้อาจดูน่ารัก แต่ในหลาย ๆ กรณีไม่ประสบความสำเร็จ (แต่ปิดเงียบ) กลายเป็น “ปาหี่” เงินที่ออมได้เพียงเล็กน้อย กู้ไปใช้สอยยังแทบไม่พอ แต่ที่ชาวบ้านสามารถสร้างบ้านได้ ก็เพราะหน่วยงานบางแห่ง ให้กู้เงินโดยไม่มีหลักประกันแก่ชาวบ้านโดยแทบไม่เกี่ยวกับการออมทรัพย์
ภาพแห่งความสำเร็จอันงดงามของกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ที่เป็นตัวอย่างบางแห่ง คงไม่สามารถนำมาใช้ได้กับการออมทรัพย์เพื่อนำเงินมาสร้างชุมชนแออัดใหม่6. “ร่วมกันสร้าง” คือทางออก?
เคยมีความคิดกึ่งโรแมนติกให้ชาวบ้านค่อย ๆ สร้างบ้านของตนเอง ใช้ดิน ใช้วัสดุที่พอมีภายในพื้นที่สร้างกันขึ้นมา คงคล้ายกับชาวอาฟริกันสร้างกระท่อมหรือบ้านดินเป็นของตนเอง แนวคิดนี้เผยแพร่มา 25 ปีแล้ว
ความคิดอย่างนี้ไม่มีโอกาสสำเร็จ เพราะมูลค่าของแรงงานคนไทยมีค่าสูงเกินกว่าจะมาสร้างบ้านหรือ “ถ้า” ของตนเอง การซื้อบ้านในตลาดเปิดที่มีการจัดการดีกลับถูกกว่าการสร้างเอง แต่ถ้าเป็นในอาฟริกาที่ไม่มีโอกาสทางเศรษฐกิจที่ดี ผู้คนก็อาจต้องสร้างบ้านเอง7. ชาวบ้านไม่ได้ “ชุมชน” ที่ดี
การปรับปรุงชุมชนแออัดเป็นการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ชุมชนแออัดยังไงก็ดูไม่ดี คนที่มีฐานะดีขึ้นก็คงอยากย้ายออกจากชุมชนเพื่อให้ลูกหลานมีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น การมีโครงการปรับปรุงชุมชนแบบ “บ้านมั่นคง” แม้ชาวบ้านจะมีบ้านเป็นของตนเอง แต่เมื่อได้แล้วชาวบ้านก็หมดไฟที่จะดำเนินการพัฒนาต่อ ต่างคนต่างอยู่เป็นส่วนตัวเป็นสำคัญ
ปรากฏการณ์นี้อาจสร้างความผิดหวังกับนักสร้างชุมชน แต่ถือเป็นธรรมชาติ ชาวบ้านอาจร่วมกันทำอะไรบางอย่างด้วยอารมณ์ร่วมแล้วก็จบกัน แต่ความจริงก็คือ การปรับปรุงฐานะทางเศรษฐกิจ เป็นเรื่องส่วนตัวของแต่ละคน แต่ละครัวเรือน ไม่ใช่กิจกรรมรวมหมู่8. กระจายรายได้ให้ชาวบ้าน?
ท่านทราบหรือไม่ งบประมาณเพื่อการปรับปรุงชุมชนแออัดเป็นเงินถึง 68,000 บาทต่อครอบครัว งบพัฒนาสาธารณูปโภคเป็นเงิน 25,000 – 35,000 บาทต่อครัวเรือน และงบประมาณเงินกู้สร้างบ้านใหม่แก่ชาวชุมชนแออัด เป็นเงินถึง 150,000 – 200,000 บาท นี่นับเป็นงบประมาณมหาศาลที่แม้แต่ผู้มีรายได้น้อยนอกชุมชนแออัด ก็ยังไม่มีโอกาสเข้าถึง และการนี้ผู้มีรายได้ปานกลางนอกชุมชนจึงกลายเป็นผู้ด้อยโอกาสไปโดยปริยาย
ก็เพราะการโฆษณาว่า “ชุมชนแออัดโตเร็วกว่าการแก้ไข” หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดการนี้ จึงได้งบประมาณไปดำเนินการมหาศาลถึงเพียงนี้ ทำไปทำมาผู้ที่ได้ประโยชน์จะเป็นใครกัน หรือนี่ถือเป็นการกระจายรายได้ให้ประชาชนในรูปแบบใหม่ที่เอาเงินไปแบ่ง ๆ กันใช้
ประเทศไทยเจริญขึ้นมากในรอบ 50 ปีที่ผ่านมา เพราะเศรษฐกิจดีขึ้น ในปี 2500 ประมาณ 43% ของครัวเรือนในกรุงเทพมหานครอยู่ในบ้านที่มีก่อสร้างต่ำกว่ามาตรฐาน ปัจจุบันนี้เหลืออยู่ไม่ถึง 5% เท่านั้น ในขณะที่ในช่วง 200 ปีแรกของกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีบ้านเพียง 1 ล้านหน่วย แต่ตลอดช่วงปี 2525-2550 เรามีบ้านเกิดใหม่อีกเกือบ 3 ล้านหน่วย แทบทั้งหมดคือบ้านจัดสรร ไม่ใช่ชุมชนแออัดเราควรจะเร่งสร้างบ้านที่มีคุณภาพแทนชุมชนแออัดเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้านและสังคมโดยรวม อย่าทำให้ให้การช่วยเหลือชาวบ้านกลายเป็นการลูบหน้าปะจมูก ที่คนที่ได้ประโยชน์โดยตรงกลับเป็นคนหรือหน่วยงานที่ได้งบประมาณมหาศาลมาช่วยเหลือ ไม่ใช่ชาวบ้าน
อ้างอิง: http://www.thaiappra...y=market170.htm
8 หัวข้อที่คุณว่ามา ผมพยายามอ่าน ก็ยังไม่เห็นวิธีแก้ปัญหา
เป็นแต่เพียงปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความล้มเหลวของบ้านเอื้ออาทร
หรือคนยากจนไม่มีปัญญาเข้าถึงแหล่งเงินกู้ ฯลฯ
อ่านจนจบ คุณก็สรุปไปเป็นเรื่องของการสร้างบ้านคุณภาพไปเสีย
แล้วชาวบ้านยากไร้พวกนั้น คุณเอาพวกเขาไปไว้ตรงไหนครับ
คุณอาจบอกว่า จำนวนคนเหล่านั้น มีจำนวนไม่เกิน 1%
1% ของ 70 ล้านคน เท่ากับ 700,000 คนเลยนะครับ
เขาจะไปอยู่ตรงจุดไหนดีครับ
ปัญหาสังคมจำนวนหนึ่ง ไม่ใช่เป็นเพราะคนด้อยโอกาสเหล่านี้หรอกหรือ
คุณเดินข้ามคำถามของผมไป เหมือนกวาดขยะไว้ใต้พรม
เพื่อที่จะได้แปะคำตอบในเชิงหาเสียงให้ตัวเอง
แล้วการแก้ปัญหาล่ะครับ อยู่ตรงไหน
การเร่งสร้างบ้านคุณภาพสูง เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบ้าน
เป็นชาวบ้านกลุ่มไหนครับ จึงจะมีสิทธิ์ยกระดับชีวิต
แล้วชาวสลัม หรือพวกเร่ร่อนล่ะครับ มีสิทธิ์ยกระดับชีวิตมั๊ยครับ
ค่อย ๆ อ่านนะครับ
สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน