Jump to content


Photo
- - - - -

ปชป ต้องประกาศ หากกลับมาเป็นรัฐบาล จะทำ รถไฟความเร็วสูง โดย..ยกเลิกเงินกู้


  • Please log in to reply
61 ความเห็นในกระทู้นี้

#51 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 13:54

 

 

 

 

เกี่ยวตรงที่ พ.ท.กู้เป็นพ.ร.บ.  แตเงินกู้อยู่นอกงบประมาณแบบ พ.ร.ก. ซึ่งเงินจะไปอยู่ที่สำนักงานบริหารหนี้ แทนที่จะไปที่ธปท.ตามงบประมาณปรกติ

ไม่เป็นไปตามงบปกติ  มันก็ไม่ใช่เงินแผ่นดินตาม  169  ก็ถูกต้องอยู่แล้ว

 

 

ที่พ.ท.ไม่กู้เป็นพ.ร.ก.เพราะไม่มีเหตุอันควรที่จะกู้โดยเร่งด่วน แต่แทนที่จะไปกู้ในงบประมาณ เพื่อให้เงินอยู่ในคลัง (ธปท.) กลับเอาเงินมาอยู่นอกคลัง การเบิกจ่ายจึงไม่ต้องใช้กฏหมายสี่ฉบับ แม้แต่ มาตรา 169

 

 

 

การจ่ายเงินแผ่นดินจึงจะกระทำได้แต่เฉพาะตามกฎหมาย 4 ฉบับเท่านั้น คือ กฎหมายงบประมาณรายจ่ายประจำปี, กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ, กฎหมายเกี่ยวกับการโอนงบประมาณ และกฎหมายเงินคงคลัง เพราะกฎหมายทั้งสี่มีกฎเกณฑ์ควบคุมการใช้จ่ายเงินที่เข้มงวดมีการตรวจสอบทั้งโดยระบบราชการประจำและระบบการเมือง

 

ไม่เข้าใจที่ว่า เงินกู้ 2.2 ล้านล้าน ไม่ใช่เงินของแผ่นดิน

เขาพยายามจะบอกว่า เงินไม่ได้ดูแลรักษาโดยปธท. แต่ดูแลโดยสำนักบริหารหนี้สาธารณะ จึงไม่ได้เป็นเงินของแผ่นดิน :lol:  :lol:  :lol:  :lol:  :lol: 

 

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ

http://th.wikipedia....ิหารหนี้สาธารณะ

 

สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงการคลัง มีหน้าที่ในการบริหารหนี้สาธารณะ ตามกฎหมายว่าด้วยการบริหารหนี้สาธารณะโดยการวางแผน กำกับ และดำเนินการก่อหนี้ค้ำประกัน และปรับโครงสร้างหนี้ของรัฐบาล หน่วยงานในกำกับดูแลของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ซึ่งรวมทั้งการชำระหนี้ ของรัฐบาล และการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อให้การบริหารหนี้สาธารณะเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเสริมสร้างความยั่งยืนทางการคลังและการพัฒนาเศรษฐกิจ มีสำนักงานตั้งอยู่ที่ ถนนพระราม 6 แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400

 

การจัดตั้งสำนักบริหารหนี้สาธารณะ ได้มีการเสนอแนวความคิดต่อคณะรัฐมนตรี และมีมติให้จัดตั้งเมื่อวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2542 เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง มีภารกิจในการกำหนดนโยบายและวางแผนการก่อหนี้ในภาพรวม การพัฒนาตลาดตราสารหนี้ของประเทศ การบริหารความเสี่ยง การบริหารเงินสด และ การจัดทำระบบฐานข้อมูลหนี้ของประเทศ โดยให้โอนอัตรากำลังและงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของกองนโยบายเงินกู้ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง และงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของกลุ่มวิเคราะห์หนี้สาธารณะและเงินคงคลัง และส่วนหนี้สาธารณะและเงินคงคลัง ยกเว้นสายบริหารเงินคงคลัง สำนักการเงินการคลัง กรมบัญชีกลาง มาไว้ที่สำนักบริหารหนี้สาธารณะ

ต่อมาได้มีการยกฐานะขึ้นเป็นส่วนราชการระดับกรม ในสังกัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 [2]

 

หน่วยงานในสังกัด[แก้]

  • สำนักจัดการหนี้ 1
  • สำนักจัดการหนี้ 2
  • สำนักบริหารการระดมทุนโครงการลงทุนภาครัฐ
  • สำนักบริหารการระดมทุนระบบบริหารจัดการน้ำ
  • สำนักนโยบายและแผน
  • สำนักพัฒนาตลาดตราสารหนี้
  • สำนักบริหารการชำระหนี้
  • สำนักงานเลขานุการกรม
  • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
  • กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
  • กลุ่มตรวจสอบภายใน
  •  กลุ่มกฎหมาย

 

การกู้เงินในงบประมาณ และ การกู้เงินนอกงบฯ แตกต่างกันอีกประการหนึ่งคือ เงินกู้ในงบฯดูแลรักษาโดยธปท. แต่เงินกู้นอกงบประมาณดูแลโดยสำนักบริหารหนี้สาธารณะ  การกำกับดูแลจึงแตกต่างกัน การกู้เงินนอกงบฯ มีการใช้จ่ายเงินได้โดยไม่ผ่านธปท. และกฏหมายควบคุมทั้งสี่ฉบับ การอนุมัติให้ใช้จ่ายเงินก็ต่างกัน

 

 

“เงินกู้ไม่ใช่เงินแผ่นดิน...”
       
        ประโยคนี้คนของรัฐบาลพูดกันเป็นนกแก้วนกขุนทองตลอดสัปดาห์ที่แล้ว เพื่อยืนยันว่าร่างพ.ร.บ.ให้กระทรวงการคลังกู้เงิน 2 ล้านล้านบาทที่กำลังพิจารณาอยู่ในชั้นกรรมาธิการสภาผู้แทนราษฎรขณะนี้คาดว่าจะเข้าสู่วาระการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรในวาระ 2 และ 3 ในช่วงเดือนสิงหาคม 2556 เมื่อเปิดสมัยประชุมรัฐสภาสมัยสามัญทั่วไป เพื่อยืนยันว่าร่างกฎหมายฉบับนี้ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
       
        เป็นการพูดเพื่อตอบโต้ความเห็นของคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) ชุดอาจารย์คณิต ณ นคร ที่เสนอมายังสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาว่าร่างกฎหมายกู้เงินมหาศาลนี้ขัดรัฐธรรมนูญหลายมาตรา โดยมาตราสำคัญที่พูดกันมาโดยตลอดคือมาตรา 169 ผมเองก็พูดเรื่องนี้มาตั้งแต่เดือนมีนาคม 2556 แล้ว
       
        ขอยกมาตรา 169 วรรคหนึ่งมาให้อ่านกัน
       
        “การจ่ายเงินแผ่นดินจะกระทำได้ก็เฉพาะที่ได้อนุญาตไว้ในกฎหมายว่าด้วยงบประมาณรายจ่าย กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ กฎหมายเกี่ยวด้วยการโอนงบประมาณ หรือกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลัง เว้นแต่ในกรณีจำเป็นเร่งด่วนรัฐบาลจะจ่ายไปก่อนก็ได้ แต่ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ในกรณีเช่นว่านี้ต้องตั้งงบประมาณรายจ่ายเพื่อชดใช้เงินคงคลังในพระราชบัญญัติโอนเงินงบประมาณรายจ่าย พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณถัดไป ทั้งนี้ ให้กำหนดแหล่งที่มาของรายได้เพื่อชดใช้รายจ่ายที่ได้ใช้เงินคงคลังจ่ายไปก่อนแล้วด้วย”
       
       ระบอบประชาธิปไตยคือการควบคุมตรวจสอบอำนาจรัฐ
       
       สำคัญสุดคือการใช้เงิน
       
       การจ่ายเงินแผ่นดินจึงจะกระทำได้แต่เฉพาะตามกฎหมาย 4 ฉบับเท่านั้น คือ กฎหมายงบประมาณรายจ่ายประจำปี, กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ, กฎหมายเกี่ยวกับการโอนงบประมาณ และกฎหมายเงินคงคลัง เพราะกฎหมายทั้งสี่มีกฎเกณฑ์ควบคุมการใช้จ่ายเงินที่เข้มงวดมีการตรวจสอบทั้งโดยระบบราชการประจำและระบบการเมือง
       
       ไม่ใช่การออกกฎหมายพิเศษกู้เงินมาทำโครงการเฉพาะที่เริ่มมาจากโครงการไทยเข้มแข็งยุครัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์ปี 2552
       
       มาตรา 169 มี keyword สำคัญคือคำว่า...
       
        “เงินแผ่นดิน”
       
       วิธีการแบบศรีธนญชัยง่าย ๆ ที่จะบอกว่าการออกกฎหมายพิเศษกู้เงินมาใช้มาทำเฉพาะโครงการสามารถทำได้โดยไม่ขัดรัฐธรรมนูญมาตรา 169 ก็คือการพูดประโยคที่ผมนำมาเป็นหัวเรื่องวันนี้แหละ
       
        “เงินกู้ไม่ใช่เงินแผ่นดิน”
       
       เป็นการนำความเห็นจากคณะกฤษฎีกาคณะ 12 มาพูดต่อ โดยเมื่อปี 2552 หลังจากรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์อกพระราชกำหนดไทยเข้มแข็งแล้วเกิดเกรงขึ้นมาว่าการใช้เงินจะขัดรัฐธรรมนูญหรือไม่ ก็เลยถามไปที่คณะกรรม การกฤษฎีกา คณะกรรมการกฤษฎีกาตอบมาในเอกสารเรื่องเสร็จที่ 888/2552 ธันวาคม 2552 ว่าไม่ขัดรัฐธรรมนูญมาตรา 169 เพราะเงินกู้ไม่ใช่เงินแผ่นดิน เพราะไม่มีกฎหมายใดเขียนไว้
       
       เป็นการตอบแบบอวยรัฐบาลในขณะนั้นอย่างไม่น่าเชื่อว่าจะเป็นความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิและครูบาอาจารย์ด้านการเงินการคลังของประเทศที่อยู่ในคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะ 12
       
       แต่เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาในขณะนั้นก็คงอายอยู่ จึงมีความในย่อหน้าสุดท้ายทำนองว่านี่เป็นเพียงการตอบข้อหารือที่ทำให้รัฐบาลทำงานได้ ซึ่งก็คือสามารถใช้เงินกู้ในโครงการไทยเข้มแข็งได้ แต่ไม่ใช่การวินิจฉัยชี้ขาด เพราะไม่ใช่อำนาจหน้าที่
       
       การวินิจฉัยชี้ขาดเป็นอำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญโดยตรง
       
       เงินกู้จะถือเป็นเงินแผ่นดินตามความในรัฐธรรมนูญมาตรา 169 หรือไม่มีมุมมองทางกฎหมายต่างกันได้ครับ เรื่องนี้ยังไม่เคยผ่านการชี้ขาดจากศาลรัฐธรรมนูญที่ถือเป็นที่สุด ผูกพันทุกองค์กร แม้แต่เงินกู้ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็งยุครัฐบาลประชาธิปัตย์ที่เป็นต้นแบบให้รัฐบาลนี้ลอกมาใช้ในโครงการ 3.5 แสนล้านบาทและ 2 ล้านล้านบาท ศาลรัฐธรรมนูญก็ไม่เคยชี้ในประเด็นนี้ ที่เคยชี้ว่าพระราชกำหนดถูกต้องตามรัฐธรรมนูญก็เป็นเพียงประเด็นทั่วไปตามมาตรา 184 เท่านั้น ที่รัฐบาลเอามาพูด ๆ กันวันนี้ว่าเงินกู้ไม่ใช่เงินแผ่นดินดังนั้นจึงออกกฎหมายพิเศษได้ไม่ต้องทำตามรัฐธรรมนูญมาตรา 169 ก็เป็นเพียงการจำขี้ปากคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะ 12 มาพูดซ้ำเท่านั้น ทั้ง ๆ ที่ในขี้ปากหน่วยงานที่มีหน้าที่รับใช้รัฐบาลหน่วยงานนี้ครั้งนั้นเขาก็มีหมายเหตุไว้ในย่อหน้าสุดท้ายว่าไม่ใช่การชี้ขาด เพราะนั่นเป็นอำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ
       
       เสียดายที่รัฐบาลประชาธิปัตย์ยุคนั้นพอกฤษฎีกาคณะ 12 ให้ความเห็นเข้าทางตนก็ใช้เงินเลย ไม่พยายามนำเรื่องไปสู่ศาลรัฐธรรมนูญก่อน
       
       เรื่องนี้ผมพูดมาหลายเดือนทั้งต่อสาธารณะและต่อเพื่อนส.ว.ขอจองกฐินแล้วว่าจะยกร่างสำนวนและขอความร่วมมือพี่น้องส.ว.ร่วมลงชื่อให้ครบ 65 คนเพื่อยื่นคำร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยแน่ แต่ต้องเป็นขั้นตอนหลังรัฐสภาผ่านร่างกฎหมายนี้หมดแล้ว
       
       ซึ่งก็ไม่เร็วไปกว่าเดือนตุลาคม 2556 แน่นอน
       
       ทำงานอยู่ตลอด ยื่นแน่ เปิดสภาสิงหาคม 2556 นี้ก็จะเริ่มขอแรงพี่น้องส.ว.ร่วมทยอยลงชื่อให้ครบ 65 คนตามเงื่อนไข แต่ตัวคำร้องคงต้องรอปรับแก้หลังร่างกฎหมายผ่านวาระ 3 วุฒิสภาก่อน
       
       ตอนนี้ก็กำลังนำคำวินิจฉัยศาลปกครองกลาง 27 มิถุนายน 2556 กรณีโครงการเงินกู้ 3.5 แสนล้านบาทมาเทียบเคียงว่าควรจะเพิ่มประเด็นมาตรา 57 กับ 67 เข้าไปด้วยเลยดีไหม ซึ่งก็ต้องรอเห็นตัวร่างกฎหมายสุดท้ายก่อนอยู่ดี
       
       แต่วันนี้จะลองคิดดัง ๆ ง่าย ๆ ให้อ่านกันทิ้งท้ายนะ...
       
       ตามหลักพื้นฐานการทำงบดุล หรืองบแสดงฐานะการเงินของกิจการ หรือภาษาอังกฤษว่า 'Balance Sheet ที่มีอยู่ 2 หน้าหรือ 2 ฝั่งคือทรัพย์สินกับหนี้สินนั้น ชื่อก็บอกนะว่ามันต้อง balance คือต้องลงรายละเอียดทั้ง 2 ฝั่ง สมมติว่าประเทศหรือแผ่นดินเป็นกิจการ ในกรณีเงินกู้ เวลากู้ได้มาหรือเบิกมาใช้ก็ต้องลงงบดุลทั้งฝั่งทรัพย์สิน และฝั่งหนี้สิน เพราะเวลาใช้คืนเงินต้นหรือดอกเบี้ยก็เอาจากเงินของประเทศหรือของแผ่นดิน แล้วก็นับรวมในเพดานตามกฎหมายการบริหารหนี้สาธารณะ
       
       วันนี้รัฐบาลจะมาแกล้งโง่ตามคณะกรรมการกฤษฎีกาคณะ 12 ทำไมว่าไม่ใช่เงินแผ่นดิน เพราะเท่ากับบอกว่าไม่ต้องลงบัญชีในฝั่งทรัพย์สินงั้นซิ มันจะเป็นไปได้ยังไง
       
       การลงบัญชีแต่ฝั่งหนี้สินไม่ลงฝั่งทรัพย์สิน ภาษาบัญชีเขาว่าอะไรรู้มั้ย
       
        “ไซฟ่อนเงิน”
       
       เรื่องนี้ผมเคยบอกคนสำคัญในรัฐบาลประชาธิปัตย์ช่วงปี 2552 แล้วว่าท่านกำลังสร้างมาตรฐานใหม่ในการใช้เงินที่ไม่ถูกต้องไว้เป็นตัวอย่างให้รัฐบาลต่อไป แล้วก็จริง รัฐบาลนี้แทบจะลอกพระราชกำหนดไทยเข้มแข็งมาเป็นพระราชกำหนด 3.5 แสนล้านและร่างพระราชบัญญัติ 2 ล้านล้าน
       
       เรื่องนี้ไปจบที่ศาลรัฐธรรมนูญแน่นอน ! 


ที่มา : เงินกู้ ไม่ใช่เงินแผ่นดิน

 

 

"ไม่ใช่เงินแผ่นดิน แล้วเงินพ่อเงินแม่เมิ่งเหรอ" นาทีที่ 9:12

 

บ้านเมืองเราอยู่ด้วยกฎหมาย  ไม่ใช่จริตหรือความรู้สึก

ถึงแม้ความรู้สึกเราจะคิดว่าเป็นเงินแผ่นดิน แต่ถ้าตามกฎหมายไม่ใช่มันก็คือไม่ใช่

ไอ่คำพูดข้างล่างไม่น่าเชื่อว่าเป็นคำพูดของผู้พิพากษา   แล้วอย่างนี้ศาลบางศาลจะเชื่อถือได้อย่างไร

 

"ไม่ใช่เงินแผ่นดิน แล้วเงินพ่อเงินแม่เมิ่งเหรอ" 

 

 

จนป่านนี้แล้วยังไม่รู้หรือ ว่าเงินกู้ครั้งนี้ใครเป็นคนดูแล โพสต์ซ้ำ ไม่รู้กี่ทีแล้ว ยังไม่ยอมอ่าน เงินไม่ได้ดูแลโดยธปท. แต่ดูแลโดยสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ  ซึ่งเป็นกรณีเร่งด่วน แต่นี่ไม่เร่งด่วน แต่กลับไปใช่กฏหมายที่เป็นกรณีเร่งด่วน มันไม่ผิด หรือ เหมือนเอาเงินสด พันล้านมาไว้ลิ้นชัก (สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ) แทนที่จะเอาไปฝากแบงค์ (ธนาคารแห่งประเทศไทย) ใครเห็นก็คว้าเอาไป จับมือใครดมไม่ได้ คนไม่เคยค้าขายก็พูดยากนะ เหมือนคนไม่เคยซื้อที่ดินด้วยเงินสด :lol:  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:

 

ปชป.เสนอทางออกให้พรบ.เงินกู้ 2 ล้านล้านไม่ขัดรัฐธรรมนูญแต่ถูกเมินเฉยจากรัฐบาล

นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี ส.ส.กทม. พรรคประชาธิปัตย์ได้เสนอทางออกดังกล่าวในชั้นการพิจารณาของกรรมาธิการพิจารณาร่างกฎหมาย และเสนออีกครั้งในการประชุมวาระ2ในสภาผู้แทนราษฎรเมื่อ 20 ก.ย. 2556 ที่ผ่านมาแต่ถูกรัฐบาลปฏิเสธไมตรีนี้มาตลอด


ประเด็นการขัดรัฐธรรมนูญมาตรา169 ที่นักวิชาการหลายคนให้ความเห็นไว้คือ เงินกู้ดังกล่าวเข้าข่ายเป็น “เงินแผ่นดิน” ซึ่งตามรัฐธรรมนูญแล้วจะจ่ายเงินแผ่นดินได้ด้วยกฎหมาย 4ฉบับเท่านั้นคือ กฎหมายงบประมาณ กฎหมายวิธีการงบประมาณ กฎหมายโอนงบประมาณ และกฎหมายเงินคงคลัง ดังนั้นการที่รัฐบาลออกกฎหมายเป็นพระราชบัญญัติกู้เงินโดยมีทั้ง2ขา คือขากู้และขาจ่ายเงินด้วยในฉบับเดียวกันจึงเกิดปัญหา ซึ่ง “ขากู้” ไม่มีปัญหาแต่ปัญหาขัดรัฐธรรมนูญมาตรา169 อยู่ที่ “ขาจ่าย” เพราะพระราชบัญญัติกู้เงิน ไม่ใช่กฎหมาย4ฉบับที่จะจ่ายเงินแผ่นดินได้

ข้อเสนอของปชป. คือ “ขากู้” ก็ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติกู้เงิน2ล้านล้านได้ แต่ “เงินกู้ต้องนำส่งคลัง” โดย “ขาจ่าย” ให้ใช้พระราชบัญญัติงบประมาณประจำปีปกติเบิกจ่าย เพียงแค่นี้ก็จะไม่ขัดรัฐธรรมนูญ ข้อดีคือแผนการลงทุนไม่ต้องเสี่ยงขัดกฎหมาย การจัดซื้อจัดจ้างจะเป็นไปตามวิธีปกติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีซึ่งง่ายต่อการตรวจสอบ โปร่งใส และนักลงทุนมีความเชื่อมั่นเพราะรัฐบาลมีเงินกู้ในคลังพร้อมทำโครงการและพร้อมจ่ายจริงตามงวดงานเมื่อมีการออกพระราชบัญญัติงบประมาณประจำปีตามปกติ
แต่เนื่องจากรัฐบาลปฏิเสธแนวทางข้างต้น ก็จะทำให้เกิดจุดเสี่ยงในการตีความจากศาลรัฐธรรมนูญว่าเงินกู้เป็นเงินแผ่นดินหรือไม่ โดยคำว่า “เงินแผ่นดิน” ไม่ได้มีนิยามชัดแจ้งในกฎหมายใดเป็นการเฉพาะการที่รัฐบาลกำหนดในร่างพรบ.ว่า เงินกู้ไม่ต้องนำส่งคลังนั้นยังไม่พอจะสรุปได้ว่า เงินกู้ไม่ใช่เงินแผ่นดิน อีกทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเคยให้พระบรมราโชวาทแก่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อ 25 ส.ค. 2542 โดยมีความตอนหนึ่งว่า “เงินแผ่นดินนั้นคือเงินของประชาชนทั้งชาติ” 
 
ประการต่อมาเงินกู้ครั้งนี้บางส่วนจะกลายเป็นโครงการเล็กๆเป็นเส้นเลือดฝอยแทนที่จะเป็นโครงการใหญ่สำคัญๆ ตามที่รัฐบาลอ้างเพราะรายการในบัญชีแนบท้ายที่มีผลบังคับตามกฎหมายนั้นระบุยอดเงินรวมๆเป็นก้อนใหญ่ตาม “แผน” แต่ไม่ได้ระบุย่อยเป็นชื่อและจำนวนเงินตาม “โครงการ” การที่สภาผ่านกฎหมายเงินกู้ฉบับนี้ก็เหมือนให้ “เช็คเปล่า”
 
 รัฐบาลไปนั่นเองเพราะสามารถเปลี่ยนแปลงโครงการได้ และสุดท้ายเมื่อรัฐบาลกล้าเสี่ยงขัดกฎหมายจะส่งผลให้ประมาณการทางเศรษฐกิจจากหลายสำนักคลาดเคลื่อนเพราะ “รายจ่ายภาครัฐ” ที่เป็นความหวังเดียวที่จะทำให้ตัวเลขการเจริญเติบโตเป็นไปตามเป้านั้นไม่สามารถเบิกจ่ายทันในปลายปีนี้แน่นอน

 

 


Edited by Stargate-1, 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 18:02.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#52 เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,247 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:06

ดอนยออย่าเพิ่งไปไหนนะคะ  ให้พี่เขาตบอีกหน่อยเผื่อจะฉลาดขึ้น :D  :lol:


ทักษิณเป็นเทพเจ้าจริงๆนะ ไม่เชื่อถาม เสื้อแดง ดูสิ

#53 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:09

 

 

 

ปชป.เสนอทางออกให้พรบ.เงินกู้ 2 ล้านล้านไม่ขัดรัฐธรรมนูญแต่ถูกเมินเฉยจากรัฐบาล

นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี ส.ส.กทม. พรรคประชาธิปัตย์ได้เสนอทางออกดังกล่าวในชั้นการพิจารณาของกรรมาธิการพิจารณาร่างกฎหมาย และเสนออีกครั้งในการประชุมวาระ2ในสภาผู้แทนราษฎรเมื่อ 20 ก.ย. 2556 ที่ผ่านมาแต่ถูกรัฐบาลปฏิเสธไมตรีนี้มาตลอด


ประเด็นการขัดรัฐธรรมนูญมาตรา169 ที่นักวิชาการหลายคนให้ความเห็นไว้คือ เงินกู้ดังกล่าวเข้าข่ายเป็น “เงินแผ่นดิน” ซึ่งตามรัฐธรรมนูญแล้วจะจ่ายเงินแผ่นดินได้ด้วยกฎหมาย 4ฉบับเท่านั้นคือ กฎหมายงบประมาณ กฎหมายวิธีการงบประมาณ กฎหมายโอนงบประมาณ และกฎหมายเงินคงคลัง ดังนั้นการที่รัฐบาลออกกฎหมายเป็นพระราชบัญญัติกู้เงินโดยมีทั้ง2ขา คือขากู้และขาจ่ายเงินด้วยในฉบับเดียวกันจึงเกิดปัญหา ซึ่ง “ขากู้” ไม่มีปัญหาแต่ปัญหาขัดรัฐธรรมนูญมาตรา169 อยู่ที่ “ขาจ่าย” เพราะพระราชบัญญัติกู้เงิน ไม่ใช่กฎหมาย4ฉบับที่จะจ่ายเงินแผ่นดินได้

ข้อเสนอของปชป. คือ “ขากู้” ก็ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติกู้เงิน2ล้านล้านได้ แต่ “เงินกู้ต้องนำส่งคลัง” โดย “ขาจ่าย” ให้ใช้พระราชบัญญัติงบประมาณประจำปีปกติเบิกจ่าย เพียงแค่นี้ก็จะไม่ขัดรัฐธรรมนูญ ข้อดีคือแผนการลงทุนไม่ต้องเสี่ยงขัดกฎหมาย การจัดซื้อจัดจ้างจะเป็นไปตามวิธีปกติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีซึ่งง่ายต่อการตรวจสอบ โปร่งใส และนักลงทุนมีความเชื่อมั่นเพราะรัฐบาลมีเงินกู้ในคลังพร้อมทำโครงการและพร้อมจ่ายจริงตามงวดงานเมื่อมีการออกพระราชบัญญัติงบประมาณประจำปีตามปกติ
แต่เนื่องจากรัฐบาลปฏิเสธแนวทางข้างต้น ก็จะทำให้เกิดจุดเสี่ยงในการตีความจากศาลรัฐธรรมนูญว่าเงินกู้เป็นเงินแผ่นดินหรือไม่ โดยคำว่า “เงินแผ่นดิน” ไม่ได้มีนิยามชัดแจ้งในกฎหมายใดเป็นการเฉพาะการที่รัฐบาลกำหนดในร่างพรบ.ว่า เงินกู้ไม่ต้องนำส่งคลังนั้นยังไม่พอจะสรุปได้ว่า เงินกู้ไม่ใช่เงินแผ่นดิน อีกทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเคยให้พระบรมราโชวาทแก่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อ 25 ส.ค. 2542 โดยมีความตอนหนึ่งว่า “เงินแผ่นดินนั้นคือเงินของประชาชนทั้งชาติ” 
 
ประการต่อมาเงินกู้ครั้งนี้บางส่วนจะกลายเป็นโครงการเล็กๆเป็นเส้นเลือดฝอยแทนที่จะเป็นโครงการใหญ่สำคัญๆ ตามที่รัฐบาลอ้างเพราะรายการในบัญชีแนบท้ายที่มีผลบังคับตามกฎหมายนั้นระบุยอดเงินรวมๆเป็นก้อนใหญ่ตาม “แผน” แต่ไม่ได้ระบุย่อยเป็นชื่อและจำนวนเงินตาม “โครงการ” การที่สภาผ่านกฎหมายเงินกู้ฉบับนี้ก็เหมือนให้ “เช็คเปล่า”
 
 รัฐบาลไปนั่นเองเพราะสามารถเปลี่ยนแปลงโครงการได้ และสุดท้ายเมื่อรัฐบาลกล้าเสี่ยงขัดกฎหมายจะส่งผลให้ประมาณการทางเศรษฐกิจจากหลายสำนักคลาดเคลื่อนเพราะ “รายจ่ายภาครัฐ” ที่เป็นความหวังเดียวที่จะทำให้ตัวเลขการเจริญเติบโตเป็นไปตามเป้านั้นไม่สามารถเบิกจ่ายทันในปลายปีนี้แน่นอน

   

 

ปชป.รู้ได้อย่างไรว่า  2  ล้านล้าน  ขัดรัฐธรรมนูญ  ถึงกล้าเสนอทางออก  ปชป.ไม่มีสิทธิ์วินิจฉัย

แล้วตาเกตก็ไม่ต้องตัดแปะมาก  ลองกลั่นออกมาจากความคิดตัวเองซิ   จะได้คุยกันรู้เรื่อง


Edited by ดอนยอ, 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:09.

จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#54 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:10

ดอนยออย่าเพิ่งไปไหนนะคะ  ให้พี่เขาตบอีกหน่อยเผื่อจะฉลาดขึ้น :D  :lol:

เป็นเด็กเป็นเล็ก  ไปหาอะไรเล่นเหอะ :D


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#55 เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,247 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:11

 

ดอนยออย่าเพิ่งไปไหนนะคะ  ให้พี่เขาตบอีกหน่อยเผื่อจะฉลาดขึ้น :D  :lol:

เป็นเด็กเป็นเล็ก  ไปหาอะไรเล่นเหอะ :D

 

 

ชอบเล่นถอนหงอกคนแก่ค่ะ :lol:


ทักษิณเป็นเทพเจ้าจริงๆนะ ไม่เชื่อถาม เสื้อแดง ดูสิ

#56 พระฤๅษี

พระฤๅษี

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 10,127 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:17

...... สำหรับผม คิดว่า รถไฟ ความเร็วสูง  ไม่ใช่สิ่งจำเป็นสูงสุด...

 

ปัญหา ปากท้อง  สำคัญกว่า.  รถไฟความเร็วสูง  เป็นแค่ พาหนะ

 

ของคนกลุ่มหนึ่งเท่านั้น   ถ้าทำ ก็ขาดทุนแน่นอน  ผมกล้าพูดไว้

 

ในนี้เลย. ขนาดรถไฟ ธรรมดา ใช้กันทั่วไป ทุกระดับชนชั้น  ยังขาด

 

ทุนย่อยยับ..  ฉะนั้น คนที่ใช้รถไฟความเร็วสูง  ก็คือคนกลุ่มที่ใช้ เครื่องบิน

 

การกู้..การสร้าง.ครั้งนี้  จึงมีปัญหาแน่นอน.ทำไมจะต้องก่อหนี้สินให้

 

บ้านเมืองโดยไม่จำเป็น...ใช้ภาษี ของคนทั้งประเทศ ไปทำเพื่อคนกลุ่มเดียว

 

ไม่ควรอย่างยิ่ง....ถ้าไม่ต้องกู้   ก็ทำไปเถอะ.......



#57 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:18

 

 

 

ปชป.เสนอทางออกให้พรบ.เงินกู้ 2 ล้านล้านไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

 

ปชป.รู้ได้อย่างไรว่า  2  ล้านล้าน  ขัดรัฐธรรมนูญ  ถึงกล้าเสนอทางออก  ปชป.ไม่มีสิทธิ์วินิจฉัย

แล้วตาเกตก็ไม่ต้องตัดแปะมาก  ลองกลั่นออกมาจากความคิดตัวเองซิ   จะได้คุยกันรู้เรื่อง

 

 

แล้วเองไอ่แต๋มคนที่2 อ่านหรือเปล่าล่ะ  ปชป.เขายื่นฟ้องไปแล้ว  อดีตศาลก็บอกไว้แล้ว ว่าผิดรัฐธรรมนูญ ที่นาทีที่ 8:40

 

 

ก็คงเหมือนไอ้แต๋มซี2ซี3 ที่ไม่ยอมดู ไม่ยอมฟังอะไรเลย :lol:  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:

 

แต๋มซี2 ซี3.JPG


Edited by Stargate-1, 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:23.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#58 ดอน

ดอน

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 2,872 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:31

 

 

 

 

 

ปชป.เสนอทางออกให้พรบ.เงินกู้ 2 ล้านล้านไม่ขัดรัฐธรรมนูญแต่ถูกเมินเฉยจากรัฐบาล

นายอรรถวิชช์ สุวรรณภักดี ส.ส.กทม. พรรคประชาธิปัตย์ได้เสนอทางออกดังกล่าวในชั้นการพิจารณาของกรรมาธิการพิจารณาร่างกฎหมาย และเสนออีกครั้งในการประชุมวาระ2ในสภาผู้แทนราษฎรเมื่อ 20 ก.ย. 2556 ที่ผ่านมาแต่ถูกรัฐบาลปฏิเสธไมตรีนี้มาตลอด


ประเด็นการขัดรัฐธรรมนูญมาตรา169 ที่นักวิชาการหลายคนให้ความเห็นไว้คือ เงินกู้ดังกล่าวเข้าข่ายเป็น “เงินแผ่นดิน” ซึ่งตามรัฐธรรมนูญแล้วจะจ่ายเงินแผ่นดินได้ด้วยกฎหมาย 4ฉบับเท่านั้นคือ กฎหมายงบประมาณ กฎหมายวิธีการงบประมาณ กฎหมายโอนงบประมาณ และกฎหมายเงินคงคลัง ดังนั้นการที่รัฐบาลออกกฎหมายเป็นพระราชบัญญัติกู้เงินโดยมีทั้ง2ขา คือขากู้และขาจ่ายเงินด้วยในฉบับเดียวกันจึงเกิดปัญหา ซึ่ง “ขากู้” ไม่มีปัญหาแต่ปัญหาขัดรัฐธรรมนูญมาตรา169 อยู่ที่ “ขาจ่าย” เพราะพระราชบัญญัติกู้เงิน ไม่ใช่กฎหมาย4ฉบับที่จะจ่ายเงินแผ่นดินได้

ข้อเสนอของปชป. คือ “ขากู้” ก็ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติกู้เงิน2ล้านล้านได้ แต่ “เงินกู้ต้องนำส่งคลัง” โดย “ขาจ่าย” ให้ใช้พระราชบัญญัติงบประมาณประจำปีปกติเบิกจ่าย เพียงแค่นี้ก็จะไม่ขัดรัฐธรรมนูญ ข้อดีคือแผนการลงทุนไม่ต้องเสี่ยงขัดกฎหมาย การจัดซื้อจัดจ้างจะเป็นไปตามวิธีปกติตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีซึ่งง่ายต่อการตรวจสอบ โปร่งใส และนักลงทุนมีความเชื่อมั่นเพราะรัฐบาลมีเงินกู้ในคลังพร้อมทำโครงการและพร้อมจ่ายจริงตามงวดงานเมื่อมีการออกพระราชบัญญัติงบประมาณประจำปีตามปกติ
แต่เนื่องจากรัฐบาลปฏิเสธแนวทางข้างต้น ก็จะทำให้เกิดจุดเสี่ยงในการตีความจากศาลรัฐธรรมนูญว่าเงินกู้เป็นเงินแผ่นดินหรือไม่ โดยคำว่า “เงินแผ่นดิน” ไม่ได้มีนิยามชัดแจ้งในกฎหมายใดเป็นการเฉพาะการที่รัฐบาลกำหนดในร่างพรบ.ว่า เงินกู้ไม่ต้องนำส่งคลังนั้นยังไม่พอจะสรุปได้ว่า เงินกู้ไม่ใช่เงินแผ่นดิน อีกทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเคยให้พระบรมราโชวาทแก่สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อ 25 ส.ค. 2542 โดยมีความตอนหนึ่งว่า “เงินแผ่นดินนั้นคือเงินของประชาชนทั้งชาติ” 
 
ประการต่อมาเงินกู้ครั้งนี้บางส่วนจะกลายเป็นโครงการเล็กๆเป็นเส้นเลือดฝอยแทนที่จะเป็นโครงการใหญ่สำคัญๆ ตามที่รัฐบาลอ้างเพราะรายการในบัญชีแนบท้ายที่มีผลบังคับตามกฎหมายนั้นระบุยอดเงินรวมๆเป็นก้อนใหญ่ตาม “แผน” แต่ไม่ได้ระบุย่อยเป็นชื่อและจำนวนเงินตาม “โครงการ” การที่สภาผ่านกฎหมายเงินกู้ฉบับนี้ก็เหมือนให้ “เช็คเปล่า”
 
 รัฐบาลไปนั่นเองเพราะสามารถเปลี่ยนแปลงโครงการได้ และสุดท้ายเมื่อรัฐบาลกล้าเสี่ยงขัดกฎหมายจะส่งผลให้ประมาณการทางเศรษฐกิจจากหลายสำนักคลาดเคลื่อนเพราะ “รายจ่ายภาครัฐ” ที่เป็นความหวังเดียวที่จะทำให้ตัวเลขการเจริญเติบโตเป็นไปตามเป้านั้นไม่สามารถเบิกจ่ายทันในปลายปีนี้แน่นอน

   

 

ปชป.รู้ได้อย่างไรว่า  2  ล้านล้าน  ขัดรัฐธรรมนูญ  ถึงกล้าเสนอทางออก  ปชป.ไม่มีสิทธิ์วินิจฉัย

แล้วตาเกตก็ไม่ต้องตัดแปะมาก  ลองกลั่นออกมาจากความคิดตัวเองซิ   จะได้คุยกันรู้เรื่อง

 

 

แล้วเองไอ่แต๋มคนที่2 อ่านหรือเปล่าล่ะ  ปชป.เขายื่นฟ้องไปแล้ว  อดีตศาลก็บอกไว้แล้ว ว่าผิดรัฐธรรมนูญ ที่นาทีที่ 8:40

 

 

ก็คงเหมือนไอ้แต๋มซี2ซี3 ที่ไม่ยอมดู ไม่ยอมฟังอะไรเลย :lol:  :lol:  :lol:  :lol:  :lol:

 

มั่วแล้วสตาเกต   ปชป.ไปยื่นตอนไหน  มันยังไม่ผ่าน  วุฒิสภาเลย :lol:

แล้วอดีตศาลที่ว่า  เขาพูดในฐานะอะไร  พูดในศาลหรือเปล่า  ไส่ครุยไหม  มีคำวินิจฉัยส่วนตัวหรือเปล่า

วินิจฉัยว่าอย่างไง    นั่นมันคำตัดสินหรืออย่างไร :lol:  อย่างนี้คงคุยกันไม่รู้เรื่องแล้วล่ะ


จงกล้าที่จะใช้ปัญญาญาณของตนเอง  โดยปราศจากการชี้นำจากผู้อื่น(คานท์)


#59 ypk

ypk

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,173 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:46

เหอะ เหอะ  ปชป เขาประกาศไปแล้วนะ แต่ข่าวมันอาจไม่ดังเท่าการโฆษณาชวนเชื่อ

ของรัฐบาลนี้เท่านั้น

 

เขาประกาศท้าทายรัฐบาลนี้ว่า เขาสามารถใช้เงิน 2.2 ล้าน ล้าน เท่ากับรัฐบาล ทำโครงการ

ได้มากกว่าที่รัฐบาลทำอยู่ คือไม่ใช่ทำเฉพาะเรื่องโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมเท่านั้น เพราะ

ประเทศมันจะเจริญก้าวหน้าได้ มันไม่ใช่มาทำเรื่องโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมอย่างเดียว แต่

มันมีเรื่อง การศึกษา การสาธารณสุข ด้านสังคมสิ่งแวดล้อม ปัญหาการทุจริต ซึ่งต้องแก้ไขไปพร้อม ๆ กัน

จึงจะไปแข่งขันกับประเทศอื่นเขาได้ เพราะฉะนั้นเขาจึงท้าทายรัฐบาลนี้ว่า เขาสามารถใช้เงิน 2.2 ล้าน ๆ

ทำเรื่องเหล่านี้ได้พร้อม ๆ กัน โดยไม่ต้องกู้เงินเหมือนรัฐบาลนี้

 

เขาเรียกโครงการนี้ว่า ไทยเข้มแข็ง และถ้ารัฐบาลสนใจจะเอาไปทำ เขาก็ยินดีมอบให้ไปทำเลย แต่ถ้ารัฐบาล

ยังจะตะบี้ตะบัน กู้เงินมาทำ และไม่ยอมเปลี่ยนแปลงโครงการผลาญเงินชาติ อย่างโครงการรับจำนำข้าว ประชาชน

ก็ต้องรอให้ ปชป เข้ามาเป็นรัฐบาลเสียก่อนนั่นแหละ เขาจึงจะได้ทำให้ดูกัน



#60 ปุถุชน

ปุถุชน

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 27,531 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 14:54

  ผมมองสถานการณ์ปัจจุบัน  คงยากและยากจริงๆจะหยุดกรณีเงินกู้เพื่อทำรถไฟความเลว(ไม่ได้พิมพ์ผิด)สูง

 

  ผมมองการอภิปายและอื่นๆเชื่อว่าหลายๆคนก็เห็นด้วยว่ามันไม่จำเป็นที่ลูกหลานต้องแบกรับภาระหนี้ไปถึง 50 ปี

 

  อย่างไรก็ดี  พรบ นี้กำหนดกู้ไว้ 7 ปี ไม่ได้เอามาในคราวเดียว  จึงเกิดคำถามน่าสนใจว่า  ปชป ควรประกาศไหมว่า

 

  หากกลับมาเป็นรัฐบาล จะทำ รถไฟความเร็วสูง โดย..ยกเลิก พรบ เงินกู้ ฉบับ 2.2 ล้านล้าน เสีย

 

  ผมจำได้ว่าเมื่อเพื่อไทยมีคำท้าให้ ปชป ยกเลิกจำนำข้าว  ตอนนั้นเยาะทำนอง  ปชป มาก็ทำต่ออยู่ดี

 

  ปชป ก็ประกาศ ตบหน้าทันทีว่าไม่เอาอยู่แล้ว  ปชป จะเอาประกันราคา

 

  ถึงเวลาแล้วไหม  ที่ ปชป จะประกาศโมเดล ทำรถไฟฟ้าแบบไม่กู้เงิน  ประกาศไปเลย

 

 

 

คุณกรณ์ย้ำว่าต้องใช้เงินกู้เหมือนกัน แต่ทะยอยกู้ โดยนำโครงการฯเข้าพิจารณาในสภาฯ กำหนดการใช้จ่ายตามปีงบประมาณและการวางแผนตามโครงการฯ......!


เคียงข้างลุงกำนัน ปฏิรูปการเมืองไทย กำจัดระบอบทักษิณ ขับไล่มวลหมู่ขี้ข้า วันที่ 26 พฤษภาคม 2557...


#61 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:06

 

 

 

 

ปชป.เสนอทางออกให้พรบ.เงินกู้ 2 ล้านล้านไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

 

ปชป.รู้ได้อย่างไรว่า  2  ล้านล้าน  ขัดรัฐธรรมนูญ  ถึงกล้าเสนอทางออก  ปชป.ไม่มีสิทธิ์วินิจฉัย

แล้วตาเกตก็ไม่ต้องตัดแปะมาก  ลองกลั่นออกมาจากความคิดตัวเองซิ   จะได้คุยกันรู้เรื่อง

 

 

แล้วเองไอ่แต๋มคนที่2 อ่านหรือเปล่าล่ะ  ปชป.เขายื่นฟ้องไปแล้ว  อดีตศาลก็บอกไว้แล้ว ว่าผิดรัฐธรรมนูญ ที่นาทีที่ 8:40

 

 

ก็คงเหมือนไอ้แต๋มซี2ซี3 ที่ไม่ยอมดู ไม่ยอมฟังอะไรเลย 

 

แต๋มซี2 ซี3.JPG

 

 

 

 

แล้วเองไอ่แต๋มคนที่2 อ่านหรือเปล่าล่ะ  ปชป.เขายื่นฟ้องไปแล้ว  อดีตศาลก็บอกไว้แล้ว ว่าผิดรัฐธรรมนูญ ที่นาทีที่ 8:40

 

ก็คงเหมือนไอ้แต๋มซี2ซี3 ที่ไม่ยอมดู ไม่ยอมฟังอะไรเลย

 

มั่วแล้วสตาเกต   ปชป.ไปยื่นตอนไหน  มันยังไม่ผ่าน  วุฒิสภาเลย :lol:

แล้วอดีตศาลที่ว่า  เขาพูดในฐานะอะไร  พูดในศาลหรือเปล่า  ไส่ครุยไหม  มีคำวินิจฉัยส่วนตัวหรือเปล่า

วินิจฉัยว่าอย่างไง    นั่นมันคำตัดสินหรืออย่างไร :lol:  อย่างนี้คงคุยกันไม่รู้เรื่องแล้วล่ะ

 

 

วันที่ 24 มีนาคม 2556 จากกรณีที่จะมีการนำร่าง พรบ.เงินกู้ 2.2 ล้านล้านบาท ของรัฐบาล เข้าสู่ระเบียบวาระการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ระหว่างวันที่ 28 ถึง 29 มีนาคม 2556 ซึ่งนายกรณ์ จาติกวณิช รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้เปิดเผยผ่านเฟซบุ๊ค Team-Korn Chatikavanij Page ว่า พรบ.เงินกู้ 2.2 ล้านล้านบาทของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ เข้าข่ายผิดรัฐธรรมนูญ มาตรา 169, 170

 

ปชป. จ่อฟ้องศาลกู้ 2 ล้านล้านบาทขัดรัฐธรรมนูญ

21 กันยายน 2556 เวลา 11:01 น.

          นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ ในฐานะกรรมาธิการที่ปรึกษาร่าง พ.ร.บ.กู้เงิน 2 ล้านล้านบาท เปิดเผยว่า สำหรับภาพรวมการอภิปรายตลอด 2 วันที่ผ่านมา ถือเป็นที่น่าพอใจ ยืนยันว่าฝ่ายค้านไม่ได้โต้แย้งการพัฒนาประเทศ แต่โต้แย้งที่ประเทศมีปัญหาหลายด้านและเหมาะสมที่จะนำงบประมาณมาทุ่มในโครงการเดียวหรือไม่ ทั้งที่โครงการดังกล่าวยังมีช่องโหว่อยู่หลายเรื่อง รวมทั้งไม่มีแผนโครงการที่ชัดเจน จึงอาจจะก่อให้เกิดการทุจริตได้ โดยในขณะนี้ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ กำลังอยู่ในขั้นตอนของการพิจารณา เพื่อจะยื่นเรื่องดังกล่าวไปยังศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อให้ศาลตีความว่า ร่าง พ.ร.บ.กู้เงิน 2 ล้านล้านบาท นั้นขัดต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่

 

แล้วฟ้งอดีตศาลพูดหรือเปล่าล่ะ  

 

นายปรีชา กล่าวว่า รู้สึกกังวลว่า จากการที่รัฐบาลได้มีการพิจารณา ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ ในประเด็นที่มาของส.ว. ให้มาจากการเลือกตั้งอย่างเดียวนั้น อาจจะมีส่วนให้ ส.ว.ใส่เกียร์ว่างในเรื่องนี้ เพราะอาจมองได้ว่าเป็นข้อต่อรองระหว่างกัน ซึ่งหากส.ว.เสียงข้างมาก เห็นชอบกับร่างดังกล่าวจริง ส.ส. และส.ว. ก็สามารถเข้าชื่อ และส่งเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญให้วินิจฉัยได้ ก่อนที่นายกรัฐมนตรีจะนำร่างดังกล่าวขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ซึ่งนายกรัฐมนตรี ก็ต้องยับยั้งการนำร่างขึ้นทูลเกล้าฯ พร้อมทั้งเชื่อว่า เมื่อศาลรัฐธรรมนูญรับเรื่องดังกล่าวแล้ว จะต้องใช้ระยะเวลาในการวินิจฉัยนานพอสมควร เนื่องจากเป็นเรื่องที่มีความซับซ้อน และหากศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ขัดรัฐธรรมนูญ มาตรา 169 ก็เป็นผลให้ ร่าง พ.ร.บ.เงินกู้ 2 ล้านล้าน เป็นอันตกไปทันที เพราะถือเป็นสาระสำคัญ อย่างไรก็ตามเชื่อว่าร่างกฎหมายฉบับนี้จะต้องถูกยื่นฟ้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญแน่นอน
 

เรื่องนี้ไปจบที่ศาลรัฐธรรมนูญแน่นอน ! 

 


Edited by Stargate-1, 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 15:49.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#62 ชายน้ำ

ชายน้ำ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,256 posts

ตอบ 23 กันยายน พ.ศ. 2556 - 16:20

แม้แต่สาวกควายแดงก็ยังอ้อมแอ้มเรื่องความโปร่งใสของการกู้2.2ล้านล้าน

 

เผาไทยบอกว่าโครงการ7ปีก็จริง แต่ถ้ามีวี่แววว่ารบ.จะไปไม่รอด ผมเชื่อว่าจะมีรายการเร่งเบิกเงินกู้






ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน