Jump to content


Photo
* * * * * 6 votes

รายการพิเศษ "ศาลโลกตัดสินคดีพระวิหาร" (11 พ.ย. 56)


  • Please log in to reply
642 ความเห็นในกระทู้นี้

#601 เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,247 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:47

มีความพยายามอยากให้ไทยเสียดินแดนจากทั้ง 2 รัฐบาล

เพื่อให้ไทยยอมรับแผนที่เขมร และแก้ไข ม.190 ไว้รองรับในการตกลงคุยกันในเรื่องพื้นที่ ในเรื่องสัญญา

 

 

 

อันนี้เห็นชัดว่ากล่าวหาเขาเอามันส์  ถ้า ปชป เอาด้วยจริง คงไม่ฟ้องศาลหรอกค่ะ ถ้าไม่รู้ก็รับรู้ซะเลยนะคะว่า ปชป เขาเอาร่างแก้ไขฉบับนี้ฟ้องศาล และศาลก็ประทับรับฟ้องแล้วด้วย  เฮ้อ...เพลีย  


ทักษิณเป็นเทพเจ้าจริงๆนะ ไม่เชื่อถาม เสื้อแดง ดูสิ

#602 stormtrooper

stormtrooper

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 356 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:48

สรุปแล้ว promontory (ชะง่อนผา)  ที่ศาลขยายความว่าเป็นของกำพูชามีขอบเขตแค่ไหน  หรือว่าก็ยังต้องมาเจรจาตกลงกันต่อ  ฝ่ายไทยเราตีความว่ามีเส้นแบ่งอยู่ตรงไหน?



#603 bird

bird

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,191 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 00:52

 

 

 

ได้ความคืบหน้ามาอีกนิด...

 

ได้เรียนถามท่านผู้อาวุโสด้านกฎหมาย...ว่า

 

" วันนี้เห็นสื่อหลาย ๆ ช่อง กล่าวว่า เราเสียดินแดนแล้วหรือ อย่างน้อย ก็ประมาณ

1 - 1.5 ตร.กม.หนังสือพิมพ์หลาย ๆ ฉบับ ก็พาดหัวตัวโต..ๆ เราแพ้คดี เสียดินแดน.."

 

ท่านได้อธิบายว่า..

 

" เราจะเสียดินแดน หรือไม่ ศาลไม่ได้บอก ไม่ได้กำหนด เพียงแต่บอกว่า

ให้ทั้ง 2 ฝ่ายตกลงกันเอง...คำพิพากษาไม่ได้กล่าว ไม่ได้ระบุว่าต้องใช้

วิธีการใดในการกำหนด พื้นที่รอบตัวปราสาท...ย้ำ..คำพิพากษาไม่ได้

ระบุวิธีการในการกำหนดเส้นเขตแดน

 

เราจะเสียดินแดนหรือไม่...ขึ้นอยู่กับว่า ต่อจากนี้ไป เจ้าหน้าที่ฝ่ายเรา

รัฐบาลของเรา จะแสดงจุดยืนในการกำหนดเส้นเขตแดนรอบตัวปราสาท

อย่างใด จะสามารถรักษาแผ่นดินของประเทศไทยไว้ได้ ณ จุดเดิมหรือไม่

 

ผู้ที่รับผิดชอบ จำเป็นต้องศึกษาคำพิพากษา 2505 ให้เข้าใจทุกตัวอักษร

ต้องหาที่ตั้งตัวปราสาทและพื้นที่โดยรอบตามคำฟ้อง และจุดกำหนดเดิม

ให้ใกล้เคียงกับสภาพภูมิศาสตร์ในปัจจุบันให้มากที่สุด

 

รัฐบาลของเรา...จะรักษาผลประโยชน์ของประเทศ หรือ จะรักษาประโยชน์

ส่วนตัว วงศาคณาญาติ ทั้งที่เป็นเชื้อชาติไทย สัญชาติไทย และที่เป็น

สัญชาติอื่น

 

ผมเชื่อโดยสุจริตใจว่า...ทหารของเราจะไม่ยอมให้เสียดินแดนแม้ตารางนิ้ว

กรมแผนที่ทหารของเรามีแต่คนเก่ง ๆ มีข้อมูลมากมาย การเสียดินแดน

คงเป็นไปได้ยาก...

 

ยกเว้นเสียจากว่า...

 

การเจรจาที่เกิดขึ้นจะมีบุคคลอันไม่พึงประสงค์เข้าไปเกี่ยวข้อง...

 

ซาตานในคราบของนักการเมือง "

 

ท่านกล่าวไว้เช่นนี้...

 

ตอนนี้ผมกังวล ตรงนี้มากครับ ...

 

ในคำพิพากษา ศาลได้หยิบเอาแผนที่ 1:200,000 มาอ้างอิง

กำหนดvicinity ของปราสาท ..แม้ว่าศาลจะบอกว่าไม่ยุ่งกับ

การกำหนดเขตแดน2ทั้ง2ฝ่าย แต่หากเราผลีผลามรับรอง

คำตัดสินครั้งนี้ไป ไม่เท่ากับเรารับเอาแผนที่1:200,000มาใช้

หรือครับ 

ไม่ใช่แต่ ในเฉพาะพื้นที่vicinity ปราสาทเท่านั้น หลังจากจบ

เรื่องคราวนี้ไป หากวันหนึ่งข้างหน้ากัมพูชาอ้างว่าเราได้รับรอง

การใช้แผนที่1:200,000ในการกำหนดพื้นที่แล้ว

(อ้างอิงการที่เรารับรองคำตัดสินในครั้งนี้)

เราต้องกำหนด พื้นที่อื่นในแผนที่นี้(รวม4.6ตร.กม.ด้วย)ตาม

แผนที่ 1:200,000ด้วยหรือไม่ ???...

 

 

พรุ่งนี้จะเรียนถามให้น่ะค่ะ...

 

bird..เอง ยังไม่ได้อ่านคำพิพากษาเลยค่ะ รอฉบับแปลเป็นไทย ที่มีการรับรองค่ะ

เพื่อความแน่นอน...

 

อันนี้ใช้ได้ไหมครับ

1456695_663944827005570_1737914653_n.jpg

1472070_663945217005531_1893535278_n.jpg

 

 

ขอเป็นชุดที่มีการลงนามรับรองดีกว่าค่ะ...เพื่อความชัดเจน



#604 Solid Snake

Solid Snake

    แดงกำมะลอ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,892 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 05:38

สรุปแล้ว promontory (ชะง่อนผา)  ที่ศาลขยายความว่าเป็นของกำพูชามีขอบเขตแค่ไหน  หรือว่าก็ยังต้องมาเจรจาตกลงกันต่อ  ฝ่ายไทยเราตีความว่ามีเส้นแบ่งอยู่ตรงไหน?

ศาลไม่ได้มีหน้าที่หา ให้ไปตกลงกันเองแต่ไม่เกินเส้น Annex I map ซึ่งจะแปลงเป็นระบบปัจจุบันได้เส้นไหนก็ไปจัดการกันเอง

 

JV1016jpeg.jpg



#605 ริวมะคุง

ริวมะคุง

    ห้ามให้อาหารสัตว์

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 6,577 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 08:16

1 ศาลบอกว่า ดูตามคำตัดสินเดิมตัวปราสาทเป้นของเขมร

2 ศาลบอกว่าให้ทหารไทยถอยออกจากบริเวณปราสาท

3 ศาลบอกว่าให้ ยูเนสโก้+ไทย+เขมร คุยกันว่าจะให้บริเวณปราสาท กว้างแค่ใหน

3.1 แต่ไม่เกินเส้น 1/200000

4 ศาลบอกว่าพื้นที่ทับซ้อนศาลไม่สามารถไปตัดสินให้ได้ว่า ต้องเท่านั้นเท่านี้ ศาลไม่มีอำนาจปักปันเขตเเดน

5 ศาลบอกว่ากลับบ้านไป ชิ่วๆไปเคลียกันเองบอกแนวทางให้แล้ว

6 ขั้นตอนนี้สำคัญสุด ผู้นำ2ประเทศตกลงเจรจาพื้นที่ ถ้ามีประเทศไดประเทศหนึ่งไม่ยอมรับ ไม่เซนต์เอกสารใดๆในการระบุพื้นที่บริเวณปราสาท ข้อบังคับนี้ก็จะไม่ผล

 

สรุปบ๋อแบ๋ครับถ้าเขมรเอา 1/200000 มาอ้างในพื้นที่ทับซ้อนทั้งหมดตลอดแนวชายแดน เอาปืนใหญ่ยิงสวนตบปากแม่มเลย


Posted Image

#606 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 08:32

 

'ศาลโลก'ไม่ชี้ขาด'เขตแดน'ภูมะเขือรอด! 'ศาลโลก'ไม่ชี้ขาด'เขตแดน'ภูมะเขือรอด!โยน'ยูเนสโก'ไกล่เกลี่ย

 

                11 พ.ย.56 นายเสข วรรณเมธี อธิบดีกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ แถลงยืนยันความพร้อมการถ่ายทอดสดศาลโลกอ่านคำตัดสินจากกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ต่อกรณีที่กัมพูชายื่นขอตีความเรื่องอาณาบริเวณรอบปราสาทพระวิหาร โดยจะถ่ายทอดสดการอ่านคำพิพากษาผ่านทางเว็บไซต์ของศาล www.icj-cij.org/homepage สามารถรับชมภาพ และรับฟังเสียงจริงในศาล เป็นภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส พร้อมกันนั้้นกระทรวงการต่างประเทศได้จัดแปลเป็นภาษาไทยแบบสดทางโมเดิร์นไนน์ทีวี (ช่อง 9) อีกทั้ง ยังสามารถเลือกรับฟังได้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (ช่อง 11) เป็นภาษาไทย

                นอกจากนี้ ยังติดตามได้ทางโซเชียลมีเดีย www.facebook.com/ThaiMFA และ www.twitter.com/mfathai  และยังมีการถ่ายทอดทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย FM 92.5 และ AM 891 เป็นภาษาไทย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย FM 88 เป็นภาษาอังกฤษ สถานีวิทยุ อสมท FM 100.5 และสถานีวิทยุสราญรมย์ AM 1575 เป็นภาษาไทย และยังสามารถรับฟังการอ่านคำตัดสินได้ทางเว็บไซต์ www.phraviharn.org และ saranrom.mfa.go.th เช่นเดียวกับผู้ที่ใช้สมาร์ทโฟนสามารถรับฟังผ่าน Mobile Application ของ อสมท. คือ MCOT App.

                นายเสข กล่าวต่อว่า ลำดับขั้นตอนการถ่ายทอดการอ่านคำพิจารณาคดี จะเริ่มตั้งแต่เวลา 15.00 น. ตามเวลาประเทศไทย ทางช่อง 9 และ 11 จะถ่ายทอดรายการพิเศษก่อนการอ่านคำตัดสิน จากนั้นเวลา 16.00 น. ตามเวลาไทยหรือตรงกับเวลา 10.00 น. ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ศาลจะเริ่มอ่านคำตัดสิน คาดว่าใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง หลังจากศาลอ่านคำตัดสินเสร็จแล้ว จากนั้นประมาณ 20 นาที นายวีรชัย พลาศรัย เอกอัครราชทูต ณ กรุงเฮก ในฐานะตัวแทนสู้คดีฝ่ายไทย จะให้สัมภาษณ์สด หลังจากนั้น น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม จะแถลงการณ์ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย และอีกประมาณ 40 นาที จะมีรายการพิเศษสัมภาษณ์นายพงษ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรี นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ก่อนที่นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รองนายกฯ และรมว.ต่างประเทศ จะแถลงสรุปภาพรวมทั้งหมดอีกครั้ง

                ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายเสข ได้เปิดให้คณะสื่อมวลชนเข้าชมศูนย์ข่าวที่กระทรวงการต่างประเทศจัดขึ้นเป็นการเฉพาะกิจ โดยได้พาชมห้องวอร์รูมกลาง ที่มีไว้ติดตามสถานการณ์และรับการถ่ายทอดสด ซึ่งภายในห้องมีการติดตั้งจอโปรเจกเตอร์ขนาดใหญ่ไว้ 3 จอ จากนั้นพาชมห้องล่ามแปลภาษา ที่มีล่ามแปลทั้งหมด 2 คน ห้องเทคนิคของช่อง 9 และ 11 และห้องถ่ายทอดรายการพิเศษ ที่จัดขึ้นห้องบัวแก้ว กระทรวงการต่างประเทศ

               อย่างไรก็ตาม นายเสข กล่าวถึงกรณีที่กลุ่มธรรมยาตราได้ออกมาเคลื่อนไหวอยู่ในพื้นที่ชายแดน จ.ศรีสะเกษว่า เป็นสิทธิสามารถกระทำได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้กรอบประชาธิปไตยและกฎหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งขณะนี้ ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ได้ชี้แจงทำความเข้าใจกับกลุ่มดังกล่าวและประชาชนในพื้นที่แล้ว เพื่อยืนยันว่า จะไม่เกิดการปะทะกันในพื้นที่ชายแดนแน่นอน

               "แม้ในระหว่างนี้ อาจมีข่าวสร้างความสับสนให้ประชาชนได้ ผมขอให้ประชาชนติดตามการถ่ายทอดสดและทำความเข้าใจข้อเท็จจริงที่กระทรวงการต่างประเทศเตรียมเผยแพร่ เพื่อป้องกันการเข้าใจคลาดเคลื่อน และย้ำให้ประชาชนอย่าเพิ่งด่วนตัดสินใจ ควรรอฟังคำตัดสิน โดยท่านวีรชัย จะแปลภาษากฎหมาย เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย” นายเสข กล่าว

               ล่าสุด เมื่อเวลา 16.00 น. ศาลโลกอ่านคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหารแล้ว  โดยกล่าวว่า กัมพูชาได้ยื่นคำร้อง และร้องขอให้ศาลตีความปราสาทพระวิหาร และหลังจากยื่นคำร้องแล้ว กัมพูชาได้อ้างถึงคำร้องธรรมนูญศาล และร้องขอให้มีมาตการชั่วคราว เพราะมีการล่วงล้ำของประเทศไทยเข้าสู่ดินแดนกัมพูชา โดยเมื่อวันที่ 18 ก.ค. ศาลก็มีมาตรการชั่วคราวให้แก่ทั้งสองฝ่ายในปี 2011

               โดยจะขอเริ่มต้นอ่านคำพิพาษาในวรรคที่ 14 ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในเทือกเขาดงรัก ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นพรมแดนสองประเทศคือ กัมพูชาตอนใต้ และไทยตอนเหนือ ในเดือน ก.พ.1904 กัมพูชาอยู่ใต้อารักขาของรัฐฝรั่งเศส ที่เทือกเขาดงรักเป็นไปตามสันปันน้ำ ซึ่งเป็นไปตามการประกาศของคณะกรรมการ เรื่องงานที่เสร็จสิ้่นคือ การเตรียมการและตีพิมพ์เผยแพร่แผนที่ที่ได้รับ ซึ่งภารกิจนั้นมอบให้เจ้าหน้าที่ฝรั่งเศส 4 นาย ต่อมาในปี 1907 ทีมก็ได้เตรียมแผนที่ 17 ระหว่าง อินโดจีนกับไทย และมีแผนที่ขึ้นมา มีคณะกรรมการปักปันระหว่างอินโดจีนกับสยาม ทำให้พระวิหารตกอยู่ในดินแดนกัมพูชา ปี 1953 ประเทศไทยได้ยึดครองปราสาทในปี 1954 แต่การเจราจาไม่เป็นผล ปี 1959 กัมพูชาร้องต่อศาล และไทยก็คัดค้านตามมา และศาลปฏิเสธการรับฟังของไทย และมีคำพิพาทเกิดขึ้นจริง ซึ่งเทือกเขาดงรักที่เรียกว่า แผนที่ภาคผนวก 1 นั้น อยู่ในกัมพูชา โดยมีผลบังคับระหว่างรัฐประเทศตามที่กัมพูชากล่าวอ้าง แต่ในแง่การมีผลผูกพันเหตุการณ์ระหว่างสองประเทศต้องยืนยันตามสันปันน้ำ

               ศาลพูดถึงข้อปฏิบัติการในคำพิพากษา ตัดสินว่า พระวิหารอยู่ในอธิปไตยของกัมพูชา และไทยมีผลผูกพัน หรือในบริเวณข้างเคียง และมีพันธะกรณีที่ต้องนำวัตถุทั้งหลายที่ได้นำออกไปให้นำส่งคืน หลังจากมีคำพิพากษา 1962 ไทยก็ได้ถอนกำลังออกจากพระวิหาร และมีการทำรั้วลวดหนาม หลังจากที่เป็นไปตามมติครม.ของไทยในวันที่ 11 ก.ค.1962 แต่ไม่มีการตีพิมพ์เผยแพร่

              ทั้งนี้ ศาลระบุว่า กัมพูชาได้ยื่นคำร้องต่อศาลซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นในเวลาหลังจากที่คำพิพกษา เป็นต้นมา ในมุมมองของไทยคือ ได้ออกจากบริเวณปราสาทและไทยได้กำหนดฝ่ายเดียวว่า เขตพระวิหารอยู่ที่ใดซึ่งตามคำพิพากษาในปี 1962 ได้กำหนดตำแหน่งเขตปราสาท ที่ไทยต้องถอนและได้จัดทำรั้ว ลวดหนาม ปราสาทไม่ได้เกินไปกว่าเส้นกำหนดตาม กัมพูชาประท้วงว่า ไทยถอนกำลังออกไปนั้นก็ได้ยอมรับว่า ปราสาทเป็นของกัมพูชาจริง แต่กัมพูชาได้ร้องว่า ไทยสร้างรั้วรุกไปในดินแดนกัมพูชาซึ่งไม่เป็นไปตามคำพิพากษาของศาลและในมุมมองของกัมพูชาต้องการเสนอยูเนสโก แสดงให้เห็นว่า ทั้งสองมีข้อพิพาทในความหมายและขอบเขตในคำพิพากษาปี 1962 จริง

               ศาลได้ดูสาระข้อพิพาทเพื่อให้แน่ใจว่า เป็นไปตามขอบเขตอำนาจศาล ม.60 ตามธรรมนูญศาลหรือไม่และเห็นว่าสองฝ่ายขัดแย้งกัน ซึ่งในข้อพิพาท 1962 ที่บอกว่า คำพิพากษามีผลบังคับใช้เป็นเส้นแบ่งเขตแดนสองประเทศ การพิจารณาครั้งนี้ศาลพิจารณาในจุดยืนของฝ่ายที่แสดงออกมาคือ ตามคำขอของกัมพูชา คือ มีสถานที่และได้ต่อสู้เพื่อขึ้นทะเบียนมรดกโลกก็มีมุมมองต่างกันของขอบเขตและบริเวณ ดินแดน

               โดยข้อที่ 1 ปราสาทอยู่ในดินแดนกัมพูชา ท้ายที่สุดศาลก็ได้ดูเรื่องปัญหาที่สองฝ่ายเห็นต่างคือ พันธกรณีการถอนกำลังออกจากปราสาท ในดินแดนของกัมพูชา และให้ข้อพิพากษาเรื่องการสื่อสารการเข้าใจของสองประเทศในการนำปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนมรดกโลกและการปะทะแสดงว่า มีความเข้าใจที่แตกต่างกันจริง คำพิพากษามีความสำคัญ 3 แง่ คือ คำพิพากษาไม่ได้ตัดสินว่า มีข้อผูกพันเป็นเขตแดนระหว่างสองประเทศหรือไม่ 2.มีความสัมพันธ์กรณีความหมายและขอบเขตของวลีที่ว่า บริเวณใดเป็นของกัมพูชา และ 3.มีข้อพิพาทในกรณีให้ไทยถอนกำลัง คือ เป็นเป็นไปตามข้อปฏิบัติข้อที่สอง

               เมื่อกัมพูชาได้ร้องขอ ศาลจึงรับคำร้องขอของกัมพูชา ศาลเห็นว่ามีข้อพิพาทของทั้งสองฝ่าย ตามข้อ 60 ของธรรมนูญศาล ด้วยเหตุนี้ศาลจึงมีอำนาจรับไว้พิจารณา ศาลจึงคำนึงถึงข้อ 60 ทำให้ขอบเขตมีความชัดเจนขึ้น ด้วยเหตุนี้ศาลจึงต้องดูอยู่ภายใต้ขอบเขตเคร่งครัด ไม่สามารถหยิบเรื่องที่ได้ข้อยุติไปแล้ว ดังนั้น การพิจารณาขอบเขตและความหมายจึงยึดถือข้อปฏิบัติที่ผ่านมา ซึ่งประเทศไทยได้ต่อสู้ว่า หลักการกฎหมายห้ามไม่ให้ศาลตีความเกินการตีความในปี 1962 และได้ถูกกล่าวย้ำในข้อต่อสู้ของคู่ความ อย่างไรก็ตาม ศาลไม่สามารถตีความที่ขัดแย้งกับคำพิพากษาในปี 1962 ได้ และกัมพูชาเห็นว่า ข้อสรุปในปี 1962 ทำให้เห็นว่า ศาลได้วินิจฉัยประเด็นต่างๆ ตามข้อวินิจฉัยในปี 1962 และขณะนั้นได้ใช้ข้อ 74 เป็นข้อบังคับในขณะนั้น ซึ่งไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของคำพิพากษา และบทสรุปเป็นเพียงบทสรุปของคำวินิจฉัย ไม่ถือเป็นปัจจัยที่มีผลกระทบต่อหลักปฏิบัติ

               ประเทศไทยยังได้กล่าวอ้างถึงพฤติกรรมของปี 1962 และเดือน ธ.ค. 2008 ที่มีเหตุการณ์ปะทุขึ้นมา คำพิพากษาไม่ถือว่า เป็นสนธิสัญญา หรือตราสารที่ผูกพันคู่ความ การตีความที่อาจจะมีผลกระทบกับพฤติกรรมต่อๆ ไป ดูได้จากสนธิสัญญา ณ กรุงเวียนนา การตีความ จะดูว่าศาลได้พิพากษาอะไร ขอบเขตและความหมายไม่อาจที่จะเปลี่ยนแปลงไปของพฤติกรรมของคู่ความ และการตีความศาลจะไม่พิจารณาในประเด็นนั้น มีลักษณะ 3 ประการในคำพิพากษา 1962

               1.พิจารณาว่า เป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยของปราสาทพระวิหาร และศาลไม่มีหน้าที่ปักปันเขตแดน ศาลจึงกลับไปดูคำพิพากษา 1962 โดยดูในคำคัดค้าน ว่า เป็นเขตอำนาจอธิปไตยมากกว่าเขตแดน ดังนั้น ข้อเรียกร้อง 1-2 ของกัมพูชาในภาคผนวก 1 ศาลจะรับเท่าที่เป็นเหตุ โดยไม่มีการกล่าวถึงภาคผนวก 1 หรือสถานที่ของเขตแดน ไม่มีการแนบแผนที่ในคำพิพากษา ประเด็นต่างๆ ที่คู่ความได้กล่าวอ้างก็มีความสำคัญในการกำหนดเขตแดน

               2.แผนที่ภาคผนวก 1 ประเด็นที่แท้จริงคือ คู่ความได้รับรองแผนที่ภาคผนวก 1 และเส้นแบ่งเขตแดน ที่เป็นผลจากคณะกรรมการปักปันเขตแดน และมีผลผูกพันหรือไม่ ศาลได้ดูพฤติกรรมของคู่ความในการเสด็จของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงนุภาพ ไปเยี่ยมชมปราสาทพระวิหารก็เหมือนการยอมรับโดยอ้อมของสยามในอธิปไตย ถือเป็นการยืนยันของประเทศไทยในเส้นแบ่งแดนภาคผนวก 1 ในปี 1908 และ 1909 ยอมรับในแผนที่ และยอมรับว่า เส้นแบ่งเขตแดนเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่นำไปสู่การยอมรับว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ในกัมพูชา ทำให้แผนที่ภาคผนวกอยู่ในสนธิสัญญา จึงเห็นว่าการตีความสนธิสัญญาจึงต้องชี้ขาดว่า เขตแบ่งตามแผนที่ 1

               3.ศาลมีความชัดเจนว่า ศาลดูเฉพาะบริเวณปราสาทฯ เท่านั้น ซึ่งเป็นบริเวณที่เล็กมาก และในปี 1962 กัมพูชากล่าวว่า ขอบเขตพิพาทนั้นเล็กมาก และถ้อยแถลงอื่นๆ ก็ไม่มีอะไรขัดแยังกันในปี 1962 และทันทีหลังจากมีคำพิพากษา ศาลได้อธิบายว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ทางตะวันออกของเทือกเขาดงรัก ในทางทั่วไปถือว่า เป็นเขตแดนของทั้งสองประเทศ ศาลเห็นว่า ปราสาทอยู่ในอธิปไตยของกัมพูชา แต่ต้องกลับมาในบทปฏิบัติการ 2 และ 3 ที่เห็นว่า ผลของคำพิพากษาที่ 1 ตำรวจที่ปฏิบัติการในปราสาทพระวิหารหรือบริเวณใกล้เคียงไม่มีการพูดถึงการถอนกำลัง และไม่มีการกล่าวถึงว่า หากถอนกำลังต้องถอนไปที่ใด พูดเพียงปราสาทและบริเวณใกล้เคียง ไม่มีการกำหนดว่า เจ้าหน้าที่ใดของไทยต้องถอน พูดเพียงว่าเจ้าหน้าที่ที่เฝ้ารักษาการหรือดูแล ศาลจึงเห็นว่า จะต้องเริ่มจากดูหลักฐานที่อยู่ต่อหน้าศาล และพยานหลักฐานเดียวคือ พยานหลักฐานที่ฝ่ายไทยได้นำเสนอ ซึ่งได้มีการเยือนไปยังปราสาทในปี 1961 แต่ในการซักค้านของฝ่ายกัมพูชา พยานเชี่ยวชาญของไทยบอกว่า มีแค่ผู้เฝ้ายาม 1 คน และตำรวจ มีการตั้งแคมป์ และไม่ไกลมีบ้านพักอยู่ และทนายฝ่ายไทย กล่าวว่า สถานีตำรวจอยู่ทางใต้ของแผนที่ภาคผนวก 1

               ต่อมาปี 1962 กัมพูชาได้เสนอข้อต่อสู้ว่า จะต้องใช้เส้นสันปันน้ำในการปักปันเขตแดน แต่ศาลเห็นว่า ไม่จำเป็นต้องใช้สันปันน้ำ ซึ่งฝ่ายไทยเห็นว่า สำคัญ เพราะการแบ่งเส้นต่างๆ มีความใกล้เคียงกันสันปันน้ำ การที่สถานีตำรวจตั้งใกล้สันปันน้ำ เป็นไปตามมติ ครม. เมื่อศาลสั่งให้ไทยถอนกำลัง ก็น่าจะมีความประสงค์ให้เจ้าหน้าที่ต่างๆ ตามคำเบิกความของไทย เนื่องจากไม่มีหลักฐานว่า มีเจ้าหน้าที่อื่นใด จึงเห็นว่าควรยาวไปถึงสถานที่ตั้งมั่นของสถานีตำรวจ เส้นแบ่งเขตแดนตามมติ ครม. จึงไม่ถือว่า เป็นเส้นแบ่งเขตแดน ศาลจึงเห็นว่า ชัดเจนมากตามภูมิศาสตร์ ที่ภาคตะวันตกเฉียงใต้มีหน้าผาที่ชัน และตะวันตกเฉียงเหนือก็เป็นที่ที่อยู่ในเทือกเขาดงรัก หุบเขาทั้งสองนี้เป็นช่องทางที่กัมพูชาสามารถเข้าถึงปราสาท ดังนั้น การทำความเข้าใจใกล้เคียงพระวิหาร ศาลจึงเห็นว่า เขตแดนกัมพูชาทางเหนือไม่เกินเส้นแบ่งเขตแดนตามภาคผนวก 1 และไม่ได้ระบุระยะที่ชัดเจน

              ศาลเห็นว่า เขตแดนกัมพูชาทางเหนือไม่เกินเส้นแบ่งภาคผนวก 1  ไม่ได้ระบุว่า เส้นทางชัดเจน แต่ชัดว่า ด่านตำรวจที่อยู่ใกล้เคียงกับแผนที่ภาคผนวก 1 ศาลพิจารณาพื้นที่จำกัดด้านตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ ว่า ถือเป็นพื้นที่กัมพูชา ศาลไม่สามารถรับคำจำกัดความเรื่องบริเวณใกล้เคียงที่ครอบคลุมชะง่อนผาและครอบคลุมกัมพูชาไม่ถือว่าภูมะเขืออยู่ในพระวิหาร ถือว่าพระวิหารเป็นส่วนหนึ่งของจว.นี้ แต่ก็ถือว่า ภูมะเขือเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องของกัมพูชาและขณะเดียวกันเล็กกว่าจะครอบคุลมทั้งพระวิหารและภูมะเขือ และภูมะเขือไม่ได้เป็นบริเวณสำคัญที่ศาลจะพิจารณา ไม่มีหลักฐานที่จะเสนอว่า มีเจ้าหน้าที่ทหารหรือกำลังไทยในบริเวณนั้น และไม่มีการพูดว่า ภูมะเขือมีส่วนสำคัญที่ไทยต้องถอนกำลัง

              การตีความที่จะกำหนดจุดต่าง ๆ   ศาลได้พิจารณาว่า ศาลไม่ได้กำหนดสันปันน้ำ จึงเป็นไปไม่ได้ที่ศาลจะพิจารณา เนื่องจากศาลได้กำหนดว่า อาณาบริเวณปราสาทพระวิหารเท่านั้น

              หลังการพิจาณาสรุปว่า คำพิพากษาปี  1962 ศาลไม่ได้พิจารณาที่กว้าง ดังนั้นไม่ได้มีความตั้งใจพิจารณาว่าพื้นที่ใกล้เคียงหรือภูมะเขืออยู่ในไทย การพิจารณา ปี 1962 ตามที่มีการร้องขอในกระบวนการพิจารณาได้มีการพิจารณาในส่วนของเขาพระวิหารด้านใต้   ตะวันออกใต้ ตะวันตกเฉียงใต้ ที่มีชะง่อนหน้าผา สองฝ่ายตกลงว่า พื้นที่อันนั้นอยุู่ในกัมพูชา และตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวโน้มลาดชันน้อยกว่าที่เป็นสิ่งแยกเขาพระวิหารออกจาภูมะเขือ ก่อนลาดลงสู่พื้นที่ราบกัมพูชา  ศาลพิจารณาว่า ภูมะเขืออยู่นอกพื้นที่ข้อพิพาท และปี 1962  ไม่ได้บอกว่า อยู่ในไทยหรือกัมพูชาชะง่อนหน้าผาพระวิหารและภูมะเขือ มีพื้นที่ที่เริ่มสูงขึ้น เป็นเส้นของแผนที่

               อย่างไรก็ตาม สองฝ่ายไม่สามารถหาทางออกแต่ฝ่ายเดียวได้ คำพิากษา 1962  ศาลพิจารณาเรื่องวัดที่เกี่ยวข้องในข้อบทปฏิบัติการข้อสามและจะทำให้เข้าใจข้อบทปฏิบัติการ  ข้อพิจารณาในขณะนั้น เป็นเรื่องของอธิปไตย ศาลจึงได้ตัดสินใจในข้อปฏิบัติการที่  1  ว่า พระวิหารอยู่ในกัมพูชา ไทยมีหน้าที่ถอนกำลังทาหร และอื่นๆ ออกไปจากพื้นที่ของกัมพูชาในแถบพระวิหารและเรื่องข้อปฏิบัติที่สามที่ครอบคลุมพื้นที่ขยายเกินขอบเขตพระวิหาร 

               สำหรับอธิปไตยเหนือพื้นที่ก็จเป็นบริเวณที่อยู่ใต้อธิปไตยของกัมพูชาอยู่ในพื้นที่เล็ก ๆ และพื้นที่ดังกล่าว เป็นคุณลักษณะของข้อพิพาทปี 1962  เรื่องอธิปไตยที่ศาลพิจารณาคือ คาบเกี่ยวทั้งที่พูดถึงในวรรคแรกและสาม ศาลสรุปว่า พื้นที่ที่พูดถึงในวรรค 1 และ 3  ปราสาทพระวิหารอยู่ในกัมพูชาและถือว่า เป็นการอ้างถืงวรรคสองและสามและพูดถึงบริเวณพระวิหาร ที่มีการร้องขอให้พิจารณา

               "ไทยได้รับว่า ไทยมีหน้าที่ตามกฏหมายที่จะเคารพ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ที่ไทยบอกว่า เป็นพื้นที่อธิปไตยกัมพูชา สองฝ่ายต้องทำตามพันธกรณี ทั้งสองมีหน้าที่แก้ไขปัญหา ข้อพิพาทด้วยวิธีการอื่น  ภายใต้การทำงานสองฝ่ายไทยกัมพูชาต้องคุยกันเอง ยูเนสโกต้องดูแลในฐานะดูแลมรดกโลก   ก็สรุปว่า วรรคหนึ่งข้อบทปฏิบัติการทั้งหลาย กัมพูชามีอธิปไตยเหนือชะง่อนผาที่ต้องมีไว้ตาม 1962 ไทยต้องถอนทหารทั้งหมดออกไป ตามย่อหน้า 108 เป็นส่วนบทปฏิบัติการ ซึ่งศาลมีมติเอกฉันท์ว่า ศาลมีอำนาจรับฟังการตีความตามวันที่ 15 มิ.ย.1962  คือ กัมพูชามีอำนาจตามอธิปไตยในพระวิหาร ไทยต้องมีพันธกรณีถอนเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทหาร ผู้เฝ้า"

 

http://www.komchadlu...111/172532.html
 

 

ศาลบอกว่า Annex1 อยู่ในสนธิสัญญาเชียวหรือ  ฟ้องฝรั่งเศสไปเลยว่าละเมิดอธิปไตย


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#607 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 08:39

ดูจากท่าทีแล้ว ทางฝั่งเขมรก็ งง เพราะเงียบเลย ไทยควรให้เขมรรื้อทุกอย่างที่ปลูกสร้างมา ถ้าไม่ย้าย ทหารไทยก็ไม่ต้องย้ายออกจากเขาพระวิหาร แหล่มมายิงเลย 



#608 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:11

 

มีความพยายามอยากให้ไทยเสียดินแดนจากทั้ง 2 รัฐบาล

เพื่อให้ไทยยอมรับแผนที่เขมร และแก้ไข ม.190 ไว้รองรับในการตกลงคุยกันในเรื่องพื้นที่ ในเรื่องสัญญา

 

 

 

อันนี้เห็นชัดว่ากล่าวหาเขาเอามันส์  ถ้า ปชป เอาด้วยจริง คงไม่ฟ้องศาลหรอกค่ะ ถ้าไม่รู้ก็รับรู้ซะเลยนะคะว่า ปชป เขาเอาร่างแก้ไขฉบับนี้ฟ้องศาล และศาลก็ประทับรับฟ้องแล้วด้วย  เฮ้อ...เพลีย  

 

 

 

ขอแนะนำว่า อย่าไปเชื่อถือนักการเมืองไทย เพราะจะมีแต่ทำให้ผิดหวัง

 

"เกียรติกร"ปูดปชป.แก้รธน.ม.190หวังผลเขมร-ญี่ปุ่นเซ็นสัญญาพื้นที่ทับซ้อน

http://www.matichon....pid=03&catid=03

 

วาระซ้อนเร้นอำมหิต !? แก้มาตรา 190 ปิดหูปิดตาประชาชนกรณีทำสัญญาเปลี่ยนอาณาเขต !

https://www.facebook...179058735442443

 



#609 เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,247 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:21

 

 

มีความพยายามอยากให้ไทยเสียดินแดนจากทั้ง 2 รัฐบาล

เพื่อให้ไทยยอมรับแผนที่เขมร และแก้ไข ม.190 ไว้รองรับในการตกลงคุยกันในเรื่องพื้นที่ ในเรื่องสัญญา

 

 

 

อันนี้เห็นชัดว่ากล่าวหาเขาเอามันส์  ถ้า ปชป เอาด้วยจริง คงไม่ฟ้องศาลหรอกค่ะ ถ้าไม่รู้ก็รับรู้ซะเลยนะคะว่า ปชป เขาเอาร่างแก้ไขฉบับนี้ฟ้องศาล และศาลก็ประทับรับฟ้องแล้วด้วย  เฮ้อ...เพลีย  

 

 

 

ขอแนะนำว่า อย่าไปเชื่อถือนักการเมืองไทย เพราะจะมีแต่ทำให้ผิดหวัง

 

"เกียรติกร"ปูดปชป.แก้รธน.ม.190หวังผลเขมร-ญี่ปุ่นเซ็นสัญญาพื้นที่ทับซ้อน

http://www.matichon....pid=03&catid=03

 

วาระซ้อนเร้นอำมหิต !? แก้มาตรา 190 ปิดหูปิดตาประชาชนกรณีทำสัญญาเปลี่ยนอาณาเขต !

https://www.facebook...179058735442443

 

 

 

แล้ว ปชป ต้องไปฟ้องศาลรัฐธรรมนูญทำไมคะ ถ้าอยากได้ ม190 อย่างที่อ้าง  ทำเฉยๆแล้วเอาขึ้นเวทีด่าเฉยๆไม่ดีกว่าหรือ ?


ทักษิณเป็นเทพเจ้าจริงๆนะ ไม่เชื่อถาม เสื้อแดง ดูสิ

#610 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:35

 

 

 

มีความพยายามอยากให้ไทยเสียดินแดนจากทั้ง 2 รัฐบาล

เพื่อให้ไทยยอมรับแผนที่เขมร และแก้ไข ม.190 ไว้รองรับในการตกลงคุยกันในเรื่องพื้นที่ ในเรื่องสัญญา

 

 

 

อันนี้เห็นชัดว่ากล่าวหาเขาเอามันส์  ถ้า ปชป เอาด้วยจริง คงไม่ฟ้องศาลหรอกค่ะ ถ้าไม่รู้ก็รับรู้ซะเลยนะคะว่า ปชป เขาเอาร่างแก้ไขฉบับนี้ฟ้องศาล และศาลก็ประทับรับฟ้องแล้วด้วย  เฮ้อ...เพลีย  

 

 

 

ขอแนะนำว่า อย่าไปเชื่อถือนักการเมืองไทย เพราะจะมีแต่ทำให้ผิดหวัง

 

"เกียรติกร"ปูดปชป.แก้รธน.ม.190หวังผลเขมร-ญี่ปุ่นเซ็นสัญญาพื้นที่ทับซ้อน

http://www.matichon....pid=03&catid=03

 

วาระซ้อนเร้นอำมหิต !? แก้มาตรา 190 ปิดหูปิดตาประชาชนกรณีทำสัญญาเปลี่ยนอาณาเขต !

https://www.facebook...179058735442443

 

 

 

แล้ว ปชป ต้องไปฟ้องศาลรัฐธรรมนูญทำไมคะ ถ้าอยากได้ ม190 อย่างที่อ้าง  ทำเฉยๆแล้วเอาขึ้นเวทีด่าเฉยๆไม่ดีกว่าหรือ ?

 

 

 

ปชป.ตอนเป็นฝ่ายค้านก็อย่าง ตอนเป็นรัฐบาลก็อีกอย่าง

 

สมัยก่อนปชป.เป็นรัฐบาลก็บอกว่าถ้าเป็นรัฐบาลจะลดราคาน้ำมัน เพราะเราผลิตได้ควรใช้ราคาบ้านเรา พอเป็นรัฐบาลก็ขึ้นภาษีน้ำมัน

หรือตอนนี้ทำมาบอกไม่ให้เพื่อไทยรับอำนาจศาลโลก แต่ตอนตัวเองเป็นรัฐบาลก็ไปรับมติศาลโลก โดยไม่ฟังเสียงคัดค้านปชช.

 

ผมไม่รู้คุณติดตามการเมืองมานานแค่ไหน แต่ขอแนะนำเลยว่า นักการเมืองไทย มันนักแสดงละคร

ด่าว่ากันแทบไม่เผาผี ผลประโยชน์ตรงไหนลงตัวก็ผสมพันธุ์กัน อย่างเช่นเรื่องพลังงาน

 

ที่เทพเทือกเป่านกหวีดปรี๊ดๆๆๆๆอยู่เนี่ย คิดว่าเขาคิดถึงชาติบ้านเมืองจริงๆ หรือแค่หวังผลทางการเมือง ? ก็ลองไปคิดเอาเอง



#611 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:44

 

 
จ้างนักวิชาการแดงล้มเจ้า 7.1 ล้าน จัดทำสื่อเผยแพร่ กล่อมคนไทยให้เห็นใจเพื่อนบ้าน อ้างเพื่อความสัมพันธ์อันดี เพื่อให้ยอมรับว่าพื้นที่ 4.6 เป็นของเขมร
http://manager.co.th...000674

การถอนทหารออกจากพื้นที่ 4.6
http://www.manager.c...D=9530000169202

สุเทพฯบอกว่าทะเลาะกันทำไมพื้นที่แค่แมวดิ้นตาย พูดโน้มน้าวให้เหมือนว่าพื้นที่ 4.6 ไม่สำคัญ

 

  แผนที่ 1 : 200,000
ปีศาจร้ายจากปี 2505 ถึงปี 2552 ! (ตอนที่ 2)

http://www.manager.c...D=9520000120120

 

 

ปชป.กอด MOU43 อย่างเหนียวแน่น แถมอภิสิทธิ์โกหกคนไทยว่า ฮุนเซนอยากยกเลิก MOU43
http://www.manager.c...D=9540000018212

แต่แค่ฮุนเซนเข้าใจผิดว่าไทยจะยกเลิก MOU43 ยังต้องไปฟ้อง UN
http://hilight.kapook.com/view/51099

อภิสิทธิ์ลักไก่ผลักดัน JBC เข้าสภา จนส.ส. ส.ว.ต่างโดดหนี
http://www2.manager....D=9530000156672

อภิสิทธิ์พาไทยไปศาลโลก
http://www.manager.c...D=9560000130618

ฮุนเซนออกมาแฉว่า สุเทพ หอบแผนที่บล็อคน้ำมันไปคุยที่เขมร 3 ครั้ง
http://hilight.kapook.com/view/62737

 

เมื่อรวมกับการพยายามแก้ไข ม.190 ของปชป. ก็ลองใช้สติปัญญาวิเคราะห์กันเอาเองว่าปชป.มีเจตนาอย่างไร
 
แต่สำหรับกล้าพูดเต็มปากเลยว่า ปชป.ขายชาติ 100%

Edited by กรกช, 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:47.


#612 เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

เพื่อไทยทำได้ทุกอย่าง

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,247 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:46

 

 

 

 

มีความพยายามอยากให้ไทยเสียดินแดนจากทั้ง 2 รัฐบาล

เพื่อให้ไทยยอมรับแผนที่เขมร และแก้ไข ม.190 ไว้รองรับในการตกลงคุยกันในเรื่องพื้นที่ ในเรื่องสัญญา

 

 

 

อันนี้เห็นชัดว่ากล่าวหาเขาเอามันส์  ถ้า ปชป เอาด้วยจริง คงไม่ฟ้องศาลหรอกค่ะ ถ้าไม่รู้ก็รับรู้ซะเลยนะคะว่า ปชป เขาเอาร่างแก้ไขฉบับนี้ฟ้องศาล และศาลก็ประทับรับฟ้องแล้วด้วย  เฮ้อ...เพลีย  

 

 

 

ขอแนะนำว่า อย่าไปเชื่อถือนักการเมืองไทย เพราะจะมีแต่ทำให้ผิดหวัง

 

"เกียรติกร"ปูดปชป.แก้รธน.ม.190หวังผลเขมร-ญี่ปุ่นเซ็นสัญญาพื้นที่ทับซ้อน

http://www.matichon....pid=03&catid=03

 

วาระซ้อนเร้นอำมหิต !? แก้มาตรา 190 ปิดหูปิดตาประชาชนกรณีทำสัญญาเปลี่ยนอาณาเขต !

https://www.facebook...179058735442443

 

 

 

แล้ว ปชป ต้องไปฟ้องศาลรัฐธรรมนูญทำไมคะ ถ้าอยากได้ ม190 อย่างที่อ้าง  ทำเฉยๆแล้วเอาขึ้นเวทีด่าเฉยๆไม่ดีกว่าหรือ ?

 

 

 

ปชป.ตอนเป็นฝ่ายค้านก็อย่าง ตอนเป็นรัฐบาลก็อีกอย่าง

 

สมัยก่อนปชป.เป็นรัฐบาลก็บอกว่าถ้าเป็นรัฐบาลจะลดราคาน้ำมัน เพราะเราผลิตได้ควรใช้ราคาบ้านเรา พอเป็นรัฐบาลก็ขึ้นภาษีน้ำมัน

หรือตอนนี้ทำมาบอกไม่ให้เพื่อไทยรับอำนาจศาลโลก แต่ตอนตัวเองเป็นรัฐบาลก็ไปรับมติศาลโลก โดยไม่ฟังเสียงคัดค้านปชช.

 

ผมไม่รู้คุณติดตามการเมืองมานานแค่ไหน แต่ขอแนะนำเลยว่า นักการเมืองไทย มันนักแสดงละคร

ด่าว่ากันแทบไม่เผาผี ผลประโยชน์ตรงไหนลงตัวก็ผสมพันธุ์กัน อย่างเช่นเรื่องพลังงาน

 

ที่เทพเทือกเป่านกหวีดปรี๊ดๆๆๆๆอยู่เนี่ย คิดว่าเขาคิดถึงชาติบ้านเมืองจริงๆ หรือแค่หวังผลทางการเมือง ? ก็ลองไปคิดเอาเอง

 

 

เป็นเหตุผลปัญญาอ่อนดีค่ะ  ความเห็นก่อนๆมีคนมาตอบว่า ที่ปชป พยายามแก้ ม.190 ก็เพื่อเพิ่มเติมบางประการเพื่อให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติได้ง่ายขึ้น เจ้าหน้าที่นะคะ ไม่ใช่เพื่อให้รัฐบาลตัดสินกันเองโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากสภา  แต่ดูเหมือนคุณไม่ใส่ใจกับคำตอบ ซึ่งก็เป็นเหตุเป็นผลดีกับท่าทีที่เขายื่นศาลในเวลานี้  แต่คุณกลับมาตอบหน้าตาเฉยว่าเป็นรัฐบาลก็อย่าง เป็นฝ่ายค้านก็อย่าง

 

คนเราอคติหนามันก็เห้นอะไรผิดเพี้ยนความจริงไปหมด อ้างข้างๆคูๆอะไรไม่รู้แล้วบอกเป้นเหตุผลที่น่าเชื่อถือ  คนมีปัญญาเขาไม่ได้มานั่งเชื่อข้ออ้างเลื่อนลอยแบบนี้หรอกค่ะ  เขามองกันที่การกระทำ  ที่เขาด่าไอ้แม้วเพราะการกระทำของมันชัดแจ้งว่าโกง  ไม่ใช่การกล่าวหา แต่ศาลตัดสินแล้ว ในขณะที่คุณใช้ข้อกล่าวหาและอคติหนาหนักในใจด่าปชปเหมือนคนบ้า  แม้แต่คำตอบนี้ก็ปัญญาอ่อนเหลือเชื่อ ลองอ่านคำตอบของคุณสิบเที่ยวค่ะ อาจจะนึกอายตัวเองขึ้นมามั่งก็ได้ 


ทักษิณเป็นเทพเจ้าจริงๆนะ ไม่เชื่อถาม เสื้อแดง ดูสิ

#613 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:51

คุณคลิ๊กเข้าไปอ่านลิงค์ปชป.แก้ม.190 หรือยัง ? ถ้ายังก็อ่านซะ เพราะตอบมาเหมือนไม่ได้อ่าน

 

แล้วก้กรุณาอ่าน คห.611 ที่ถัดขึ้นไปจากคุณด้วย ถ้าอ่านแล้วยังไม่ตาสว่างก็คงแล้วแต่เวรแต่กรรม



#614 robbo

robbo

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 580 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:58

 

 

 
จ้างนักวิชาการแดงล้มเจ้า 7.1 ล้าน จัดทำสื่อเผยแพร่ กล่อมคนไทยให้เห็นใจเพื่อนบ้าน อ้างเพื่อความสัมพันธ์อันดี เพื่อให้ยอมรับว่าพื้นที่ 4.6 เป็นของเขมร
http://manager.co.th...000674

การถอนทหารออกจากพื้นที่ 4.6
http://www.manager.c...D=9530000169202

สุเทพฯบอกว่าทะเลาะกันทำไมพื้นที่แค่แมวดิ้นตาย พูดโน้มน้าวให้เหมือนว่าพื้นที่ 4.6 ไม่สำคัญ

 

  แผนที่ 1 : 200,000
ปีศาจร้ายจากปี 2505 ถึงปี 2552 ! (ตอนที่ 2)

http://www.manager.c...D=9520000120120

 

 

ปชป.กอด MOU43 อย่างเหนียวแน่น แถมอภิสิทธิ์โกหกคนไทยว่า ฮุนเซนอยากยกเลิก MOU43
http://www.manager.c...D=9540000018212

แต่แค่ฮุนเซนเข้าใจผิดว่าไทยจะยกเลิก MOU43 ยังต้องไปฟ้อง UN
http://hilight.kapook.com/view/51099

อภิสิทธิ์ลักไก่ผลักดัน JBC เข้าสภา จนส.ส. ส.ว.ต่างโดดหนี
http://www2.manager....D=9530000156672

อภิสิทธิ์พาไทยไปศาลโลก
http://www.manager.c...D=9560000130618

ฮุนเซนออกมาแฉว่า สุเทพ หอบแผนที่บล็อคน้ำมันไปคุยที่เขมร 3 ครั้ง
http://hilight.kapook.com/view/62737

 

เมื่อรวมกับการพยายามแก้ไข ม.190 ของปชป. ก็ลองใช้สติปัญญาวิเคราะห์กันเอาเองว่าปชป.มีเจตนาอย่างไร
 
แต่สำหรับกล้าพูดเต็มปากเลยว่า ปชป.ขายชาติ 100%

 

 

สงสัยว่า ถ้า ปชป ขายชาติจริง 100% ด้วยตะหาก     แล้วทำไมฮุนเซ็นมันถึงเกลียดโกรธ ปชป และอภิสิทธิ์นักหนา

ถึงขนาดเอาทหารบุกไทยก็หลายครั้ง



#615 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:58

อันนี้แถมให้ เพื่อเอาไปประกอบการพิจารณา
 
 
....เกือบ 3 ปีแล้ว ที่คุณวีระ สมความคิด ได้ติดคุกอยู่ที่เขมร ซึ่งคนเราถ้าทำผิดจริง เจตนาไม่ดีจริง แล้วถูกจับติดคุก ก็คงพอทำใจยอมรับได้
แต่การเสียสละทำความดี เพื่อปกป้องคนไทย ปกป้องผืนแผ่นดินไทย ด้วยความรักชาติบ้านเมือง กลับต้องมาตกอยู่ในสภาพอย่างนั้น คุณวีระ คงเจ็บปวดมาก
และถือว่าเป็นเรื่องเลวร้ายมากสำหรับความยุติธรรม

เขมรจับ 7 คนไทยในพื้นที่พิพาท แต่แทนที่รัฐบาลปชป.จะสงวนท่าทีไว้ก่อน ตรวจสอบให้ละเอียดแน่ชัดก่อนว่า
จุดที่ถูกจับเป็นพื้นที่ใคร ก็กลับทำในสิ่งที่ไม่น่าเชื่อ ด้วยการรีบออกมาประกาศรายวันว่า คนไทยล้ำแดนเขมรเท่านั้นเท่านี้

ทำราวกับกลัวว่าคนไทยไม่ผิด ทั้งที่เรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ เป็นเรื่องของอาณาเขตอธิปไตยของชาติ และมีประชาชนของประเทศตัวเองตกเป็นจำเลย

จนต่อมากระแสสังคมเริ่มไม่พอใจ และมีชาวบ้านเจ้าของพื้นที่ และทหารที่เคยปฎิบัติหน้าที่พื้นที่นั้นออกมาให้ข่าวว่า
จุดที่คนไทยถูกจับ คือแผ่นดินไทย รัฐบาลจึงได้สงวนท่าที โดยอ้างว่าเป็นพื้นที่พิพาท

ส่วนเขมรไม่เคยบอกว่าเป็นพื้้นที่พิพาท แต่บอกเลยว่าตรงนั้นคือแผ่นดินเขา คนไทยบุกรุก
ซึ่งแทนที่รัฐบาลจะปฎิเสธ และต่อสู้ เพื่อปกป้องคนไทย และอธิปไตยของชาติ กลับไม่คิดจะต่อสู้

ขนาดเขมรใช้แผนที่มาตราส่วน 1-200,000 ของเขามาตัดสินคดี ซึ่งก็ย่อมทำให้กินพื้นที่เข้ามา แต่รัฐบาลก็ไม่คิดจะต่อสู้
ซึ่งก็เปรียบเสมือนว่าไปยอมรับแผนที่เขา ไปยอมรับว่าแผ่นดินตรงนั้นเป็นของเขมร แถมยังไปกล่อมให้คนไทยยอมรับสารภาพว่าบุกรุก

และข้อหาจารกรรมปัญญาอ่อน ที่เขมรยัดเยียดให้กับคุณวีระ และคุณราตรี รัฐบาลเองก็ต้องรู้อยู่แก่ใจว่า
ไม่ได้ใช้ให้คุณวีระ และคุณราตรี ไปจารกรรมอะไร แต่ก็ไม่ได้คิดจะปกป้องคนไทยเลย

ข้อมูลหลักฐานที่จะเอาไปใช้อ้างอิงสู้กับเขมรรัฐบาลก็ย่อมมี เช่น แผนที่ก่อนที่มีการเคลื่อนย้ายหลักเขต
หลักฐานที่ UN ขอใช้พื้นที่ไทยสร้างศูย์อพยพ ซึ่งเป็นหลักฐานสำคัญที่จะช่วยยืนยันได้ว่า บ่อน้ำ UN ยังไงก็ต้องอยู่ฝั่งไทย
เพราะคงไม่มีที่ไหนในโลก ที่จะไปสร้างศูนย์อพยพในประเทศคู่สงคราม ตรงนี้ก็ย่อมพิสูจน์ได้ว่าคนไทยถูกจับบนแผ่นดินไทย
 
เพราะคนไทยยังเดินไปไม่ถึงบ่อน้ำเลย

ใบสค.1ของชาวบ้านบริเวณบ่อน้ำ UN ก็มี ชาวบ้านเสียภาษีกันทุกปี การออกใบสค.1 ก็ต้องมีเจ้าหน้าที่จากหน่วยราชการมาทำรังวัด
ส่วนติดชายแดนก็ต้องยึดจากหลักเขต แล้วแผ่นดินตรงนั้นจะไปเป็นของเขมรไปได้ยังไง

แต่แทนที่จะนำหลักฐานตรงนี้ไปต่อสู้กับเขมร แต่อภิสิทธิ์กลับขอร้องไม่ให้ชาวบ้านในพื้นที่ๆมี.ใบส.ค.1 ที่อยู่บริเวณสระน้ำ UN
ให้สัมภาษณ์ว่า 7 คนไทยถูกจับในพื้นที่ใด อ้างว่ากลัวจะส่งผลกระทบต่อคดี
 
แต่กลับหักหลังชาวบ้าน ปล่อยให้ศิริโชค ออกมาโกหกว่าบ่อน้ำ UN และบ้านหนองจาน อยู่ฝั่งเขมร
http://www.manager.c...D=9540000005706

และให้ชาวบ้านซึ่งไม่ใช่เจ้าของที่ดิน และไม่ใช่ผู้เดือดร้อนจากการที่เขมรยึดครองที่ทำกิน ซึ่งชาวบ้านคนนี้ได้มาอาศัยอยู่ตอนหลัง
ให้สัมภาษณ์ออกสื่อด้วยข้อมูลอันเป็นโทษกับคุณ วีระ-ราตรี ก่อนวันที่ศาลเขมรจะพิจารณาคดีเพียง 1 วัน !!!
http://www.manager.c...D=9540000013660


 


#616 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:02

 

 

สงสัยว่า ถ้า ปชป ขายชาติจริง 100% ด้วยตะหาก     แล้วทำไมฮุนเซ็นมันถึงเกลียดโกรธ ปชป และอภิสิทธิ์นักหนา

ถึงขนาดเอาทหารบุกไทยก็หลายครั้ง

 

 

 

มีทั้งพึงพอใจกัน ด่ากัน ตามช่วงสถานการณ์ ขนาดฮุนเซนประกาศต้านทักษิณเอาใจปชป.ก็ยังเคย



#617 กรกช

กรกช

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,930 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:08

ข้อมูล ข้อเท็จจริงขนาดนั้น ถ้าใครอ่านทั้งหมดแล้วยังคิดว่าปชป.บริสุทธิ์ ผมว่ามีปัญหากับความเข้าใจในเรื่องเหตุผลแล้ว



#618 Majestic

Majestic

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,509 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:23

1451314_684025554948429_1856267689_n.jpg

เจอจากใน facebook รูปนี้พอจะให้เห็นภาพมากขึ้น แต่อาจจะไม่ตรงตามจริง 100%



#619 sunset

sunset

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 74 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 11:17

1451314_684025554948429_1856267689_n.jpg

เจอจากใน facebook รูปนี้พอจะให้เห็นภาพมากขึ้น แต่อาจจะไม่ตรงตามจริง 100%

รูปด้านล่าง ตรงกลาง  ผิดบานเลยครับ มันต้องคลุมไปทางซ้ายด้วย อีกพอควรเลย


Poo have 2 brain side.

 

  Left brain side have nothing right.

 

  Right brain side have nothing left.


#620 นักเรียนตลอดชีพ

นักเรียนตลอดชีพ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,024 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 11:23

 

 

'ศาลโลก'ไม่ชี้ขาด'เขตแดน'ภูมะเขือรอด! 'ศาลโลก'ไม่ชี้ขาด'เขตแดน'ภูมะเขือรอด!โยน'ยูเนสโก'ไกล่เกลี่ย

 

                11 พ.ย.56 นายเสข วรรณเมธี อธิบดีกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ แถลงยืนยันความพร้อมการถ่ายทอดสดศาลโลกอ่านคำตัดสินจากกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ต่อกรณีที่กัมพูชายื่นขอตีความเรื่องอาณาบริเวณรอบปราสาทพระวิหาร โดยจะถ่ายทอดสดการอ่านคำพิพากษาผ่านทางเว็บไซต์ของศาล www.icj-cij.org/homepage สามารถรับชมภาพ และรับฟังเสียงจริงในศาล เป็นภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส พร้อมกันนั้้นกระทรวงการต่างประเทศได้จัดแปลเป็นภาษาไทยแบบสดทางโมเดิร์นไนน์ทีวี (ช่อง 9) อีกทั้ง ยังสามารถเลือกรับฟังได้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (ช่อง 11) เป็นภาษาไทย

                นอกจากนี้ ยังติดตามได้ทางโซเชียลมีเดีย www.facebook.com/ThaiMFA และ www.twitter.com/mfathai  และยังมีการถ่ายทอดทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย FM 92.5 และ AM 891 เป็นภาษาไทย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย FM 88 เป็นภาษาอังกฤษ สถานีวิทยุ อสมท FM 100.5 และสถานีวิทยุสราญรมย์ AM 1575 เป็นภาษาไทย และยังสามารถรับฟังการอ่านคำตัดสินได้ทางเว็บไซต์ www.phraviharn.org และ saranrom.mfa.go.th เช่นเดียวกับผู้ที่ใช้สมาร์ทโฟนสามารถรับฟังผ่าน Mobile Application ของ อสมท. คือ MCOT App.

                นายเสข กล่าวต่อว่า ลำดับขั้นตอนการถ่ายทอดการอ่านคำพิจารณาคดี จะเริ่มตั้งแต่เวลา 15.00 น. ตามเวลาประเทศไทย ทางช่อง 9 และ 11 จะถ่ายทอดรายการพิเศษก่อนการอ่านคำตัดสิน จากนั้นเวลา 16.00 น. ตามเวลาไทยหรือตรงกับเวลา 10.00 น. ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ศาลจะเริ่มอ่านคำตัดสิน คาดว่าใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง หลังจากศาลอ่านคำตัดสินเสร็จแล้ว จากนั้นประมาณ 20 นาที นายวีรชัย พลาศรัย เอกอัครราชทูต ณ กรุงเฮก ในฐานะตัวแทนสู้คดีฝ่ายไทย จะให้สัมภาษณ์สด หลังจากนั้น น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม จะแถลงการณ์ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย และอีกประมาณ 40 นาที จะมีรายการพิเศษสัมภาษณ์นายพงษ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรี นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ก่อนที่นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รองนายกฯ และรมว.ต่างประเทศ จะแถลงสรุปภาพรวมทั้งหมดอีกครั้ง

                ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายเสข ได้เปิดให้คณะสื่อมวลชนเข้าชมศูนย์ข่าวที่กระทรวงการต่างประเทศจัดขึ้นเป็นการเฉพาะกิจ โดยได้พาชมห้องวอร์รูมกลาง ที่มีไว้ติดตามสถานการณ์และรับการถ่ายทอดสด ซึ่งภายในห้องมีการติดตั้งจอโปรเจกเตอร์ขนาดใหญ่ไว้ 3 จอ จากนั้นพาชมห้องล่ามแปลภาษา ที่มีล่ามแปลทั้งหมด 2 คน ห้องเทคนิคของช่อง 9 และ 11 และห้องถ่ายทอดรายการพิเศษ ที่จัดขึ้นห้องบัวแก้ว กระทรวงการต่างประเทศ

               อย่างไรก็ตาม นายเสข กล่าวถึงกรณีที่กลุ่มธรรมยาตราได้ออกมาเคลื่อนไหวอยู่ในพื้นที่ชายแดน จ.ศรีสะเกษว่า เป็นสิทธิสามารถกระทำได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้กรอบประชาธิปไตยและกฎหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งขณะนี้ ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ได้ชี้แจงทำความเข้าใจกับกลุ่มดังกล่าวและประชาชนในพื้นที่แล้ว เพื่อยืนยันว่า จะไม่เกิดการปะทะกันในพื้นที่ชายแดนแน่นอน

               "แม้ในระหว่างนี้ อาจมีข่าวสร้างความสับสนให้ประชาชนได้ ผมขอให้ประชาชนติดตามการถ่ายทอดสดและทำความเข้าใจข้อเท็จจริงที่กระทรวงการต่างประเทศเตรียมเผยแพร่ เพื่อป้องกันการเข้าใจคลาดเคลื่อน และย้ำให้ประชาชนอย่าเพิ่งด่วนตัดสินใจ ควรรอฟังคำตัดสิน โดยท่านวีรชัย จะแปลภาษากฎหมาย เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย” นายเสข กล่าว

               ล่าสุด เมื่อเวลา 16.00 น. ศาลโลกอ่านคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหารแล้ว  โดยกล่าวว่า กัมพูชาได้ยื่นคำร้อง และร้องขอให้ศาลตีความปราสาทพระวิหาร และหลังจากยื่นคำร้องแล้ว กัมพูชาได้อ้างถึงคำร้องธรรมนูญศาล และร้องขอให้มีมาตการชั่วคราว เพราะมีการล่วงล้ำของประเทศไทยเข้าสู่ดินแดนกัมพูชา โดยเมื่อวันที่ 18 ก.ค. ศาลก็มีมาตรการชั่วคราวให้แก่ทั้งสองฝ่ายในปี 2011

               โดยจะขอเริ่มต้นอ่านคำพิพาษาในวรรคที่ 14 ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในเทือกเขาดงรัก ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นพรมแดนสองประเทศคือ กัมพูชาตอนใต้ และไทยตอนเหนือ ในเดือน ก.พ.1904 กัมพูชาอยู่ใต้อารักขาของรัฐฝรั่งเศส ที่เทือกเขาดงรักเป็นไปตามสันปันน้ำ ซึ่งเป็นไปตามการประกาศของคณะกรรมการ เรื่องงานที่เสร็จสิ้่นคือ การเตรียมการและตีพิมพ์เผยแพร่แผนที่ที่ได้รับ ซึ่งภารกิจนั้นมอบให้เจ้าหน้าที่ฝรั่งเศส 4 นาย ต่อมาในปี 1907 ทีมก็ได้เตรียมแผนที่ 17 ระหว่าง อินโดจีนกับไทย และมีแผนที่ขึ้นมา มีคณะกรรมการปักปันระหว่างอินโดจีนกับสยาม ทำให้พระวิหารตกอยู่ในดินแดนกัมพูชา ปี 1953 ประเทศไทยได้ยึดครองปราสาทในปี 1954 แต่การเจราจาไม่เป็นผล ปี 1959 กัมพูชาร้องต่อศาล และไทยก็คัดค้านตามมา และศาลปฏิเสธการรับฟังของไทย และมีคำพิพาทเกิดขึ้นจริง ซึ่งเทือกเขาดงรักที่เรียกว่า แผนที่ภาคผนวก 1 นั้น อยู่ในกัมพูชา โดยมีผลบังคับระหว่างรัฐประเทศตามที่กัมพูชากล่าวอ้าง แต่ในแง่การมีผลผูกพันเหตุการณ์ระหว่างสองประเทศต้องยืนยันตามสันปันน้ำ

               ศาลพูดถึงข้อปฏิบัติการในคำพิพากษา ตัดสินว่า พระวิหารอยู่ในอธิปไตยของกัมพูชา และไทยมีผลผูกพัน หรือในบริเวณข้างเคียง และมีพันธะกรณีที่ต้องนำวัตถุทั้งหลายที่ได้นำออกไปให้นำส่งคืน หลังจากมีคำพิพากษา 1962 ไทยก็ได้ถอนกำลังออกจากพระวิหาร และมีการทำรั้วลวดหนาม หลังจากที่เป็นไปตามมติครม.ของไทยในวันที่ 11 ก.ค.1962 แต่ไม่มีการตีพิมพ์เผยแพร่

              ทั้งนี้ ศาลระบุว่า กัมพูชาได้ยื่นคำร้องต่อศาลซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นในเวลาหลังจากที่คำพิพกษา เป็นต้นมา ในมุมมองของไทยคือ ได้ออกจากบริเวณปราสาทและไทยได้กำหนดฝ่ายเดียวว่า เขตพระวิหารอยู่ที่ใดซึ่งตามคำพิพากษาในปี 1962 ได้กำหนดตำแหน่งเขตปราสาท ที่ไทยต้องถอนและได้จัดทำรั้ว ลวดหนาม ปราสาทไม่ได้เกินไปกว่าเส้นกำหนดตาม กัมพูชาประท้วงว่า ไทยถอนกำลังออกไปนั้นก็ได้ยอมรับว่า ปราสาทเป็นของกัมพูชาจริง แต่กัมพูชาได้ร้องว่า ไทยสร้างรั้วรุกไปในดินแดนกัมพูชาซึ่งไม่เป็นไปตามคำพิพากษาของศาลและในมุมมองของกัมพูชาต้องการเสนอยูเนสโก แสดงให้เห็นว่า ทั้งสองมีข้อพิพาทในความหมายและขอบเขตในคำพิพากษาปี 1962 จริง

               ศาลได้ดูสาระข้อพิพาทเพื่อให้แน่ใจว่า เป็นไปตามขอบเขตอำนาจศาล ม.60 ตามธรรมนูญศาลหรือไม่และเห็นว่าสองฝ่ายขัดแย้งกัน ซึ่งในข้อพิพาท 1962 ที่บอกว่า คำพิพากษามีผลบังคับใช้เป็นเส้นแบ่งเขตแดนสองประเทศ การพิจารณาครั้งนี้ศาลพิจารณาในจุดยืนของฝ่ายที่แสดงออกมาคือ ตามคำขอของกัมพูชา คือ มีสถานที่และได้ต่อสู้เพื่อขึ้นทะเบียนมรดกโลกก็มีมุมมองต่างกันของขอบเขตและบริเวณ ดินแดน

               โดยข้อที่ 1 ปราสาทอยู่ในดินแดนกัมพูชา ท้ายที่สุดศาลก็ได้ดูเรื่องปัญหาที่สองฝ่ายเห็นต่างคือ พันธกรณีการถอนกำลังออกจากปราสาท ในดินแดนของกัมพูชา และให้ข้อพิพากษาเรื่องการสื่อสารการเข้าใจของสองประเทศในการนำปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนมรดกโลกและการปะทะแสดงว่า มีความเข้าใจที่แตกต่างกันจริง คำพิพากษามีความสำคัญ 3 แง่ คือ คำพิพากษาไม่ได้ตัดสินว่า มีข้อผูกพันเป็นเขตแดนระหว่างสองประเทศหรือไม่ 2.มีความสัมพันธ์กรณีความหมายและขอบเขตของวลีที่ว่า บริเวณใดเป็นของกัมพูชา และ 3.มีข้อพิพาทในกรณีให้ไทยถอนกำลัง คือ เป็นเป็นไปตามข้อปฏิบัติข้อที่สอง

               เมื่อกัมพูชาได้ร้องขอ ศาลจึงรับคำร้องขอของกัมพูชา ศาลเห็นว่ามีข้อพิพาทของทั้งสองฝ่าย ตามข้อ 60 ของธรรมนูญศาล ด้วยเหตุนี้ศาลจึงมีอำนาจรับไว้พิจารณา ศาลจึงคำนึงถึงข้อ 60 ทำให้ขอบเขตมีความชัดเจนขึ้น ด้วยเหตุนี้ศาลจึงต้องดูอยู่ภายใต้ขอบเขตเคร่งครัด ไม่สามารถหยิบเรื่องที่ได้ข้อยุติไปแล้ว ดังนั้น การพิจารณาขอบเขตและความหมายจึงยึดถือข้อปฏิบัติที่ผ่านมา ซึ่งประเทศไทยได้ต่อสู้ว่า หลักการกฎหมายห้ามไม่ให้ศาลตีความเกินการตีความในปี 1962 และได้ถูกกล่าวย้ำในข้อต่อสู้ของคู่ความ อย่างไรก็ตาม ศาลไม่สามารถตีความที่ขัดแย้งกับคำพิพากษาในปี 1962 ได้ และกัมพูชาเห็นว่า ข้อสรุปในปี 1962 ทำให้เห็นว่า ศาลได้วินิจฉัยประเด็นต่างๆ ตามข้อวินิจฉัยในปี 1962 และขณะนั้นได้ใช้ข้อ 74 เป็นข้อบังคับในขณะนั้น ซึ่งไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของคำพิพากษา และบทสรุปเป็นเพียงบทสรุปของคำวินิจฉัย ไม่ถือเป็นปัจจัยที่มีผลกระทบต่อหลักปฏิบัติ

               ประเทศไทยยังได้กล่าวอ้างถึงพฤติกรรมของปี 1962 และเดือน ธ.ค. 2008 ที่มีเหตุการณ์ปะทุขึ้นมา คำพิพากษาไม่ถือว่า เป็นสนธิสัญญา หรือตราสารที่ผูกพันคู่ความ การตีความที่อาจจะมีผลกระทบกับพฤติกรรมต่อๆ ไป ดูได้จากสนธิสัญญา ณ กรุงเวียนนา การตีความ จะดูว่าศาลได้พิพากษาอะไร ขอบเขตและความหมายไม่อาจที่จะเปลี่ยนแปลงไปของพฤติกรรมของคู่ความ และการตีความศาลจะไม่พิจารณาในประเด็นนั้น มีลักษณะ 3 ประการในคำพิพากษา 1962

               1.พิจารณาว่า เป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยของปราสาทพระวิหาร และศาลไม่มีหน้าที่ปักปันเขตแดน ศาลจึงกลับไปดูคำพิพากษา 1962 โดยดูในคำคัดค้าน ว่า เป็นเขตอำนาจอธิปไตยมากกว่าเขตแดน ดังนั้น ข้อเรียกร้อง 1-2 ของกัมพูชาในภาคผนวก 1 ศาลจะรับเท่าที่เป็นเหตุ โดยไม่มีการกล่าวถึงภาคผนวก 1 หรือสถานที่ของเขตแดน ไม่มีการแนบแผนที่ในคำพิพากษา ประเด็นต่างๆ ที่คู่ความได้กล่าวอ้างก็มีความสำคัญในการกำหนดเขตแดน

               2.แผนที่ภาคผนวก 1 ประเด็นที่แท้จริงคือ คู่ความได้รับรองแผนที่ภาคผนวก 1 และเส้นแบ่งเขตแดน ที่เป็นผลจากคณะกรรมการปักปันเขตแดน และมีผลผูกพันหรือไม่ ศาลได้ดูพฤติกรรมของคู่ความในการเสด็จของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงนุภาพ ไปเยี่ยมชมปราสาทพระวิหารก็เหมือนการยอมรับโดยอ้อมของสยามในอธิปไตย ถือเป็นการยืนยันของประเทศไทยในเส้นแบ่งแดนภาคผนวก 1 ในปี 1908 และ 1909 ยอมรับในแผนที่ และยอมรับว่า เส้นแบ่งเขตแดนเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่นำไปสู่การยอมรับว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ในกัมพูชา ทำให้แผนที่ภาคผนวกอยู่ในสนธิสัญญา จึงเห็นว่าการตีความสนธิสัญญาจึงต้องชี้ขาดว่า เขตแบ่งตามแผนที่ 1

               3.ศาลมีความชัดเจนว่า ศาลดูเฉพาะบริเวณปราสาทฯ เท่านั้น ซึ่งเป็นบริเวณที่เล็กมาก และในปี 1962 กัมพูชากล่าวว่า ขอบเขตพิพาทนั้นเล็กมาก และถ้อยแถลงอื่นๆ ก็ไม่มีอะไรขัดแยังกันในปี 1962 และทันทีหลังจากมีคำพิพากษา ศาลได้อธิบายว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ทางตะวันออกของเทือกเขาดงรัก ในทางทั่วไปถือว่า เป็นเขตแดนของทั้งสองประเทศ ศาลเห็นว่า ปราสาทอยู่ในอธิปไตยของกัมพูชา แต่ต้องกลับมาในบทปฏิบัติการ 2 และ 3 ที่เห็นว่า ผลของคำพิพากษาที่ 1 ตำรวจที่ปฏิบัติการในปราสาทพระวิหารหรือบริเวณใกล้เคียงไม่มีการพูดถึงการถอนกำลัง และไม่มีการกล่าวถึงว่า หากถอนกำลังต้องถอนไปที่ใด พูดเพียงปราสาทและบริเวณใกล้เคียง ไม่มีการกำหนดว่า เจ้าหน้าที่ใดของไทยต้องถอน พูดเพียงว่าเจ้าหน้าที่ที่เฝ้ารักษาการหรือดูแล ศาลจึงเห็นว่า จะต้องเริ่มจากดูหลักฐานที่อยู่ต่อหน้าศาล และพยานหลักฐานเดียวคือ พยานหลักฐานที่ฝ่ายไทยได้นำเสนอ ซึ่งได้มีการเยือนไปยังปราสาทในปี 1961 แต่ในการซักค้านของฝ่ายกัมพูชา พยานเชี่ยวชาญของไทยบอกว่า มีแค่ผู้เฝ้ายาม 1 คน และตำรวจ มีการตั้งแคมป์ และไม่ไกลมีบ้านพักอยู่ และทนายฝ่ายไทย กล่าวว่า สถานีตำรวจอยู่ทางใต้ของแผนที่ภาคผนวก 1

               ต่อมาปี 1962 กัมพูชาได้เสนอข้อต่อสู้ว่า จะต้องใช้เส้นสันปันน้ำในการปักปันเขตแดน แต่ศาลเห็นว่า ไม่จำเป็นต้องใช้สันปันน้ำ ซึ่งฝ่ายไทยเห็นว่า สำคัญ เพราะการแบ่งเส้นต่างๆ มีความใกล้เคียงกันสันปันน้ำ การที่สถานีตำรวจตั้งใกล้สันปันน้ำ เป็นไปตามมติ ครม. เมื่อศาลสั่งให้ไทยถอนกำลัง ก็น่าจะมีความประสงค์ให้เจ้าหน้าที่ต่างๆ ตามคำเบิกความของไทย เนื่องจากไม่มีหลักฐานว่า มีเจ้าหน้าที่อื่นใด จึงเห็นว่าควรยาวไปถึงสถานที่ตั้งมั่นของสถานีตำรวจ เส้นแบ่งเขตแดนตามมติ ครม. จึงไม่ถือว่า เป็นเส้นแบ่งเขตแดน ศาลจึงเห็นว่า ชัดเจนมากตามภูมิศาสตร์ ที่ภาคตะวันตกเฉียงใต้มีหน้าผาที่ชัน และตะวันตกเฉียงเหนือก็เป็นที่ที่อยู่ในเทือกเขาดงรัก หุบเขาทั้งสองนี้เป็นช่องทางที่กัมพูชาสามารถเข้าถึงปราสาท ดังนั้น การทำความเข้าใจใกล้เคียงพระวิหาร ศาลจึงเห็นว่า เขตแดนกัมพูชาทางเหนือไม่เกินเส้นแบ่งเขตแดนตามภาคผนวก 1 และไม่ได้ระบุระยะที่ชัดเจน

              ศาลเห็นว่า เขตแดนกัมพูชาทางเหนือไม่เกินเส้นแบ่งภาคผนวก 1  ไม่ได้ระบุว่า เส้นทางชัดเจน แต่ชัดว่า ด่านตำรวจที่อยู่ใกล้เคียงกับแผนที่ภาคผนวก 1 ศาลพิจารณาพื้นที่จำกัดด้านตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ ว่า ถือเป็นพื้นที่กัมพูชา ศาลไม่สามารถรับคำจำกัดความเรื่องบริเวณใกล้เคียงที่ครอบคลุมชะง่อนผาและครอบคลุมกัมพูชาไม่ถือว่าภูมะเขืออยู่ในพระวิหาร ถือว่าพระวิหารเป็นส่วนหนึ่งของจว.นี้ แต่ก็ถือว่า ภูมะเขือเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องของกัมพูชาและขณะเดียวกันเล็กกว่าจะครอบคุลมทั้งพระวิหารและภูมะเขือ และภูมะเขือไม่ได้เป็นบริเวณสำคัญที่ศาลจะพิจารณา ไม่มีหลักฐานที่จะเสนอว่า มีเจ้าหน้าที่ทหารหรือกำลังไทยในบริเวณนั้น และไม่มีการพูดว่า ภูมะเขือมีส่วนสำคัญที่ไทยต้องถอนกำลัง

              การตีความที่จะกำหนดจุดต่าง ๆ   ศาลได้พิจารณาว่า ศาลไม่ได้กำหนดสันปันน้ำ จึงเป็นไปไม่ได้ที่ศาลจะพิจารณา เนื่องจากศาลได้กำหนดว่า อาณาบริเวณปราสาทพระวิหารเท่านั้น

              หลังการพิจาณาสรุปว่า คำพิพากษาปี  1962 ศาลไม่ได้พิจารณาที่กว้าง ดังนั้นไม่ได้มีความตั้งใจพิจารณาว่าพื้นที่ใกล้เคียงหรือภูมะเขืออยู่ในไทย การพิจารณา ปี 1962 ตามที่มีการร้องขอในกระบวนการพิจารณาได้มีการพิจารณาในส่วนของเขาพระวิหารด้านใต้   ตะวันออกใต้ ตะวันตกเฉียงใต้ ที่มีชะง่อนหน้าผา สองฝ่ายตกลงว่า พื้นที่อันนั้นอยุู่ในกัมพูชา และตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวโน้มลาดชันน้อยกว่าที่เป็นสิ่งแยกเขาพระวิหารออกจาภูมะเขือ ก่อนลาดลงสู่พื้นที่ราบกัมพูชา  ศาลพิจารณาว่า ภูมะเขืออยู่นอกพื้นที่ข้อพิพาท และปี 1962  ไม่ได้บอกว่า อยู่ในไทยหรือกัมพูชาชะง่อนหน้าผาพระวิหารและภูมะเขือ มีพื้นที่ที่เริ่มสูงขึ้น เป็นเส้นของแผนที่

               อย่างไรก็ตาม สองฝ่ายไม่สามารถหาทางออกแต่ฝ่ายเดียวได้ คำพิากษา 1962  ศาลพิจารณาเรื่องวัดที่เกี่ยวข้องในข้อบทปฏิบัติการข้อสามและจะทำให้เข้าใจข้อบทปฏิบัติการ  ข้อพิจารณาในขณะนั้น เป็นเรื่องของอธิปไตย ศาลจึงได้ตัดสินใจในข้อปฏิบัติการที่  1  ว่า พระวิหารอยู่ในกัมพูชา ไทยมีหน้าที่ถอนกำลังทาหร และอื่นๆ ออกไปจากพื้นที่ของกัมพูชาในแถบพระวิหารและเรื่องข้อปฏิบัติที่สามที่ครอบคลุมพื้นที่ขยายเกินขอบเขตพระวิหาร 

               สำหรับอธิปไตยเหนือพื้นที่ก็จเป็นบริเวณที่อยู่ใต้อธิปไตยของกัมพูชาอยู่ในพื้นที่เล็ก ๆ และพื้นที่ดังกล่าว เป็นคุณลักษณะของข้อพิพาทปี 1962  เรื่องอธิปไตยที่ศาลพิจารณาคือ คาบเกี่ยวทั้งที่พูดถึงในวรรคแรกและสาม ศาลสรุปว่า พื้นที่ที่พูดถึงในวรรค 1 และ 3  ปราสาทพระวิหารอยู่ในกัมพูชาและถือว่า เป็นการอ้างถืงวรรคสองและสามและพูดถึงบริเวณพระวิหาร ที่มีการร้องขอให้พิจารณา

               "ไทยได้รับว่า ไทยมีหน้าที่ตามกฏหมายที่จะเคารพ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ที่ไทยบอกว่า เป็นพื้นที่อธิปไตยกัมพูชา สองฝ่ายต้องทำตามพันธกรณี ทั้งสองมีหน้าที่แก้ไขปัญหา ข้อพิพาทด้วยวิธีการอื่น  ภายใต้การทำงานสองฝ่ายไทยกัมพูชาต้องคุยกันเอง ยูเนสโกต้องดูแลในฐานะดูแลมรดกโลก   ก็สรุปว่า วรรคหนึ่งข้อบทปฏิบัติการทั้งหลาย กัมพูชามีอธิปไตยเหนือชะง่อนผาที่ต้องมีไว้ตาม 1962 ไทยต้องถอนทหารทั้งหมดออกไป ตามย่อหน้า 108 เป็นส่วนบทปฏิบัติการ ซึ่งศาลมีมติเอกฉันท์ว่า ศาลมีอำนาจรับฟังการตีความตามวันที่ 15 มิ.ย.1962  คือ กัมพูชามีอำนาจตามอธิปไตยในพระวิหาร ไทยต้องมีพันธกรณีถอนเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทหาร ผู้เฝ้า"

 

http://www.komchadlu...111/172532.html
 

 

ศาลบอกว่า Annex1 อยู่ในสนธิสัญญาเชียวหรือ  ฟ้องฝรั่งเศสไปเลยว่าละเมิดอธิปไตย

 

 

ตามที่ผมสอบถามนักกฎหมาย เขาให้ความเห็นแบบนี้มาครับ 
 

 

 

นักกฏหมายท่านเดิม เพิ่มเติมข้อมูล มาครับ
 

1. ศาลโลก ปี 2505 บอกว่าถือว่าไทยรับแผนที่แล้ว โดยอ้างว่าไม่คัดค้านเท่ากับยอมรับ (แต่ไทยยังคัดค้าน)

 

2. ศาลโลก 2556 ยืนยันต่อว่าเรายอมรับแผนที่1:200,000ตามกฎหมายปิดปาก

 

3. ศาลอ้างว่าไม่วินิจฉัยเขตแดน วินิจฉัยแค่อธิปไตย เหนือพื้นที่ แต่บังคับเราให้รับแผนที่ แล้วบอกว่าเขตแดนไปปักปันกันเอง

 

ดังนั้น เราก็ควรคัดค้านแผนที่ ตอนปักปันเขตแดนจะได้ไม่มีปัญหา

 

 

 


.. เห็นได้ชัด ประชาธิปไตย เสียงส่วนใหญ่ ไม่ได้ทำให้ได้มา ซึ่งผู้นำที่เก่ง และ ฉลาด ..

ที่นำความอยู่ดี กินดี มาให้ประชาชนได้ แล้วคุณยังจะอ้างประชาธิปไตยเสียงส่วนใหญ่ทำไม


#621 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 12:35

 

 

 

'ศาลโลก'ไม่ชี้ขาด'เขตแดน'ภูมะเขือรอด! 'ศาลโลก'ไม่ชี้ขาด'เขตแดน'ภูมะเขือรอด!โยน'ยูเนสโก'ไกล่เกลี่ย

 

                11 พ.ย.56 นายเสข วรรณเมธี อธิบดีกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ แถลงยืนยันความพร้อมการถ่ายทอดสดศาลโลกอ่านคำตัดสินจากกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ต่อกรณีที่กัมพูชายื่นขอตีความเรื่องอาณาบริเวณรอบปราสาทพระวิหาร โดยจะถ่ายทอดสดการอ่านคำพิพากษาผ่านทางเว็บไซต์ของศาล www.icj-cij.org/homepage สามารถรับชมภาพ และรับฟังเสียงจริงในศาล เป็นภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส พร้อมกันนั้้นกระทรวงการต่างประเทศได้จัดแปลเป็นภาษาไทยแบบสดทางโมเดิร์นไนน์ทีวี (ช่อง 9) อีกทั้ง ยังสามารถเลือกรับฟังได้ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทย สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย (ช่อง 11) เป็นภาษาไทย

                นอกจากนี้ ยังติดตามได้ทางโซเชียลมีเดีย www.facebook.com/ThaiMFA และ www.twitter.com/mfathai  และยังมีการถ่ายทอดทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย FM 92.5 และ AM 891 เป็นภาษาไทย สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย FM 88 เป็นภาษาอังกฤษ สถานีวิทยุ อสมท FM 100.5 และสถานีวิทยุสราญรมย์ AM 1575 เป็นภาษาไทย และยังสามารถรับฟังการอ่านคำตัดสินได้ทางเว็บไซต์ www.phraviharn.org และ saranrom.mfa.go.th เช่นเดียวกับผู้ที่ใช้สมาร์ทโฟนสามารถรับฟังผ่าน Mobile Application ของ อสมท. คือ MCOT App.

                นายเสข กล่าวต่อว่า ลำดับขั้นตอนการถ่ายทอดการอ่านคำพิจารณาคดี จะเริ่มตั้งแต่เวลา 15.00 น. ตามเวลาประเทศไทย ทางช่อง 9 และ 11 จะถ่ายทอดรายการพิเศษก่อนการอ่านคำตัดสิน จากนั้นเวลา 16.00 น. ตามเวลาไทยหรือตรงกับเวลา 10.00 น. ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ศาลจะเริ่มอ่านคำตัดสิน คาดว่าใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง หลังจากศาลอ่านคำตัดสินเสร็จแล้ว จากนั้นประมาณ 20 นาที นายวีรชัย พลาศรัย เอกอัครราชทูต ณ กรุงเฮก ในฐานะตัวแทนสู้คดีฝ่ายไทย จะให้สัมภาษณ์สด หลังจากนั้น น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม จะแถลงการณ์ผ่านโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย และอีกประมาณ 40 นาที จะมีรายการพิเศษสัมภาษณ์นายพงษ์เทพ เทพกาญจนา รองนายกรัฐมนตรี นายสุรนันทน์ เวชชาชีวะ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ก่อนที่นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รองนายกฯ และรมว.ต่างประเทศ จะแถลงสรุปภาพรวมทั้งหมดอีกครั้ง

                ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายเสข ได้เปิดให้คณะสื่อมวลชนเข้าชมศูนย์ข่าวที่กระทรวงการต่างประเทศจัดขึ้นเป็นการเฉพาะกิจ โดยได้พาชมห้องวอร์รูมกลาง ที่มีไว้ติดตามสถานการณ์และรับการถ่ายทอดสด ซึ่งภายในห้องมีการติดตั้งจอโปรเจกเตอร์ขนาดใหญ่ไว้ 3 จอ จากนั้นพาชมห้องล่ามแปลภาษา ที่มีล่ามแปลทั้งหมด 2 คน ห้องเทคนิคของช่อง 9 และ 11 และห้องถ่ายทอดรายการพิเศษ ที่จัดขึ้นห้องบัวแก้ว กระทรวงการต่างประเทศ

               อย่างไรก็ตาม นายเสข กล่าวถึงกรณีที่กลุ่มธรรมยาตราได้ออกมาเคลื่อนไหวอยู่ในพื้นที่ชายแดน จ.ศรีสะเกษว่า เป็นสิทธิสามารถกระทำได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้กรอบประชาธิปไตยและกฎหมายที่กำหนดไว้ ซึ่งขณะนี้ ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ ได้ชี้แจงทำความเข้าใจกับกลุ่มดังกล่าวและประชาชนในพื้นที่แล้ว เพื่อยืนยันว่า จะไม่เกิดการปะทะกันในพื้นที่ชายแดนแน่นอน

               "แม้ในระหว่างนี้ อาจมีข่าวสร้างความสับสนให้ประชาชนได้ ผมขอให้ประชาชนติดตามการถ่ายทอดสดและทำความเข้าใจข้อเท็จจริงที่กระทรวงการต่างประเทศเตรียมเผยแพร่ เพื่อป้องกันการเข้าใจคลาดเคลื่อน และย้ำให้ประชาชนอย่าเพิ่งด่วนตัดสินใจ ควรรอฟังคำตัดสิน โดยท่านวีรชัย จะแปลภาษากฎหมาย เป็นภาษาที่เข้าใจง่าย” นายเสข กล่าว

               ล่าสุด เมื่อเวลา 16.00 น. ศาลโลกอ่านคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหารแล้ว  โดยกล่าวว่า กัมพูชาได้ยื่นคำร้อง และร้องขอให้ศาลตีความปราสาทพระวิหาร และหลังจากยื่นคำร้องแล้ว กัมพูชาได้อ้างถึงคำร้องธรรมนูญศาล และร้องขอให้มีมาตการชั่วคราว เพราะมีการล่วงล้ำของประเทศไทยเข้าสู่ดินแดนกัมพูชา โดยเมื่อวันที่ 18 ก.ค. ศาลก็มีมาตรการชั่วคราวให้แก่ทั้งสองฝ่ายในปี 2011

               โดยจะขอเริ่มต้นอ่านคำพิพาษาในวรรคที่ 14 ปราสาทพระวิหารตั้งอยู่ในเทือกเขาดงรัก ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นพรมแดนสองประเทศคือ กัมพูชาตอนใต้ และไทยตอนเหนือ ในเดือน ก.พ.1904 กัมพูชาอยู่ใต้อารักขาของรัฐฝรั่งเศส ที่เทือกเขาดงรักเป็นไปตามสันปันน้ำ ซึ่งเป็นไปตามการประกาศของคณะกรรมการ เรื่องงานที่เสร็จสิ้่นคือ การเตรียมการและตีพิมพ์เผยแพร่แผนที่ที่ได้รับ ซึ่งภารกิจนั้นมอบให้เจ้าหน้าที่ฝรั่งเศส 4 นาย ต่อมาในปี 1907 ทีมก็ได้เตรียมแผนที่ 17 ระหว่าง อินโดจีนกับไทย และมีแผนที่ขึ้นมา มีคณะกรรมการปักปันระหว่างอินโดจีนกับสยาม ทำให้พระวิหารตกอยู่ในดินแดนกัมพูชา ปี 1953 ประเทศไทยได้ยึดครองปราสาทในปี 1954 แต่การเจราจาไม่เป็นผล ปี 1959 กัมพูชาร้องต่อศาล และไทยก็คัดค้านตามมา และศาลปฏิเสธการรับฟังของไทย และมีคำพิพาทเกิดขึ้นจริง ซึ่งเทือกเขาดงรักที่เรียกว่า แผนที่ภาคผนวก 1 นั้น อยู่ในกัมพูชา โดยมีผลบังคับระหว่างรัฐประเทศตามที่กัมพูชากล่าวอ้าง แต่ในแง่การมีผลผูกพันเหตุการณ์ระหว่างสองประเทศต้องยืนยันตามสันปันน้ำ

               ศาลพูดถึงข้อปฏิบัติการในคำพิพากษา ตัดสินว่า พระวิหารอยู่ในอธิปไตยของกัมพูชา และไทยมีผลผูกพัน หรือในบริเวณข้างเคียง และมีพันธะกรณีที่ต้องนำวัตถุทั้งหลายที่ได้นำออกไปให้นำส่งคืน หลังจากมีคำพิพากษา 1962 ไทยก็ได้ถอนกำลังออกจากพระวิหาร และมีการทำรั้วลวดหนาม หลังจากที่เป็นไปตามมติครม.ของไทยในวันที่ 11 ก.ค.1962 แต่ไม่มีการตีพิมพ์เผยแพร่

              ทั้งนี้ ศาลระบุว่า กัมพูชาได้ยื่นคำร้องต่อศาลซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นในเวลาหลังจากที่คำพิพกษา เป็นต้นมา ในมุมมองของไทยคือ ได้ออกจากบริเวณปราสาทและไทยได้กำหนดฝ่ายเดียวว่า เขตพระวิหารอยู่ที่ใดซึ่งตามคำพิพากษาในปี 1962 ได้กำหนดตำแหน่งเขตปราสาท ที่ไทยต้องถอนและได้จัดทำรั้ว ลวดหนาม ปราสาทไม่ได้เกินไปกว่าเส้นกำหนดตาม กัมพูชาประท้วงว่า ไทยถอนกำลังออกไปนั้นก็ได้ยอมรับว่า ปราสาทเป็นของกัมพูชาจริง แต่กัมพูชาได้ร้องว่า ไทยสร้างรั้วรุกไปในดินแดนกัมพูชาซึ่งไม่เป็นไปตามคำพิพากษาของศาลและในมุมมองของกัมพูชาต้องการเสนอยูเนสโก แสดงให้เห็นว่า ทั้งสองมีข้อพิพาทในความหมายและขอบเขตในคำพิพากษาปี 1962 จริง

               ศาลได้ดูสาระข้อพิพาทเพื่อให้แน่ใจว่า เป็นไปตามขอบเขตอำนาจศาล ม.60 ตามธรรมนูญศาลหรือไม่และเห็นว่าสองฝ่ายขัดแย้งกัน ซึ่งในข้อพิพาท 1962 ที่บอกว่า คำพิพากษามีผลบังคับใช้เป็นเส้นแบ่งเขตแดนสองประเทศ การพิจารณาครั้งนี้ศาลพิจารณาในจุดยืนของฝ่ายที่แสดงออกมาคือ ตามคำขอของกัมพูชา คือ มีสถานที่และได้ต่อสู้เพื่อขึ้นทะเบียนมรดกโลกก็มีมุมมองต่างกันของขอบเขตและบริเวณ ดินแดน

               โดยข้อที่ 1 ปราสาทอยู่ในดินแดนกัมพูชา ท้ายที่สุดศาลก็ได้ดูเรื่องปัญหาที่สองฝ่ายเห็นต่างคือ พันธกรณีการถอนกำลังออกจากปราสาท ในดินแดนของกัมพูชา และให้ข้อพิพากษาเรื่องการสื่อสารการเข้าใจของสองประเทศในการนำปราสาทพระวิหารขึ้นทะเบียนมรดกโลกและการปะทะแสดงว่า มีความเข้าใจที่แตกต่างกันจริง คำพิพากษามีความสำคัญ 3 แง่ คือ คำพิพากษาไม่ได้ตัดสินว่า มีข้อผูกพันเป็นเขตแดนระหว่างสองประเทศหรือไม่ 2.มีความสัมพันธ์กรณีความหมายและขอบเขตของวลีที่ว่า บริเวณใดเป็นของกัมพูชา และ 3.มีข้อพิพาทในกรณีให้ไทยถอนกำลัง คือ เป็นเป็นไปตามข้อปฏิบัติข้อที่สอง

               เมื่อกัมพูชาได้ร้องขอ ศาลจึงรับคำร้องขอของกัมพูชา ศาลเห็นว่ามีข้อพิพาทของทั้งสองฝ่าย ตามข้อ 60 ของธรรมนูญศาล ด้วยเหตุนี้ศาลจึงมีอำนาจรับไว้พิจารณา ศาลจึงคำนึงถึงข้อ 60 ทำให้ขอบเขตมีความชัดเจนขึ้น ด้วยเหตุนี้ศาลจึงต้องดูอยู่ภายใต้ขอบเขตเคร่งครัด ไม่สามารถหยิบเรื่องที่ได้ข้อยุติไปแล้ว ดังนั้น การพิจารณาขอบเขตและความหมายจึงยึดถือข้อปฏิบัติที่ผ่านมา ซึ่งประเทศไทยได้ต่อสู้ว่า หลักการกฎหมายห้ามไม่ให้ศาลตีความเกินการตีความในปี 1962 และได้ถูกกล่าวย้ำในข้อต่อสู้ของคู่ความ อย่างไรก็ตาม ศาลไม่สามารถตีความที่ขัดแย้งกับคำพิพากษาในปี 1962 ได้ และกัมพูชาเห็นว่า ข้อสรุปในปี 1962 ทำให้เห็นว่า ศาลได้วินิจฉัยประเด็นต่างๆ ตามข้อวินิจฉัยในปี 1962 และขณะนั้นได้ใช้ข้อ 74 เป็นข้อบังคับในขณะนั้น ซึ่งไม่ถือเป็นส่วนหนึ่งของคำพิพากษา และบทสรุปเป็นเพียงบทสรุปของคำวินิจฉัย ไม่ถือเป็นปัจจัยที่มีผลกระทบต่อหลักปฏิบัติ

               ประเทศไทยยังได้กล่าวอ้างถึงพฤติกรรมของปี 1962 และเดือน ธ.ค. 2008 ที่มีเหตุการณ์ปะทุขึ้นมา คำพิพากษาไม่ถือว่า เป็นสนธิสัญญา หรือตราสารที่ผูกพันคู่ความ การตีความที่อาจจะมีผลกระทบกับพฤติกรรมต่อๆ ไป ดูได้จากสนธิสัญญา ณ กรุงเวียนนา การตีความ จะดูว่าศาลได้พิพากษาอะไร ขอบเขตและความหมายไม่อาจที่จะเปลี่ยนแปลงไปของพฤติกรรมของคู่ความ และการตีความศาลจะไม่พิจารณาในประเด็นนั้น มีลักษณะ 3 ประการในคำพิพากษา 1962

               1.พิจารณาว่า เป็นข้อพิพาทเกี่ยวกับอำนาจอธิปไตยของปราสาทพระวิหาร และศาลไม่มีหน้าที่ปักปันเขตแดน ศาลจึงกลับไปดูคำพิพากษา 1962 โดยดูในคำคัดค้าน ว่า เป็นเขตอำนาจอธิปไตยมากกว่าเขตแดน ดังนั้น ข้อเรียกร้อง 1-2 ของกัมพูชาในภาคผนวก 1 ศาลจะรับเท่าที่เป็นเหตุ โดยไม่มีการกล่าวถึงภาคผนวก 1 หรือสถานที่ของเขตแดน ไม่มีการแนบแผนที่ในคำพิพากษา ประเด็นต่างๆ ที่คู่ความได้กล่าวอ้างก็มีความสำคัญในการกำหนดเขตแดน

               2.แผนที่ภาคผนวก 1 ประเด็นที่แท้จริงคือ คู่ความได้รับรองแผนที่ภาคผนวก 1 และเส้นแบ่งเขตแดน ที่เป็นผลจากคณะกรรมการปักปันเขตแดน และมีผลผูกพันหรือไม่ ศาลได้ดูพฤติกรรมของคู่ความในการเสด็จของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงนุภาพ ไปเยี่ยมชมปราสาทพระวิหารก็เหมือนการยอมรับโดยอ้อมของสยามในอธิปไตย ถือเป็นการยืนยันของประเทศไทยในเส้นแบ่งแดนภาคผนวก 1 ในปี 1908 และ 1909 ยอมรับในแผนที่ และยอมรับว่า เส้นแบ่งเขตแดนเป็นเส้นแบ่งเขตแดนที่นำไปสู่การยอมรับว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ในกัมพูชา ทำให้แผนที่ภาคผนวกอยู่ในสนธิสัญญา จึงเห็นว่าการตีความสนธิสัญญาจึงต้องชี้ขาดว่า เขตแบ่งตามแผนที่ 1

               3.ศาลมีความชัดเจนว่า ศาลดูเฉพาะบริเวณปราสาทฯ เท่านั้น ซึ่งเป็นบริเวณที่เล็กมาก และในปี 1962 กัมพูชากล่าวว่า ขอบเขตพิพาทนั้นเล็กมาก และถ้อยแถลงอื่นๆ ก็ไม่มีอะไรขัดแยังกันในปี 1962 และทันทีหลังจากมีคำพิพากษา ศาลได้อธิบายว่า ปราสาทพระวิหารอยู่ทางตะวันออกของเทือกเขาดงรัก ในทางทั่วไปถือว่า เป็นเขตแดนของทั้งสองประเทศ ศาลเห็นว่า ปราสาทอยู่ในอธิปไตยของกัมพูชา แต่ต้องกลับมาในบทปฏิบัติการ 2 และ 3 ที่เห็นว่า ผลของคำพิพากษาที่ 1 ตำรวจที่ปฏิบัติการในปราสาทพระวิหารหรือบริเวณใกล้เคียงไม่มีการพูดถึงการถอนกำลัง และไม่มีการกล่าวถึงว่า หากถอนกำลังต้องถอนไปที่ใด พูดเพียงปราสาทและบริเวณใกล้เคียง ไม่มีการกำหนดว่า เจ้าหน้าที่ใดของไทยต้องถอน พูดเพียงว่าเจ้าหน้าที่ที่เฝ้ารักษาการหรือดูแล ศาลจึงเห็นว่า จะต้องเริ่มจากดูหลักฐานที่อยู่ต่อหน้าศาล และพยานหลักฐานเดียวคือ พยานหลักฐานที่ฝ่ายไทยได้นำเสนอ ซึ่งได้มีการเยือนไปยังปราสาทในปี 1961 แต่ในการซักค้านของฝ่ายกัมพูชา พยานเชี่ยวชาญของไทยบอกว่า มีแค่ผู้เฝ้ายาม 1 คน และตำรวจ มีการตั้งแคมป์ และไม่ไกลมีบ้านพักอยู่ และทนายฝ่ายไทย กล่าวว่า สถานีตำรวจอยู่ทางใต้ของแผนที่ภาคผนวก 1

               ต่อมาปี 1962 กัมพูชาได้เสนอข้อต่อสู้ว่า จะต้องใช้เส้นสันปันน้ำในการปักปันเขตแดน แต่ศาลเห็นว่า ไม่จำเป็นต้องใช้สันปันน้ำ ซึ่งฝ่ายไทยเห็นว่า สำคัญ เพราะการแบ่งเส้นต่างๆ มีความใกล้เคียงกันสันปันน้ำ การที่สถานีตำรวจตั้งใกล้สันปันน้ำ เป็นไปตามมติ ครม. เมื่อศาลสั่งให้ไทยถอนกำลัง ก็น่าจะมีความประสงค์ให้เจ้าหน้าที่ต่างๆ ตามคำเบิกความของไทย เนื่องจากไม่มีหลักฐานว่า มีเจ้าหน้าที่อื่นใด จึงเห็นว่าควรยาวไปถึงสถานที่ตั้งมั่นของสถานีตำรวจ เส้นแบ่งเขตแดนตามมติ ครม. จึงไม่ถือว่า เป็นเส้นแบ่งเขตแดน ศาลจึงเห็นว่า ชัดเจนมากตามภูมิศาสตร์ ที่ภาคตะวันตกเฉียงใต้มีหน้าผาที่ชัน และตะวันตกเฉียงเหนือก็เป็นที่ที่อยู่ในเทือกเขาดงรัก หุบเขาทั้งสองนี้เป็นช่องทางที่กัมพูชาสามารถเข้าถึงปราสาท ดังนั้น การทำความเข้าใจใกล้เคียงพระวิหาร ศาลจึงเห็นว่า เขตแดนกัมพูชาทางเหนือไม่เกินเส้นแบ่งเขตแดนตามภาคผนวก 1 และไม่ได้ระบุระยะที่ชัดเจน

              ศาลเห็นว่า เขตแดนกัมพูชาทางเหนือไม่เกินเส้นแบ่งภาคผนวก 1  ไม่ได้ระบุว่า เส้นทางชัดเจน แต่ชัดว่า ด่านตำรวจที่อยู่ใกล้เคียงกับแผนที่ภาคผนวก 1 ศาลพิจารณาพื้นที่จำกัดด้านตะวันออก ตะวันออกเฉียงเหนือ ว่า ถือเป็นพื้นที่กัมพูชา ศาลไม่สามารถรับคำจำกัดความเรื่องบริเวณใกล้เคียงที่ครอบคลุมชะง่อนผาและครอบคลุมกัมพูชาไม่ถือว่าภูมะเขืออยู่ในพระวิหาร ถือว่าพระวิหารเป็นส่วนหนึ่งของจว.นี้ แต่ก็ถือว่า ภูมะเขือเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องของกัมพูชาและขณะเดียวกันเล็กกว่าจะครอบคุลมทั้งพระวิหารและภูมะเขือ และภูมะเขือไม่ได้เป็นบริเวณสำคัญที่ศาลจะพิจารณา ไม่มีหลักฐานที่จะเสนอว่า มีเจ้าหน้าที่ทหารหรือกำลังไทยในบริเวณนั้น และไม่มีการพูดว่า ภูมะเขือมีส่วนสำคัญที่ไทยต้องถอนกำลัง

              การตีความที่จะกำหนดจุดต่าง ๆ   ศาลได้พิจารณาว่า ศาลไม่ได้กำหนดสันปันน้ำ จึงเป็นไปไม่ได้ที่ศาลจะพิจารณา เนื่องจากศาลได้กำหนดว่า อาณาบริเวณปราสาทพระวิหารเท่านั้น

              หลังการพิจาณาสรุปว่า คำพิพากษาปี  1962 ศาลไม่ได้พิจารณาที่กว้าง ดังนั้นไม่ได้มีความตั้งใจพิจารณาว่าพื้นที่ใกล้เคียงหรือภูมะเขืออยู่ในไทย การพิจารณา ปี 1962 ตามที่มีการร้องขอในกระบวนการพิจารณาได้มีการพิจารณาในส่วนของเขาพระวิหารด้านใต้   ตะวันออกใต้ ตะวันตกเฉียงใต้ ที่มีชะง่อนหน้าผา สองฝ่ายตกลงว่า พื้นที่อันนั้นอยุู่ในกัมพูชา และตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวโน้มลาดชันน้อยกว่าที่เป็นสิ่งแยกเขาพระวิหารออกจาภูมะเขือ ก่อนลาดลงสู่พื้นที่ราบกัมพูชา  ศาลพิจารณาว่า ภูมะเขืออยู่นอกพื้นที่ข้อพิพาท และปี 1962  ไม่ได้บอกว่า อยู่ในไทยหรือกัมพูชาชะง่อนหน้าผาพระวิหารและภูมะเขือ มีพื้นที่ที่เริ่มสูงขึ้น เป็นเส้นของแผนที่

               อย่างไรก็ตาม สองฝ่ายไม่สามารถหาทางออกแต่ฝ่ายเดียวได้ คำพิากษา 1962  ศาลพิจารณาเรื่องวัดที่เกี่ยวข้องในข้อบทปฏิบัติการข้อสามและจะทำให้เข้าใจข้อบทปฏิบัติการ  ข้อพิจารณาในขณะนั้น เป็นเรื่องของอธิปไตย ศาลจึงได้ตัดสินใจในข้อปฏิบัติการที่  1  ว่า พระวิหารอยู่ในกัมพูชา ไทยมีหน้าที่ถอนกำลังทาหร และอื่นๆ ออกไปจากพื้นที่ของกัมพูชาในแถบพระวิหารและเรื่องข้อปฏิบัติที่สามที่ครอบคลุมพื้นที่ขยายเกินขอบเขตพระวิหาร 

               สำหรับอธิปไตยเหนือพื้นที่ก็จเป็นบริเวณที่อยู่ใต้อธิปไตยของกัมพูชาอยู่ในพื้นที่เล็ก ๆ และพื้นที่ดังกล่าว เป็นคุณลักษณะของข้อพิพาทปี 1962  เรื่องอธิปไตยที่ศาลพิจารณาคือ คาบเกี่ยวทั้งที่พูดถึงในวรรคแรกและสาม ศาลสรุปว่า พื้นที่ที่พูดถึงในวรรค 1 และ 3  ปราสาทพระวิหารอยู่ในกัมพูชาและถือว่า เป็นการอ้างถืงวรรคสองและสามและพูดถึงบริเวณพระวิหาร ที่มีการร้องขอให้พิจารณา

               "ไทยได้รับว่า ไทยมีหน้าที่ตามกฏหมายที่จะเคารพ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ที่ไทยบอกว่า เป็นพื้นที่อธิปไตยกัมพูชา สองฝ่ายต้องทำตามพันธกรณี ทั้งสองมีหน้าที่แก้ไขปัญหา ข้อพิพาทด้วยวิธีการอื่น  ภายใต้การทำงานสองฝ่ายไทยกัมพูชาต้องคุยกันเอง ยูเนสโกต้องดูแลในฐานะดูแลมรดกโลก   ก็สรุปว่า วรรคหนึ่งข้อบทปฏิบัติการทั้งหลาย กัมพูชามีอธิปไตยเหนือชะง่อนผาที่ต้องมีไว้ตาม 1962 ไทยต้องถอนทหารทั้งหมดออกไป ตามย่อหน้า 108 เป็นส่วนบทปฏิบัติการ ซึ่งศาลมีมติเอกฉันท์ว่า ศาลมีอำนาจรับฟังการตีความตามวันที่ 15 มิ.ย.1962  คือ กัมพูชามีอำนาจตามอธิปไตยในพระวิหาร ไทยต้องมีพันธกรณีถอนเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทหาร ผู้เฝ้า"

 

http://www.komchadlu...111/172532.html
 

 

ศาลบอกว่า Annex1 อยู่ในสนธิสัญญาเชียวหรือ  ฟ้องฝรั่งเศสไปเลยว่าละเมิดอธิปไตย

 

 

ตามที่ผมสอบถามนักกฎหมาย เขาให้ความเห็นแบบนี้มาครับ 
 

 

 

นักกฏหมายท่านเดิม เพิ่มเติมข้อมูล มาครับ
 

1. ศาลโลก ปี 2505 บอกว่าถือว่าไทยรับแผนที่แล้ว โดยอ้างว่าไม่คัดค้านเท่ากับยอมรับ (แต่ไทยยังคัดค้าน)

 

2. ศาลโลก 2556 ยืนยันต่อว่าเรายอมรับแผนที่1:200,000ตามกฎหมายปิดปาก

 

3. ศาลอ้างว่าไม่วินิจฉัยเขตแดน วินิจฉัยแค่อธิปไตย เหนือพื้นที่ แต่บังคับเราให้รับแผนที่ แล้วบอกว่าเขตแดนไปปักปันกันเอง

 

ดังนั้น เราก็ควรคัดค้านแผนที่ ตอนปักปันเขตแดนจะได้ไม่มีปัญหา

 

 

 

 

 

http://www.oknation....t.php?id=341355

 

ว่าด้วย สนธิสัญญา และ แผนที่ไทย(สยาม)-กัมพูชา: พรมแดนความ ไม่รับรู้ของสื่อสาธารณะ

 

 

โดย อ.อัครพงษ์ ค่ำคูณ/วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 ในทัศนะของผม พรมแดนความรับรู้เกี่ยวกับ สนธิสัญญา พรมแดน และแผนที่ ไทย-กัมพูชา ค่อนข้างแตกต่างมากจากสิ่งที่ปรากฏในนำเสนอของบรรดาสื่อสารมวลชนไทยในปัจจุบัน รวมทั้งบรรดา “ผู้รู้อิสระ” ทั้งหลายที่ออกมาให้สัมภาษณ์ในช่วงเวลาที่ผ่านมา
 ดังนั้นจึงขอโอกาสนำเสนอ พรมแดนความไม่รับรู้ หรือ ไม่ถูกนำเสนอผ่านสื่อสารมวลชนสาธารณะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้อเท็จจริงและหลักฐานเกี่ยวกับ สนธิสัญญา และแผนที่ไทย(สยาม)-กัมพูชา
 ประการแรก สนธิสัญญา พ.ศ.2447/ค.ศ.1904 และ สนธิสัญญา พ.ศ.2450/ค.ศ.1907 และแผนที่ภาคผนวก 1 หรือ MAP ANNEX 1 กล่าวคือ บทบัญญัติที่เกี่ยวข้องในสนธิสัญญาระหว่างพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลที่ 5 กับฝรั่งเศส ฉบับวันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2447/ค.ศ.1904 นั้น มาตรา 1 กำหนดให้ “เส้นเขตแดน คือ สันปันน้ำ” ซึ่งคำว่า “เส้นสันปันน้ำ” นี่เอง ได้ถูกนำมาเป็นข้อถกเถียง เรื่องดินแดนและอธิปไตยของไทยเหนือเขาพระวิหารบนเทือกเขาพนมดงรัก
 แต่เอาเข้าจริงแล้ว ใน มาตรา 3 ของสนธิสัญญาฉบับเดียวกันนี้ ก็ได้ระบุเอาไว้ด้วยเช่นกันว่า
 “ให้มีการปักปันเขตแดนระหว่างราชอาณาจักรสยามกับดินแดนที่ประกอบเป็นอินโดจีนฝรั่งเศส การปักปันนี้ให้กระทำโดยคณะกรรมการผสมประกอบด้วยพนักงานซึ่งประเทศภาคีทั้งสองแต่งตั้ง” หมายความว่า แม้สนธิสัญญาจะกำหนดให้ “เส้นเขตแดน คือ สันปันน้ำ” แต่ “แนวเขตแดนที่แน่นอนจะได้กำหนดขึ้นโดยคณะกรรมการผสมฝรั่งเศส-สยาม” โดยมี พลเอก หม่อมชาติเดชอุดม เป็นประธานฝ่ายสยาม และ พันตรี แบร์นารด์ เป็นประธานฝ่ายฝรั่งเศส
 ต่อมา สนธิสัญญาครั้งหลังสุดในวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2450/ค.ศ.1907 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชดำเนินไปลงสัตยาบันกับฝรั่งเศสด้วยพระองค์เอง โดยตกลงยกพระตะบอง เสียมเรียบ และศรีโสภณ เพื่อแลกกับด่านซ้ายและตราด รวมทั้งหมู่เกาะต่างๆ ของอำเภอแหลมงอบในปัจจุบัน เพื่อรักษาเอกราชและอธิปไตยส่วนใหญ่ของประเทศเอาไว้
 สนธิสัญญาทั้งสองฉบับนี้เอง ทำให้เกิดแผนที่ไทย(สยาม)-กัมพูชาขึ้น และพิมพ์สำเร็จเป็นครั้งแรกใน 1 ปี ต่อมาคือ พ.ศ.2451/ค.ศ.1908 และหนึ่งในแผนที่จำนวน 11 ระวาง ที่ถูกพิมพ์ขึ้นในชุดเดียวกันนี้ ก็ปรากฏเส้นเขตแดนตามแผนที่ระวางชื่อ “Dangrek” มีสัญลักษณ์ระบุอย่างชัดเจนว่าที่ตั้งของปราสาทพระวิหาร “Preas Vihear” อยู่ในเขตแดนของกัมพูชา [แผนที่ฉบับนี้หาได้จาก Google โดยพิมพ์คำว่า Dangrek แล้วเลือกรูปภาพขนาดใหญ่พิเศษ]
 ประการที่สอง กรณี “ศาสตราจารย์” ผู้รู้ทางกฏหมายของไทยท่านหนึ่ง ให้ “คำอธิบาย” ว่า แผนที่ไทย(สยาม)-กัมพูชา “เป็นการทำของฝรั่งเศสแต่เพียงฝ่ายเดียว ไม่ถือว่าเป็นหลักฐานและสนธิสัญญา” แต่ “คำอธิบาย” ของผู้รู้ท่านนี้ ขัดแย้งต่อหลักฐานและข้อเท็จจริง
 กล่าวคือ แม้ว่า คณะกรรมการผสมสองฝ่ายไม่ได้ทำงานร่วมกันอย่างต่อเนื่อง และกระบวนการปักปันเขตแดนส่วนใหญ่กระทำขึ้น โดยฝ่ายฝรั่งเศส แต่ในที่สุดเมื่อมีตีพิมพ์แผนที่แล้วเสร็จในปี พ.ศ.2451/ค.ศ.1908 ฝ่ายสยามก็ยอมรับแผนที่ดังกล่าวไว้ และเอาเข้าจริงแล้ว แผนที่ภาคผนวก 1 หรือ MAP ANNEX 1 ที่กัมพูชาใช้แนบคำฟ้องเพื่อสู้คดีปราสาทพระวิหารในศาลโลก เมื่อปี พ.ศ.2502-2505/ค.ศ.1959-1962 ก็คือแผนที่แผ่นเดียวกันกับ แผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ระวางชื่อ “Dangrek” หนึ่งในแผนที่ ทั้งหมด 11 ระวาง ระวางละ 50 แผ่น ได้แก่ 1.Maekhop and Chianglom 2.rivers in the north 3.Muang Nan  4.Paklai 5.Huang River 6.Pasak 7.Mekong 8.Dangrek 9.Phnom Kulen 10.Lake และ 11.Muang Trat
 จากเอกสารราชการสถานทูตสยามในปารีส เลขที่ 89/525 ลงวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ.2451/1908 หม่อมเจ้า จรูญศักดิ์ กฤษดากร อัครราชทูตสยามประจำฝรั่งเศส ทรงกล่าวถึง “คณะกรรมการผสม - Mixed Commission of Delimitation” ว่า “ได้ทำหน้าที่สำเร็จแล้ว” และทรงรับแผนที่ชุดนี้มาจาก “Captain Tixier” เพื่อส่งมาถวาย สมเด็จกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ เสนาบดีกระทรวงต่างประเทศ ของสยามขณะนั้น ซึ่งส่งมายังประเทศสยามทั้งหมด 11 ระวาง ระวางละ 44 แผ่น โดย ทรงเก็บไว้ที่สถานทูตในฝรั่งเศสระวางละ 2 แผ่น และส่งไปยังสถานทูตสยามแห่งอื่นๆ ได้แก่ ลอนดอน เบอร์ลิน รัสเซีย และสหรัฐอเมริกา แห่งละ 1 ชุด (ทั้ง 11 ระวางๆ ละ 1 แผ่น)
 ดังนั้น แผนที่ภาคผนวก 1 หรือ MAP ANNEX 1 จึงเป็นที่รับรู้ของฝ่ายสยามมาโดยตลอด ตั้งแต่ปี พ.ศ.2451/ค.ศ.1908 หากจะมี “ผู้รู้อิสระ” บางท่านกล่าวว่า “เป็นแผนที่ซึ่งฝรั่งเศสทำปลอมขึ้นทีหลัง เพื่อให้ฝ่ายกัมพูชาเอาไปใช้สู้คดีในศาลโลก” จำต้องพิจารณาให้ถี่ถ้วนในถ้อยคำดังกล่าว เพราะแผนที่นี้ ปัจจุบันก็มีอยู่ที่กระทรวงต่างประเทศของไทย พิมพ์โดย H.BARRÈRE, Edituer Geographe.21 Rue du Bac, PARIS.   
  ประการที่สาม การรณรงค์ดินแดนที่เรียกว่า “มนฑลบูรพา” โดยอ้างอิง อนุสัญญาโตเกียว พ.ศ.2484 (ค.ศ.1941) ซึ่งทำให้ฝ่ายไทยได้เข้าไปครอบครองดินแดนกัมพูชาที่ จังหวัดพระตะบอง และ เสียมเรียบที่ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น “จังหวัดพิบูลสงคราม” รวมทั้งดินแดนลาวที่ “จังหวัดลานช้าง” และ “จังหวัดจำปาศักดิ์”
 แต่เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงมีการลงนามในสนธิสัญญาอีกหนึ่งฉบับคือ สนธิสัญญาวอชิงตัน พ.ศ.2489 (ค.ศ.1946) ระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับรัฐบาลไทย ซึ่งกำหนดให้ฝ่ายไทย ต้องถอนกำลังทหารออกจากดินแดนทั้งหมด ที่ไทยเคยบุกเข้าไปครอบครองในช่วงสงคราม เนื่องจากรัฐบาลไทยนำโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ได้ร่วมมือกับฝ่ายอักษะ คือ ญี่ปุ่น ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ แต่เพราะมีขบวนการเสรีไทยที่นำโดย ดร.ปรีดี พนมยงค์ ทำให้ประเทศไทยไม่ต้องตกอยู่ในฐานะประเทศแพ้สงครามในครั้งนั้น
 เพราะฉะนั้น หากจะอ้างอิง อนุสัญญาโตเกียว พ.ศ.2484 (ค.ศ.1941) ก็จำเป็นต้องให้ข้อมูลกับสาธารณะชนว่ายังมี สนธิสัญญาวอชิงตัน พ.ศ.2489 (ค.ศ.1946) ด้วยเช่นกัน และถึงแม้จะมีข้อถกเถียงว่า “รัฐบาลมิได้ขอสัตยาบันจากรัฐสภา” แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้เช่นกันว่า รัฐบาลในขณะนั้น ก็คือ ขบวนการเสรีไทย ทำให้ประเทศชาติของเรารอดพ้นจากสถานะ “ประเทศผู้แพ้สงคราม” สามารถดำรงความเป็นเอกราชและอธิปไตยมาได้จนถึงปัจจุบัน
 ประการสุดท้าย  กรณีที่ “ผู้รู้อิสระ” ท่านหนึ่งออกมาโพนทะนาว่า “ค้นพบแผนที่ลับ” ของฝรั่งเศส นั้น แท้จริงแล้ว แผนที่ดังกล่าว เป็นเพียงแผนที่ประกอบบทความซึ่งปรากฏอยู่ใน “Les relations de la France et du Siam 1860-1907” ซึ่งตัดตอนมาจากบทความในวารสารแห่งกองทหารฝรั่งเศสในอาณานิคม เขียนโดย ร้อยเอกโซฟ (le capitaine SEAUVE) อดีตสมาชิกในคณะสำรวจปาวี (Mission Pavie) ซึ่งเดินทางเข้ามาสำรวจทำแผนที่ในปี พ.ศ.2426 เพื่อกำหนดเขตแดนระหว่างไทยกับกัมพูชาและลาวอันเป็นดินแดนที่อยู่ในอารักขาของฝรั่งเศส
 ปัจจุบันบทความดังกล่าว กรมศิลปากรได้ทำการแปลเป็นภาษาไทย และจัดพิมพ์เป็นหนังสือชื่อ “สัมพันธภาพของประเทศฝรั่งเศสกับประเทศสยาม พ.ศ.2223-2450” เมื่อปี พ.ศ.2544 โดยแปลจากต้นฉบับภาษาฝรั่งเศส โดย อาจารย์นันทพร บรรลือสินธุ์ [หาได้ตามศูนย์หนังสือทั่วไป เช่น ที่ศูนย์หนังสือจุฬาฯ ขาย 72 บาท]
 แผนที่ดังกล่าว ปรากฏในหนังสือหน้าที่ 178 ซึ่งวาดขึ้นเพื่อประกอบบทความ ว่าด้วยอาณาบริเวณที่สยามกับฝรั่งเศสนำมาแลกกันตามสนธิสัญญาลงวันที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2450/ค.ศ.1907 ระบุไว้ว่า “CONVENTION DU 23 MARS 1907” ซึ่งวาดขึ้นโดยไม่ระบุพิกัดองศาเส้นรุ้งและเส้นแวง รวมทั้งไม่ปรากฏสัญลักษณ์หรือระบุที่ตั้งของปราสาทพระวิหารแต่อย่างใด และด้านล่างของแผนที่ มีภาษาฝรั่งเศสระบุว่า “Revue des troupes colonials n°65” โดยมี Henri CHARLES-LAVAUZELLE เป็น ผู้พิมพ์ [ในเอกสารใช้คำภาษาฝรั่งเศสว่า éditeur แต่ภาษาอังกฤษแปลว่า publisher แปลว่า ผู้พิมพ์]
 ดังนั้น หากพิจารณาโดยหลักวิชาการพื้นฐาน “ประวัติศาสตร์” ว่าด้วย “ลำดับชั้นของหลักฐาน” ที่แบ่งเป็น หลักฐานชั้นต้น หลักฐานชั้นรอง หรือ หลักฐานชั้นปลาย แล้ว จึงสรุปได้อย่างไม่มีข้อสงสัยว่า สถานะของการ “ค้นพบแผนที่ลับ” ของ “ผู้รู้อิสระ” รายนี้ เป็นเพียงหลักฐานชั้นปลายแถว ในการศึกษาเหตุการณ์เกี่ยวกับ สนธิสัญญา และแผนที่ไทย(สยาม)-กัมพูชา ซึ่งมีการลงนามและทำขึ้นระหว่างไทยกับฝรั่งเศส ช่วงปี พ.ศ.2447-2451/ค.ศ.1904-1908 
 อย่างไรก็ตาม บรรดาผู้รู้ นักวิชาการ ทั้งที่มีและไม่มีสังกัด อาจจะต้องทบทวนสิ่งที่ตนได้ออกมาแสดงความคิดเห็น อย่างเป็น “อิสระ” โดยบางครั้ง ขาดความรับผิดชอบทางวิชาการ ต่อข้อเท็จจริงและข้อมูลหลักฐานเบื้องต้น เพราะ บรรดา “ความอิสระ” ทั้งหลายนั้น อาจไม่ต้องคำนึงมากนักถึง ผลที่ตามมาต่อความรับรู้และความรู้สึกสาธารณะของประชาชน รวมทั้ง เจ้าพนักงานผู้ปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับปัญหาดังกล่าวที่กำลังทำงานกันอย่างสุดความสามารถ
 แต่สิ่งที่ “ผู้รู้อิสระ” ทั้งหลาย พูดออกไปนั้น บัดนี้ได้กลายเป็น “วาทกรรม” ที่ถูกนำไปขยายผล “เล่าสู่กันฟัง” กลายเป็น “อาณาจักรแห่งความหวาดระแวง และ มืดบอดระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ด้วยกัน” ทั้งในมิติด้านกว้างและด้านลึก 

 

เพิ่มเติม : http://www.manager.co.th/daily/viewnews.aspx?NewsID=9560000016185

 

Annex 1 อยู่ในสนธิสัญญาฉบับไหนครับ


Edited by Stargate-1, 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 12:49.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#622 ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่

    หน้าตาดี มีอุดมการณ์

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 21,670 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 13:12

ที่แน่ๆ  ท่านทูตที่เคยเป็นฮีโร่ในแมเนเจอร์ วันนี้ท่านได้กลายเป็นคนขายชาติไปแล้วในความคิดคนพวกนี้

 

 

ท่านทูตถูกประณาม.png

 


gladiator 1.jpg

 

 

 

 

 

 


#623 Robin

Robin

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,097 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:15

ไทยเสียดินแดน สส อีสานบอก ปชช ดีใจ  อย่างนี้ต่อไปสาม จว ภาคใต้คงไม่เหลือ :(



#624 zeus

zeus

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,212 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:16

สภาทนายความ ออกแถลงการณ์ออกมา เหมือนกับว่า เสียดินแดนน่ะครับเนี้ย

Edited by zeus, 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:17.


#625 Robin

Robin

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,097 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:28

ช่อง 11 กำลังถ่ายทอด อภิสิทธิ์ อภิปาย เรื่องผลการติดสินเขาพระวิหาร



#626 อาวุโสโอเค

อาวุโสโอเค

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,790 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 15:58

สภาทนายความชี้ศาลโลกให้ไทยแพ้คดี

 

นายกสภาทนายความ ชี้ ศาลโลกให้ไทยแพ้คดีเขาพระวิหาร จี้รัฐ เผยแพร่คำพิพากษาที่แท้จริง และทบทวนการแก้ม.190

นายเดชอุดม ไกรฤทธิ์ นายกสภาทนายความ แถลงข่าวในกรณีที่ศาลโลก อ่านคำพิพากษาคดีปราสาทพระวิหาร ว่าในคดีนี้ศาลโลกได้พิพากษาให้ไทยเป็นฝ่ายแพ้ เนื่องจากมีคำตัดสินให้กัมพูชาได้ดินแดนเพิ่มในส่วนชะง่อนผา ซึ่งอาจอยู่ประมาณ 1 ตร.กม. หรือมากกว่า ซึ่งการที่ศาลโลก มีคำสั่งให้ไทย และกัมพูชา เจรจาร่วมกัน เป็นคำตัดสินที่คลุมเครือ เพราะอาจทำให้ไทยเสียพืนที่เพิ่มเติมได้ พร้อมอยากให้รัฐบาล และกระทรวงการต่างประเทศ เผยแพร่ผลคำพิพากษาที่แท้จริงให้กับประชาชนทั้งประเทศได้รับทราบ ทั้งฉบับภาษาไทยและภาษาฝรั่งเศส

ทั้งนี้ แสดงให้เห็นแล้วว่า รัฐธรรมนูญ มาตรา 190 ปี 2550 นั้น มีประโยชน์ที่จะคุ้มครองสิทธิ์และอาณาเขตของประเทศในการทำบันทึกข้อตกลงระหว่างประเทศ หรือ MOU จึงขอให้รัฐบาลทบทวนการแก้ไขมาตรา 190

อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลจะบันทึกข้อตกลงระหว่างประเทศ ต้องผ่านความเห็นชอบจากรัฐสภาก่อน เพื่อประเทศไทย จะได้ไม่เสียเปรียบในอนาคต

8F88FBFB790BD21745095D5C2E1A0.jpg

 

ที่มา http://news.th.msn.c...โลกให้ไทยแพ้คดี


การเมืองไม่ใช่เพื่อกลุ่มใด แต่เพื่อทุกคนในประเทศ

#627 bird

bird

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,191 posts

ตอบ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 22:55

 

ได้ความคืบหน้ามาอีกนิด...

 

ได้เรียนถามท่านผู้อาวุโสด้านกฎหมาย...ว่า

 

" วันนี้เห็นสื่อหลาย ๆ ช่อง กล่าวว่า เราเสียดินแดนแล้วหรือ อย่างน้อย ก็ประมาณ

1 - 1.5 ตร.กม.หนังสือพิมพ์หลาย ๆ ฉบับ ก็พาดหัวตัวโต..ๆ เราแพ้คดี เสียดินแดน.."

 

ท่านได้อธิบายว่า..

 

" เราจะเสียดินแดน หรือไม่ ศาลไม่ได้บอก ไม่ได้กำหนด เพียงแต่บอกว่า

ให้ทั้ง 2 ฝ่ายตกลงกันเอง...คำพิพากษาไม่ได้กล่าว ไม่ได้ระบุว่าต้องใช้

วิธีการใดในการกำหนด พื้นที่รอบตัวปราสาท...ย้ำ..คำพิพากษาไม่ได้

ระบุวิธีการในการกำหนดเส้นเขตแดน

 

เราจะเสียดินแดนหรือไม่...ขึ้นอยู่กับว่า ต่อจากนี้ไป เจ้าหน้าที่ฝ่ายเรา

รัฐบาลของเรา จะแสดงจุดยืนในการกำหนดเส้นเขตแดนรอบตัวปราสาท

อย่างใด จะสามารถรักษาแผ่นดินของประเทศไทยไว้ได้ ณ จุดเดิมหรือไม่

 

ผู้ที่รับผิดชอบ จำเป็นต้องศึกษาคำพิพากษา 2505 ให้เข้าใจทุกตัวอักษร

ต้องหาที่ตั้งตัวปราสาทและพื้นที่โดยรอบตามคำฟ้อง และจุดกำหนดเดิม

ให้ใกล้เคียงกับสภาพภูมิศาสตร์ในปัจจุบันให้มากที่สุด

 

รัฐบาลของเรา...จะรักษาผลประโยชน์ของประเทศ หรือ จะรักษาประโยชน์

ส่วนตัว วงศาคณาญาติ ทั้งที่เป็นเชื้อชาติไทย สัญชาติไทย และที่เป็น

สัญชาติอื่น

 

ผมเชื่อโดยสุจริตใจว่า...ทหารของเราจะไม่ยอมให้เสียดินแดนแม้ตารางนิ้ว

กรมแผนที่ทหารของเรามีแต่คนเก่ง ๆ มีข้อมูลมากมาย การเสียดินแดน

คงเป็นไปได้ยาก...

 

ยกเว้นเสียจากว่า...

 

การเจรจาที่เกิดขึ้นจะมีบุคคลอันไม่พึงประสงค์เข้าไปเกี่ยวข้อง...

 

ซาตานในคราบของนักการเมือง "

 

ท่านกล่าวไว้เช่นนี้...

 

ตอนนี้ผมกังวล ตรงนี้มากครับ ...

 

ในคำพิพากษา ศาลได้หยิบเอาแผนที่ 1:200,000 มาอ้างอิง

กำหนดvicinity ของปราสาท ..แม้ว่าศาลจะบอกว่าไม่ยุ่งกับ

การกำหนดเขตแดน2ทั้ง2ฝ่าย แต่หากเราผลีผลามรับรอง

คำตัดสินครั้งนี้ไป ไม่เท่ากับเรารับเอาแผนที่1:200,000มาใช้

หรือครับ 

ไม่ใช่แต่ ในเฉพาะพื้นที่vicinity ปราสาทเท่านั้น หลังจากจบ

เรื่องคราวนี้ไป หากวันหนึ่งข้างหน้ากัมพูชาอ้างว่าเราได้รับรอง

การใช้แผนที่1:200,000ในการกำหนดพื้นที่แล้ว

(อ้างอิงการที่เรารับรองคำตัดสินในครั้งนี้)

เราต้องกำหนด พื้นที่อื่นในแผนที่นี้(รวม4.6ตร.กม.ด้วย)ตาม

แผนที่ 1:200,000ด้วยหรือไม่ ???...

 

 

ถามท่านผู้อาวุโสให้แล้วน่ะค่ะ...คำตอบคือ

 

การปักปันเขตแดนระหว่าง ไทย-กัมพูชา ในจุดอื่นที่กำหนดไว้แล้วก่อนคำพิพากษาล่าสุด

ไม่มีการอ้างอิงถึงแผนที 1 : 200,000 

 

คำพิพากษาครั้งนี้ศาลได้ระบุชัดว่า 1 : 200,000 ใช้เฉพาะคดีพิพาทเดิมเท่านั้น

 

เพราะคำพิพากษาได้ตัดสินโดยใช้แผ่นที่ 1 : 200,000 เป็นหลักฐานหนึ่งในการกำหนด

เขตอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารของกัมพูชา ลบล้างไม่ได้ และคำพิพากษา 2505 

ก็ไม่ได้กำหนดจุดชัดเจนว่าจุดใด

 

แต่ครั้งนี้อ้างป้อมและแค้มป์ของเจ้าหน้าที่ผู้รักษาปราสาทในปี 2504 ซึ่งไทยยอมรับว่า 

อยู่ทางใต้ของเส้นในแผนที่ แต่อยู่ทางเหนือของเส้นที่กัมพูชาอ้างว่าเป็นสันปันน้ำ

ซึ่งก็ยังไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าเป็นจุดใดกันแน่..

 

การที่หลายฝ่ายต่างตีความกันไป ว่าไทยเสียดินแดนเพิ่มไม่ว่าจะเป็น 0.3 หรือ 50 ไร่

หรือจะเป็น 1 ตร.กม..หรือ 1.50 ตร.กม อาจจะเป็นการตีตนไปก่อนไข้..

 

น่าแปลก..ที่ไม่มีใครสักคนถามไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง และน่าจะเป็น

หน่วยงานที่มีข้อมูลในด้านภูมิศาสตร์ชัดเจนที่สุด...กรมแผนที่ทหาร..

 

คำพิพากษาศาลโลก ให้ถือฉบับภาษาอังกฤษเป็นหลัก ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เป็นภาษา

ทางกฎหมาย นักวิชาการต่างก็พยายามตีความไปต่าง ๆ ตามแนวทางที่ตนเชือถือ

ตามแผนที่ที่นักวิชาการยึดถือเป็นหลัก...

 

อย่าลืมว่า..ยุคสมัยต่างกัน การเดินเท้าสำรวจ กับ Google นั้นห่างกียหลายสิบปี

สภาพภูมิอากาศก็ย่อมต่างกัน สภาพเชิงผา ความลาดชันก็ต่างกัน

 

การกำหนดจุดเส้นเขตแดน บริเวณใกล้เคียงปราสาท ตามคำพิพากษา 2556 จึงเป็น

หน้าที่ของทีมเจรจาไทย ที่ต้องกำหนดจุดตั้งป้อมและแคมป์ ที่กล่าวถึงในปี 2504

ให้ได้...

 

ซึ่งแน่นอน...มติ ครม 2505 ที่เลือกทางเลือกที่ 2 น่าจะใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุด

เพราะจัดทำขึ้นในยุคสมัยเดียวกัน สภาพภูมิศาสตร์เดียวกัน..และ..ยังไม่มีผลประโยชน์

ส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง..

 

ที่นี่..ก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาล..ว่าจะ ตีความอย่างไร..

 

จะยกพื้นที่ทางเข้า ใส่พาน บรรณาการให้หรือไม่....

 

ท่านผู้อาวุโส ทางกฎหมาย กล่าวไว้เช่นนั้น...

ผิดถูกประการใด ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ค่ะ



#628 นักเรียนตลอดชีพ

นักเรียนตลอดชีพ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,024 posts

ตอบ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 11:44

 

 

ได้ความคืบหน้ามาอีกนิด...

 

ได้เรียนถามท่านผู้อาวุโสด้านกฎหมาย...ว่า

 

" วันนี้เห็นสื่อหลาย ๆ ช่อง กล่าวว่า เราเสียดินแดนแล้วหรือ อย่างน้อย ก็ประมาณ

1 - 1.5 ตร.กม.หนังสือพิมพ์หลาย ๆ ฉบับ ก็พาดหัวตัวโต..ๆ เราแพ้คดี เสียดินแดน.."

 

ท่านได้อธิบายว่า..

 

" เราจะเสียดินแดน หรือไม่ ศาลไม่ได้บอก ไม่ได้กำหนด เพียงแต่บอกว่า

ให้ทั้ง 2 ฝ่ายตกลงกันเอง...คำพิพากษาไม่ได้กล่าว ไม่ได้ระบุว่าต้องใช้

วิธีการใดในการกำหนด พื้นที่รอบตัวปราสาท...ย้ำ..คำพิพากษาไม่ได้

ระบุวิธีการในการกำหนดเส้นเขตแดน

 

เราจะเสียดินแดนหรือไม่...ขึ้นอยู่กับว่า ต่อจากนี้ไป เจ้าหน้าที่ฝ่ายเรา

รัฐบาลของเรา จะแสดงจุดยืนในการกำหนดเส้นเขตแดนรอบตัวปราสาท

อย่างใด จะสามารถรักษาแผ่นดินของประเทศไทยไว้ได้ ณ จุดเดิมหรือไม่

 

ผู้ที่รับผิดชอบ จำเป็นต้องศึกษาคำพิพากษา 2505 ให้เข้าใจทุกตัวอักษร

ต้องหาที่ตั้งตัวปราสาทและพื้นที่โดยรอบตามคำฟ้อง และจุดกำหนดเดิม

ให้ใกล้เคียงกับสภาพภูมิศาสตร์ในปัจจุบันให้มากที่สุด

 

รัฐบาลของเรา...จะรักษาผลประโยชน์ของประเทศ หรือ จะรักษาประโยชน์

ส่วนตัว วงศาคณาญาติ ทั้งที่เป็นเชื้อชาติไทย สัญชาติไทย และที่เป็น

สัญชาติอื่น

 

ผมเชื่อโดยสุจริตใจว่า...ทหารของเราจะไม่ยอมให้เสียดินแดนแม้ตารางนิ้ว

กรมแผนที่ทหารของเรามีแต่คนเก่ง ๆ มีข้อมูลมากมาย การเสียดินแดน

คงเป็นไปได้ยาก...

 

ยกเว้นเสียจากว่า...

 

การเจรจาที่เกิดขึ้นจะมีบุคคลอันไม่พึงประสงค์เข้าไปเกี่ยวข้อง...

 

ซาตานในคราบของนักการเมือง "

 

ท่านกล่าวไว้เช่นนี้...

 

ตอนนี้ผมกังวล ตรงนี้มากครับ ...

 

ในคำพิพากษา ศาลได้หยิบเอาแผนที่ 1:200,000 มาอ้างอิง

กำหนดvicinity ของปราสาท ..แม้ว่าศาลจะบอกว่าไม่ยุ่งกับ

การกำหนดเขตแดน2ทั้ง2ฝ่าย แต่หากเราผลีผลามรับรอง

คำตัดสินครั้งนี้ไป ไม่เท่ากับเรารับเอาแผนที่1:200,000มาใช้

หรือครับ 

ไม่ใช่แต่ ในเฉพาะพื้นที่vicinity ปราสาทเท่านั้น หลังจากจบ

เรื่องคราวนี้ไป หากวันหนึ่งข้างหน้ากัมพูชาอ้างว่าเราได้รับรอง

การใช้แผนที่1:200,000ในการกำหนดพื้นที่แล้ว

(อ้างอิงการที่เรารับรองคำตัดสินในครั้งนี้)

เราต้องกำหนด พื้นที่อื่นในแผนที่นี้(รวม4.6ตร.กม.ด้วย)ตาม

แผนที่ 1:200,000ด้วยหรือไม่ ???...

 

 

ถามท่านผู้อาวุโสให้แล้วน่ะค่ะ...คำตอบคือ

 

การปักปันเขตแดนระหว่าง ไทย-กัมพูชา ในจุดอื่นที่กำหนดไว้แล้วก่อนคำพิพากษาล่าสุด

ไม่มีการอ้างอิงถึงแผนที 1 : 200,000 

 

คำพิพากษาครั้งนี้ศาลได้ระบุชัดว่า 1 : 200,000 ใช้เฉพาะคดีพิพาทเดิมเท่านั้น

 

เพราะคำพิพากษาได้ตัดสินโดยใช้แผ่นที่ 1 : 200,000 เป็นหลักฐานหนึ่งในการกำหนด

เขตอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารของกัมพูชา ลบล้างไม่ได้ และคำพิพากษา 2505 

ก็ไม่ได้กำหนดจุดชัดเจนว่าจุดใด

 

แต่ครั้งนี้อ้างป้อมและแค้มป์ของเจ้าหน้าที่ผู้รักษาปราสาทในปี 2504 ซึ่งไทยยอมรับว่า 

อยู่ทางใต้ของเส้นในแผนที่ แต่อยู่ทางเหนือของเส้นที่กัมพูชาอ้างว่าเป็นสันปันน้ำ

ซึ่งก็ยังไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าเป็นจุดใดกันแน่..

 

การที่หลายฝ่ายต่างตีความกันไป ว่าไทยเสียดินแดนเพิ่มไม่ว่าจะเป็น 0.3 หรือ 50 ไร่

หรือจะเป็น 1 ตร.กม..หรือ 1.50 ตร.กม อาจจะเป็นการตีตนไปก่อนไข้..

 

น่าแปลก..ที่ไม่มีใครสักคนถามไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง และน่าจะเป็น

หน่วยงานที่มีข้อมูลในด้านภูมิศาสตร์ชัดเจนที่สุด...กรมแผนที่ทหาร..

 

คำพิพากษาศาลโลก ให้ถือฉบับภาษาอังกฤษเป็นหลัก ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เป็นภาษา

ทางกฎหมาย นักวิชาการต่างก็พยายามตีความไปต่าง ๆ ตามแนวทางที่ตนเชือถือ

ตามแผนที่ที่นักวิชาการยึดถือเป็นหลัก...

 

อย่าลืมว่า..ยุคสมัยต่างกัน การเดินเท้าสำรวจ กับ Google นั้นห่างกียหลายสิบปี

สภาพภูมิอากาศก็ย่อมต่างกัน สภาพเชิงผา ความลาดชันก็ต่างกัน

 

การกำหนดจุดเส้นเขตแดน บริเวณใกล้เคียงปราสาท ตามคำพิพากษา 2556 จึงเป็น

หน้าที่ของทีมเจรจาไทย ที่ต้องกำหนดจุดตั้งป้อมและแคมป์ ที่กล่าวถึงในปี 2504

ให้ได้...

 

ซึ่งแน่นอน...มติ ครม 2505 ที่เลือกทางเลือกที่ 2 น่าจะใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุด

เพราะจัดทำขึ้นในยุคสมัยเดียวกัน สภาพภูมิศาสตร์เดียวกัน..และ..ยังไม่มีผลประโยชน์

ส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง..

 

ที่นี่..ก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาล..ว่าจะ ตีความอย่างไร..

 

จะยกพื้นที่ทางเข้า ใส่พาน บรรณาการให้หรือไม่....

 

ท่านผู้อาวุโส ทางกฎหมาย กล่าวไว้เช่นนั้น...

ผิดถูกประการใด ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ค่ะ

 

 
ขอบคุณมากครับ  :)
 

 

เท่าที่ผมได้สอบถามเพิ่มเติมไปยังนักกฎหมายท่านหนึ่งก็ได้ความเห็นคราวๆแบบนี้ ..

 

เท่าที่ดู เป็นเพราะการตัดสินคดีในปี2505 ที่บีบให้เรารับเอาแผนที่1:200,000มาใช้

(อ่านในเนื้อข่าวก่อนหน้านี้ก็พอเข้าใจถึงการรับเอาแผนที่มาใช้ของฝ่ายเราเองด้วย) ...

เพื่อใช้กำหนดอนาบริเวณของปราสาท 

 

และตรงกันอีกประเด็น คือ การกำหนดเส้นเขตแดนหลังจากนี้ ขึ้นอยู่กับฝ่ายไทยที่จะเจรจากับฝ่ายเขา

 

ปัญหาอีกอย่างของตรงนี้ คือ การอ้างอิงของศาล อ้างอิงไปยังตำบล(จุดตั้งค่ายทหาร)

ที่ต้องค้นหาว่าแนวที่จะให้เราถอยออกมานั้นคือตรงไหน

กอร์ปกับ ใช้แผนที่1:200,000 ซึ่งไม่มีความแน่นอนผิดเพี้ยนเยอะ ยิ่งจะหาแนวเส้นดังกล่าวเจอได้ยาก เข้าไปอีกหรือเปล่า

 

ส่วนนี้ ผมลองเสนอความเห็นดูนะครับ ถ้าเราไม่สามารถสู้กับกับการยืนยันการใช้แผนที่1:200,000

ในการหาเส้นที่ศาลกำหนดแล้ว เป็นไปได้ไหม ที่เราจะเสนอ แผนที่1:50,000 เข้าไปประกบในการ

หาพิกัดพื้นที่ หรือเส้นที่ถูกต้องแน่นอน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ 2ประการ คือ 

 

1.หาพิกัดหรือเส้นที่เป็นที่ถูกต้องได้ง่ายกว่า

2.เพื่อให้ศักดิ์ และ สิทธิ์ ของแผนที่เรายึดถือ เท่าเทียมกับ แผนที่1:200,000 (อันนี้ไม่ต้องบอกเขาก็ได้)


.. เห็นได้ชัด ประชาธิปไตย เสียงส่วนใหญ่ ไม่ได้ทำให้ได้มา ซึ่งผู้นำที่เก่ง และ ฉลาด ..

ที่นำความอยู่ดี กินดี มาให้ประชาชนได้ แล้วคุณยังจะอ้างประชาธิปไตยเสียงส่วนใหญ่ทำไม


#629 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 11:54

ปัญหาอีกอย่างของตรงนี้ คือ การอ้างอิงของศาล อ้างอิงไปยังตำบล(จุดตั้งค่ายทหาร)

ที่ต้องค้นหาว่าแนวที่จะให้เราถอยออกมานั้นคือตรงไหน

กอร์ปกับ ใช้แผนที่1:200,000 ซึ่งไม่มีความแน่นอนผิดเพี้ยนเยอะ ยิ่งจะหาแนวเส้นดังกล่าวเจอได้ยาก เข้าไปอีกหรือเปล่า

 

ส่วนนี้ ผมลองเสนอความเห็นดูนะครับ ถ้าเราไม่สามารถสู้กับกับการยืนยันการใช้แผนที่1:200,000

ในการหาเส้นที่ศาลกำหนดแล้ว เป็นไปได้ไหม ที่เราจะเสนอ แผนที่1:50,000 เข้าไปประกบในการ

หาพิกัดพื้นที่ หรือเส้นที่ถูกต้องแน่นอน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ 2ประการ คือ 

 

1.หาพิกัดหรือเส้นที่เป็นที่ถูกต้องได้ง่ายกว่า

2.เพื่อให้ศักดิ์ และ สิทธิ์ ของแผนที่เรายึดถือ เท่าเทียมกับ แผนที่1:200,000 (อันนี้ไม่ต้องบอกเขาก็ได้)

 

 

แผนที่ 1:200,000 มันเขียนออกมาโดยไม่ตรงกับพื้นที่จริง เช่น จุดที่หน้าผาเป้ยตาดี ก็ผิดตำแหน่งไป ตำแหน่งในแผนที่ 1:200,000 ทำผิดตำแหน่งไป 1.98 กิโลเมตร

http://webboard.seri...าร/#entry570625

 

หนึ่งในผู้ที่มีความพยายามและน่าชื่นชมที่ทุ่มเทค้นหาความจริง คือเพื่อนในเฟสบุ๊คคนหนึ่ง ชื่อ Chayut Ratanapong ได้เขียนบทความลงในเฟสบุ๊คของตัวเองชื่อ “แผนที่ฝรั่งเศส ค.ศ. 1908 จงใจเลื่อนตำแหน่งเขาพระวิหารหรือไม่? ซึ่งได้นำแผนที่ของกัมพูชาซึ่งจัดทำโดยฝรั่งเศสแต่เพียงฝ่ายเดียวซึ่งจัดทำขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1908 มาเทียบกับเทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียมของกูเกิล เอิร์ธ แล้วพบว่า:
       
       แผนที่ดังกล่าวเป็นแผนที่ซึ่งไม่ถูกต้องและเป็นเท็จ โดยเฉพาะแนวสันปันน้ำตามแนวหน้าผาในระวางดงรักนั้นคาดเคลื่อนจากความเป็นจริงอย่างมาก เป็นผลทำให้แผนที่ซึ่งจัดทำโดยฝรั่งเศสแต่เพียงฝ่ายเดียวผิดพลาดห่างจาก “สันปันน้ำและหน้าผาจริง” กินเข้ามาในดินแดนไทยถึง 4.49 กิโลเมตร ในขณะที่บางจุดก่อนถึงช่องสะงำผิดพลาดกินล้ำเข้ามาในดินแดนไทยไปถึง 9.78 กิโลเมตร โดย ขออนุญาตนำความบางตอนที่สำคัญในบทความของ Chayut Ratanapong ดังนี้
 

post-14906-0-66148300-1358310366.jpg

 

ภาพแสดงเปรียบเทียบ เส้นสีแดงได้มาจาก กูเกิล เอิรธ์ วัดตำแหน่งเส้นรุ้งและเส้นแวง เทียบกับแนวหน้าผาและเส้นเขตแดนตามแผนที่มาตราส่วน 1:200,000 ซึ่งเป็นเท็จและไม่สามารถยึดตามแผนที่ของฝรั่งเศสได้ blank.gif        โดยในภาพนี้อธิบายสีของแต่ละเส้นดังนี้คือ เส้นสีเทาแนวนอน: เส้นรุ้ง(Latitude) 14 องศา 20 ลิปดา เหนือ (N), เส้นสีเทาแนวตั้ง: เส้นแวง(Longitude) 104 องศา 40 ลิปดาตะวันออก(E) , เส้นสีม่วง: เส้นเขตแดนประเทศที่ฝรั่งเศสเขียนคลาดเคลื่อน, เส้นสีแดง: แนวขอบหน้าผาต่างระดับตามภูมิประเทศจริง, เส้นสีน้ำเงิน: หน้าผาเป้ยตาดีจริงแตกต่างกับหน้าผาเป้ยตาดีในแผนที่ 1.98 km, เส้นสีฟ้าอมเขียว: หน้าผาเป้ยตาดีในแผนที่แตกต่างกับเส้นเขตแดนในแผนที่ 2.51 km, รวมเส้นสีน้ำเงินและเส้นสีฟ้าอมเขียว เป็นระยะทาง 4.49 km
       
       เส้นสีแดงคือแนวขอบหน้าผาต่างระดับที่น่าจะตรงกับคำว่า "จนบรรจบภูเขาผาต่าง" ใน ข้อ 1 ของอนุสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ค.ศ. 1904 เส้นสีแดงนี้ได้มาจากภาพแผนที่ของ Google Earth ซึ่งถ่ายระยะไกลจากดาวเทียมด้วยความละเอียดสูง จึงมีความแม่นยำมากกว่าแผนที่ทหาร (Datum: Indian Thailand) มาตราส่วน 1: 50,000
       
        เมื่อเทียบระยะกับเส้นรุ้ง-เส้นแวง ก็สังเกตได้ชัดว่า เส้นชั้นความสูงที่เป็นรูปร่างของเขาพระวิหารนั้น ถูกฝรั่งเศสเขียนให้ผิดตำแหน่ง โดยหน้าผาเป้ยตาดีผิดตำแหน่งจาก Latitude 14 องศา 23.3794 ลิปดา เป็น 14 องศา 24.3616 ลิปดา ซึ่งล้ำดินแดนสยาม 1.98 กิโลเมตร
       
       ฝรั่งเศสเขียนเส้นเขตแดนโดยเทียบระยะกับรูปร่างของภาพที่เป็นแนวหน้าผา … เมื่อแนวหน้าผาล้ำดินแดนขึ้นมาในแนว Latitude แนวเส้นเขตแดนจึงย่อมล้ำดินแดนขึ้นมาด้วยเช่นกัน ทั้งนี้ ฝรั่งเศสเขียนเส้นเขตแดนบริเวณเขาพระวิหารล้ำแนวเป้ยตาดีเข้ามาในดินแดนสยาม 2.51 กิโลเมตร
       
       การเขียนรูปร่างภูมิประเทศให้ผิดตำแหน่ง Latitude เช่นนี้ ฝรั่งเศสจะจงใจหรือไม่ก็ตาม แต่มีผลให้รู้สึกว่า แนวเส้นเขตแดนล้ำดินแดนสยามไม่มาก … แต่ในการปักปันเขตแดนจำต้องปักหลักเขตแดนตาม Coordinate ของเส้นรุ้งเส้นแวง ฉะนั้น เส้นเขตแดนในแผนที่ฝรั่งเศส ค.ศ. 1908 จึงล้ำเป้ยตาดีเข้ามาในดินแดนไทยมากถึง 4.49 กิโลเมตร
       
       ถ้าใช้หลักการนี้ ก็จะพบว่าบางพื้นที่อย่างเช่นกรณีใกล้ๆกับช่องสะงำ จ.ศรีสะเกษ แผนที่ของฝรั่งเศสผิดพลาดจากแผนที่ตาม กูเกิล เอิรธ์ ถึง 9.78 กิโลเมตร

 

ความจริงแล้ว ถ้านำแผนที่ 1:200,000 มาปรับตำแหน่งละติจูด ลองติจูดในแผนที่ ให้ตรงกับภูมิประเทศที่แท้จริงแล้ว เขมรอาจเสียปราสาทพระวิหาร เช่น ตำแหน่งละติจูด ลองติจูดของหน้าผาเป้ยตาดีในแผนที่ 1:200,000 คาดเคลื่อนไป 1.98 กม. แล้วตำแหน่งอื่นๆ ในแผนที่ก็ไม่ตรง ตลอดแนวแผนที่ 100 กม. ศาลจึงไม่เอามาตัดสิน ปล่อยให้ทั้งคู่จินตนาการกันไปเอง   ชาวต่างชาติเขารู้กันหมดแล้ว  แม้แต่กูเกิ้ลเองยังรู้เลย เจบีซีจึงไปไม่ถึงไหนไง


Edited by Stargate-1, 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 12:14.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#630 bird

bird

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,191 posts

ตอบ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 11:59

 

 

 

ได้ความคืบหน้ามาอีกนิด...

 

ได้เรียนถามท่านผู้อาวุโสด้านกฎหมาย...ว่า

 

" วันนี้เห็นสื่อหลาย ๆ ช่อง กล่าวว่า เราเสียดินแดนแล้วหรือ อย่างน้อย ก็ประมาณ

1 - 1.5 ตร.กม.หนังสือพิมพ์หลาย ๆ ฉบับ ก็พาดหัวตัวโต..ๆ เราแพ้คดี เสียดินแดน.."

 

ท่านได้อธิบายว่า..

 

" เราจะเสียดินแดน หรือไม่ ศาลไม่ได้บอก ไม่ได้กำหนด เพียงแต่บอกว่า

ให้ทั้ง 2 ฝ่ายตกลงกันเอง...คำพิพากษาไม่ได้กล่าว ไม่ได้ระบุว่าต้องใช้

วิธีการใดในการกำหนด พื้นที่รอบตัวปราสาท...ย้ำ..คำพิพากษาไม่ได้

ระบุวิธีการในการกำหนดเส้นเขตแดน

 

เราจะเสียดินแดนหรือไม่...ขึ้นอยู่กับว่า ต่อจากนี้ไป เจ้าหน้าที่ฝ่ายเรา

รัฐบาลของเรา จะแสดงจุดยืนในการกำหนดเส้นเขตแดนรอบตัวปราสาท

อย่างใด จะสามารถรักษาแผ่นดินของประเทศไทยไว้ได้ ณ จุดเดิมหรือไม่

 

ผู้ที่รับผิดชอบ จำเป็นต้องศึกษาคำพิพากษา 2505 ให้เข้าใจทุกตัวอักษร

ต้องหาที่ตั้งตัวปราสาทและพื้นที่โดยรอบตามคำฟ้อง และจุดกำหนดเดิม

ให้ใกล้เคียงกับสภาพภูมิศาสตร์ในปัจจุบันให้มากที่สุด

 

รัฐบาลของเรา...จะรักษาผลประโยชน์ของประเทศ หรือ จะรักษาประโยชน์

ส่วนตัว วงศาคณาญาติ ทั้งที่เป็นเชื้อชาติไทย สัญชาติไทย และที่เป็น

สัญชาติอื่น

 

ผมเชื่อโดยสุจริตใจว่า...ทหารของเราจะไม่ยอมให้เสียดินแดนแม้ตารางนิ้ว

กรมแผนที่ทหารของเรามีแต่คนเก่ง ๆ มีข้อมูลมากมาย การเสียดินแดน

คงเป็นไปได้ยาก...

 

ยกเว้นเสียจากว่า...

 

การเจรจาที่เกิดขึ้นจะมีบุคคลอันไม่พึงประสงค์เข้าไปเกี่ยวข้อง...

 

ซาตานในคราบของนักการเมือง "

 

ท่านกล่าวไว้เช่นนี้...

 

ตอนนี้ผมกังวล ตรงนี้มากครับ ...

 

ในคำพิพากษา ศาลได้หยิบเอาแผนที่ 1:200,000 มาอ้างอิง

กำหนดvicinity ของปราสาท ..แม้ว่าศาลจะบอกว่าไม่ยุ่งกับ

การกำหนดเขตแดน2ทั้ง2ฝ่าย แต่หากเราผลีผลามรับรอง

คำตัดสินครั้งนี้ไป ไม่เท่ากับเรารับเอาแผนที่1:200,000มาใช้

หรือครับ 

ไม่ใช่แต่ ในเฉพาะพื้นที่vicinity ปราสาทเท่านั้น หลังจากจบ

เรื่องคราวนี้ไป หากวันหนึ่งข้างหน้ากัมพูชาอ้างว่าเราได้รับรอง

การใช้แผนที่1:200,000ในการกำหนดพื้นที่แล้ว

(อ้างอิงการที่เรารับรองคำตัดสินในครั้งนี้)

เราต้องกำหนด พื้นที่อื่นในแผนที่นี้(รวม4.6ตร.กม.ด้วย)ตาม

แผนที่ 1:200,000ด้วยหรือไม่ ???...

 

 

ถามท่านผู้อาวุโสให้แล้วน่ะค่ะ...คำตอบคือ

 

การปักปันเขตแดนระหว่าง ไทย-กัมพูชา ในจุดอื่นที่กำหนดไว้แล้วก่อนคำพิพากษาล่าสุด

ไม่มีการอ้างอิงถึงแผนที 1 : 200,000 

 

คำพิพากษาครั้งนี้ศาลได้ระบุชัดว่า 1 : 200,000 ใช้เฉพาะคดีพิพาทเดิมเท่านั้น

 

เพราะคำพิพากษาได้ตัดสินโดยใช้แผ่นที่ 1 : 200,000 เป็นหลักฐานหนึ่งในการกำหนด

เขตอธิปไตยเหนือปราสาทพระวิหารของกัมพูชา ลบล้างไม่ได้ และคำพิพากษา 2505 

ก็ไม่ได้กำหนดจุดชัดเจนว่าจุดใด

 

แต่ครั้งนี้อ้างป้อมและแค้มป์ของเจ้าหน้าที่ผู้รักษาปราสาทในปี 2504 ซึ่งไทยยอมรับว่า 

อยู่ทางใต้ของเส้นในแผนที่ แต่อยู่ทางเหนือของเส้นที่กัมพูชาอ้างว่าเป็นสันปันน้ำ

ซึ่งก็ยังไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่าเป็นจุดใดกันแน่..

 

การที่หลายฝ่ายต่างตีความกันไป ว่าไทยเสียดินแดนเพิ่มไม่ว่าจะเป็น 0.3 หรือ 50 ไร่

หรือจะเป็น 1 ตร.กม..หรือ 1.50 ตร.กม อาจจะเป็นการตีตนไปก่อนไข้..

 

น่าแปลก..ที่ไม่มีใครสักคนถามไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง และน่าจะเป็น

หน่วยงานที่มีข้อมูลในด้านภูมิศาสตร์ชัดเจนที่สุด...กรมแผนที่ทหาร..

 

คำพิพากษาศาลโลก ให้ถือฉบับภาษาอังกฤษเป็นหลัก ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เป็นภาษา

ทางกฎหมาย นักวิชาการต่างก็พยายามตีความไปต่าง ๆ ตามแนวทางที่ตนเชือถือ

ตามแผนที่ที่นักวิชาการยึดถือเป็นหลัก...

 

อย่าลืมว่า..ยุคสมัยต่างกัน การเดินเท้าสำรวจ กับ Google นั้นห่างกียหลายสิบปี

สภาพภูมิอากาศก็ย่อมต่างกัน สภาพเชิงผา ความลาดชันก็ต่างกัน

 

การกำหนดจุดเส้นเขตแดน บริเวณใกล้เคียงปราสาท ตามคำพิพากษา 2556 จึงเป็น

หน้าที่ของทีมเจรจาไทย ที่ต้องกำหนดจุดตั้งป้อมและแคมป์ ที่กล่าวถึงในปี 2504

ให้ได้...

 

ซึ่งแน่นอน...มติ ครม 2505 ที่เลือกทางเลือกที่ 2 น่าจะใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุด

เพราะจัดทำขึ้นในยุคสมัยเดียวกัน สภาพภูมิศาสตร์เดียวกัน..และ..ยังไม่มีผลประโยชน์

ส่วนตัวเข้ามาเกี่ยวข้อง..

 

ที่นี่..ก็ขึ้นอยู่กับรัฐบาล..ว่าจะ ตีความอย่างไร..

 

จะยกพื้นที่ทางเข้า ใส่พาน บรรณาการให้หรือไม่....

 

ท่านผู้อาวุโส ทางกฎหมาย กล่าวไว้เช่นนั้น...

ผิดถูกประการใด ขออภัยมา ณ โอกาสนี้ค่ะ

 

 
ขอบคุณมากครับ  :)
 

 

เท่าที่ผมได้สอบถามเพิ่มเติมไปยังนักกฎหมายท่านหนึ่งก็ได้ความเห็นคราวๆแบบนี้ ..

 

เท่าที่ดู เป็นเพราะการตัดสินคดีในปี2505 ที่บีบให้เรารับเอาแผนที่1:200,000มาใช้

(อ่านในเนื้อข่าวก่อนหน้านี้ก็พอเข้าใจถึงการรับเอาแผนที่มาใช้ของฝ่ายเราเองด้วย) ...

เพื่อใช้กำหนดอนาบริเวณของปราสาท 

 

และตรงกันอีกประเด็น คือ การกำหนดเส้นเขตแดนหลังจากนี้ ขึ้นอยู่กับฝ่ายไทยที่จะเจรจากับฝ่ายเขา

 

ปัญหาอีกอย่างของตรงนี้ คือ การอ้างอิงของศาล อ้างอิงไปยังตำบล(จุดตั้งค่ายทหาร)

ที่ต้องค้นหาว่าแนวที่จะให้เราถอยออกมานั้นคือตรงไหน

กอร์ปกับ ใช้แผนที่1:200,000 ซึ่งไม่มีความแน่นอนผิดเพี้ยนเยอะ ยิ่งจะหาแนวเส้นดังกล่าวเจอได้ยาก เข้าไปอีกหรือเปล่า

 

ส่วนนี้ ผมลองเสนอความเห็นดูนะครับ ถ้าเราไม่สามารถสู้กับกับการยืนยันการใช้แผนที่1:200,000

ในการหาเส้นที่ศาลกำหนดแล้ว เป็นไปได้ไหม ที่เราจะเสนอ แผนที่1:50,000 เข้าไปประกบในการ

หาพิกัดพื้นที่ หรือเส้นที่ถูกต้องแน่นอน ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ 2ประการ คือ 

 

1.หาพิกัดหรือเส้นที่เป็นที่ถูกต้องได้ง่ายกว่า

2.เพื่อให้ศักดิ์ และ สิทธิ์ ของแผนที่เรายึดถือ เท่าเทียมกับ แผนที่1:200,000 (อันนี้ไม่ต้องบอกเขาก็ได้)

 

 

เอกสารที่จะใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงตามคำพิพากษาศาล ถ้าไม่อยู่ในเอกสารประกอบที่ใช้ตั้งแต่คำฟ้อง คำแถลง

ไม่อาจนำมาใช้ได้..

 

แต่ทั้งนี้..ขึ้นอยู่กับทีมเจรจาของทั้ง 2 ฝ่าย ว่ายินยอมหรือไม่ เพราะศาลกล่าวที่เพียงว่า...ให้ตกลงกันเอง



#631 bird

bird

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,191 posts

ตอบ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 12:07

นอกเรื่องค่ะ...

 

สำหรับประเด็นเรื่อง แผนที่ไม่ว่าจะเป็นชุดใด bird ขออนุญาตไม่ให้ความเห็นน่ะค่ะ

 

เพราะเป็นคนที่มีจุดอ่อนในการอ่านแผนทีชนิดหาตัวจับยาก..

 

ไม่เคยอ่านแผนที่แล้วเข้าใจในระยะเวลาสั้น ๆ ต้องให้ผู้เชี่ยวชาญค่อย ๆ อธิบาย

ทีละจุด จนไม่มีใครอยากจะอธิบายแล้วค่ะ.. :lol:



#632 baboon

baboon

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,801 posts

ตอบ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 12:11

จากคำตัดสินที่คลุมเครือเมื่อปี 2505 นำมาซึ่งการตีความที่สับสนไม่แพ้กันในปี 2556

:blink:



#633 นักเรียนตลอดชีพ

นักเรียนตลอดชีพ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,024 posts

ตอบ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 22:15

ขออภัยนะครับ อย่าหาว่าผมเป็นลูกอีช่างจับผิดเลยนะครับ ผมจับประเด็น(จับผิด) คำพิพากษาได้อีกประการแล้วครับ ...

จำได้ว่า ส่วนท้ายของคำพิพากษา มีส่วนหนึ่งพูดถึง การตกลงพื้นที่vicinity ของทั้งสองฝ่ายร่วมกัน และมีการเอ่ยถึง ยูเนสโก และมรดกโลก เข้าไปด้วย ...

 

ถามสักนิด(ข้อสงสัย) ...

 

- ทำไม การกำหนด vicinity ถึงจงใจให้ยูเนสโก มีส่วนร่วม ในเมื่อมันเป็นเรื่องของพื้นที่ของ2ฝ่าย ไม่ใช่เรื่องของพื้นที่มรดกโลก ...

- ถ้ามีเรื่องของพื้นที่มรดกโลกเข้ามาเกี่ยวข้อง นั่นย่อมหมายถึง เป็นเรื่องที่กัมพูชายื่นปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก ในปี 2551 ..

   หมายความว่า เราไม่ได้พูดถึง vicinity ของปราสาท จากคำตัดสินของศาลโลก ในปี2505 หรือเปล่าครับ


Edited by นักเรียนตลอดชีพ, 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 22:18.

.. เห็นได้ชัด ประชาธิปไตย เสียงส่วนใหญ่ ไม่ได้ทำให้ได้มา ซึ่งผู้นำที่เก่ง และ ฉลาด ..

ที่นำความอยู่ดี กินดี มาให้ประชาชนได้ แล้วคุณยังจะอ้างประชาธิปไตยเสียงส่วนใหญ่ทำไม


#634 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 22:48

ขออภัยนะครับ อย่าหาว่าผมเป็นลูกอีช่างจับผิดเลยนะครับ ผมจับประเด็น(จับผิด) คำพิพากษาได้อีกประการแล้วครับ ...

จำได้ว่า ส่วนท้ายของคำพิพากษา มีส่วนหนึ่งพูดถึง การตกลงพื้นที่vicinity ของทั้งสองฝ่ายร่วมกัน และมีการเอ่ยถึง ยูเนสโก และมรดกโลก เข้าไปด้วย ...

 

ถามสักนิด(ข้อสงสัย) ...

 

- ทำไม การกำหนด vicinity ถึงจงใจให้ยูเนสโก มีส่วนร่วม ในเมื่อมันเป็นเรื่องของพื้นที่ของ2ฝ่าย ไม่ใช่เรื่องของพื้นที่มรดกโลก ...

- ถ้ามีเรื่องของพื้นที่มรดกโลกเข้ามาเกี่ยวข้อง นั่นย่อมหมายถึง เป็นเรื่องที่กัมพูชายื่นปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก ในปี 2551 ..

   หมายความว่า เราไม่ได้พูดถึง vicinity ของปราสาท จากคำตัดสินของศาลโลก ในปี2505 หรือเปล่าครับ

 

Preah_Vihear_French-13.jpg

 

รูปคล้ายๆ กันนะ


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#635 นักเรียนตลอดชีพ

นักเรียนตลอดชีพ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,024 posts

ตอบ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 22:57

 

ขออภัยนะครับ อย่าหาว่าผมเป็นลูกอีช่างจับผิดเลยนะครับ ผมจับประเด็น(จับผิด) คำพิพากษาได้อีกประการแล้วครับ ...

จำได้ว่า ส่วนท้ายของคำพิพากษา มีส่วนหนึ่งพูดถึง การตกลงพื้นที่vicinity ของทั้งสองฝ่ายร่วมกัน และมีการเอ่ยถึง ยูเนสโก และมรดกโลก เข้าไปด้วย ...

 

ถามสักนิด(ข้อสงสัย) ...

 

- ทำไม การกำหนด vicinity ถึงจงใจให้ยูเนสโก มีส่วนร่วม ในเมื่อมันเป็นเรื่องของพื้นที่ของ2ฝ่าย ไม่ใช่เรื่องของพื้นที่มรดกโลก ...

- ถ้ามีเรื่องของพื้นที่มรดกโลกเข้ามาเกี่ยวข้อง นั่นย่อมหมายถึง เป็นเรื่องที่กัมพูชายื่นปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก ในปี 2551 ..

   หมายความว่า เราไม่ได้พูดถึง vicinity ของปราสาท จากคำตัดสินของศาลโลก ในปี2505 หรือเปล่าครับ

 

attachicon.gifPreah_Vihear_French-13.jpg

 

รูปคล้ายๆ กันนะ

 

 

รูปนี้ เกี่ยวกับ เขตกันชน ของมรดกโลกปราสาท  หรือครับ .. ??

 

จำได้ตอนฟังคำพิพากษา ก็พูดถึงปราสาทพระวิหารอีกอย่างหนึ่ง(ที่คนแปล แปลให้ฟัง) ประมาณมรดกโลกต้องเข้าถึงได้จากทั้ง 2ประเทศ ...

 

อืม ถ้าเป็นเช่นนั้นจริงๆ การพิจารณาvicinity ของปราสาทพระวิหารปี2505  เท่ากับว่า เป็นการพิจารณา territory หรือ buffer zone ของมรดกโลกพระวิหาร 2551 แล้วหรือเปล่า ??? 


.. เห็นได้ชัด ประชาธิปไตย เสียงส่วนใหญ่ ไม่ได้ทำให้ได้มา ซึ่งผู้นำที่เก่ง และ ฉลาด ..

ที่นำความอยู่ดี กินดี มาให้ประชาชนได้ แล้วคุณยังจะอ้างประชาธิปไตยเสียงส่วนใหญ่ทำไม


#636 phat21

phat21

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,969 posts

ตอบ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 07:39

ที่แน่ๆ  ท่านทูตที่เคยเป็นฮีโร่ในแมเนเจอร์ วันนี้ท่านได้กลายเป็นคนขายชาติไปแล้วในความคิดคนพวกนี้

 

 

attachicon.gifท่านทูตถูกประณาม.png

ถูกไงทั้งสื่อระดับโลกสื่อเขมรยืนยันว่าไทยแพ้คดีอย่าว่าแต่สื่อเขมรเลย สื่อระดับโลกเขาไม่โกหกง่ายๆหรอก ตอนนี้ วีระชัยกลายเป็นคนขายชาติไปแล้ว


Posted Image Posted Image Posted ImagePosted Image Posted Image Posted Image Posted Imageไอ้สนธิบังเละ ไอ้ขิงเน่า+ไอ้มาร์คไอ้เทพเทือกคือตัวการให้ระบอบทักษิณยังลอยนวล

#637 phat21

phat21

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,969 posts

ตอบ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 07:42

"สิ่งที่นายศิริโชค ทำคือการอ้างเส้น 1 : 200000 ของกัมพูชาให้เป็นไปได้ และจะทำให้งานจะยากขึ้นจากการกระทำของนายศิริโชค ในฐานะหัวหน้าทีมต่อสู้ ผมขอสงวนสิทธิ์ไว้ตรงนี้แทนประชาชนไทย และประเทศไทยว่าไม่ใช่การยอมรับของประเทศไทย เป็นเพียงความเห็น 1 คนในรัฐสภานี้เท่านั้นที่พูดเพราะคนที่จะทำให้มีผลผูกพันได้ คือนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศเท่านั้น จึงขอให้ที่ประชุมแห่งนี้บันทึกไว้ว่าจะไม่ผูกพันประเทศไทย และแม้จะไม่ผูกพันธ์ แต่ท่านได้ทำให้การเจรจาของไทยในอนาคตนั้นยากขึ้นแน่นอน และเป็นการทำร้ายประเทศไทยอย่างใหญ่หลวง"

 

 

 

อ้อแ้ล้วที่ทูต มันโต้ศิริโชคเรื่องที่ศิริโชคตีความพิพากษาไทยเสียดินแดน แล้วไอ้ที่ทูตมาบอกว่าศิริโชคเอาแผนที่มาแบบนี้ทําประเทศเสียหายเจรจาลําบากมันคล้ายกับตอนที่ พรรค ปชปใส่ร้ายพันธมิตรหาว่าเอาแผนที่เพื่อให้เขมรรู้ตัวบอกแผนให้ศัตรูรู้ทั้งๆทีึ่พันธมิตรเผยว่าเขมรมันไปยังไงให้แก้ยังไง  วันนี้ศิริโชคโดนแบบที่พันธมิตรเคยโดนกับพรรค ปชปซะเอง

 

รู้สึกตัวได้ยังครับไม่สายถ้า ปชปไม่รับอํานาจศาลโลก  


Edited by phat21, 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 07:46.

Posted Image Posted Image Posted ImagePosted Image Posted Image Posted Image Posted Imageไอ้สนธิบังเละ ไอ้ขิงเน่า+ไอ้มาร์คไอ้เทพเทือกคือตัวการให้ระบอบทักษิณยังลอยนวล

#638 55555

55555

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 13,795 posts

ตอบ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 09:56

"สิ่งที่นายศิริโชค ทำคือการอ้างเส้น 1 : 200000 ของกัมพูชาให้เป็นไปได้ และจะทำให้งานจะยากขึ้นจากการกระทำของนายศิริโชค ในฐานะหัวหน้าทีมต่อสู้ ผมขอสงวนสิทธิ์ไว้ตรงนี้แทนประชาชนไทย และประเทศไทยว่าไม่ใช่การยอมรับของประเทศไทย เป็นเพียงความเห็น 1 คนในรัฐสภานี้เท่านั้นที่พูดเพราะคนที่จะทำให้มีผลผูกพันได้ คือนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการต่างประเทศเท่านั้น จึงขอให้ที่ประชุมแห่งนี้บันทึกไว้ว่าจะไม่ผูกพันประเทศไทย และแม้จะไม่ผูกพันธ์ แต่ท่านได้ทำให้การเจรจาของไทยในอนาคตนั้นยากขึ้นแน่นอน และเป็นการทำร้ายประเทศไทยอย่างใหญ่หลวง"

 

 

 

อ้อแ้ล้วที่ทูต มันโต้ศิริโชคเรื่องที่ศิริโชคตีความพิพากษาไทยเสียดินแดน แล้วไอ้ที่ทูตมาบอกว่าศิริโชคเอาแผนที่มาแบบนี้ทําประเทศเสียหายเจรจาลําบากมันคล้ายกับตอนที่ พรรค ปชปใส่ร้ายพันธมิตรหาว่าเอาแผนที่เพื่อให้เขมรรู้ตัวบอกแผนให้ศัตรูรู้ทั้งๆทีึ่พันธมิตรเผยว่าเขมรมันไปยังไงให้แก้ยังไง  วันนี้ศิริโชคโดนแบบที่พันธมิตรเคยโดนกับพรรค ปชปซะเอง

 

รู้สึกตัวได้ยังครับไม่สายถ้า ปชปไม่รับอํานาจศาลโลก  

 

 

เอ็งอย่ามั่ว....

 

ฑูตพูดอย่างนั้นก็ถูกแล้ว เพราะคำพูดเค้ามันอาจมีผลผูกพันธ์กับการเจรจาเรื่องเขตแดนในอนาคต

 

ศิริโชคพูด เพราะ มันเป็นการเปิดสภาเพื่อปรึกษาหารือ....ศิริโชค ต้องพูดเพราะมันอาจเป็นจุดอ่อนของไทยตามคำพิพากษา

 

เวลาเปิดสภา เพื่อขอคำปรึกษา ขอความเห็น ถ้าไม่พูดกันตามที่คิด จะเปิดสภาให้พูดทำหอกไร

 

ศาลชี้ทางให้ไปคุยกันเองเรื่องเขตแดน เพราะ มันมี JBC ที่เกิดจาก MOU 43 อยู่แล้ว..

 

 

 

http://webboard.seri...-13#entry904240

 

ข้อสรุปข้างบนนี้แหละใช่เลย...

 

แต่มันยุ่งตรงที่ตอนนี้ดันมี unesco เค้ามาเกี่ยวแล้ว

 

คุยกันแค่ ไทย-เขมร ก็ต้องเป็นชาติแล้ว....

 

ชาติหน้าแล้วกัน ค่อยทำแผนบริหารจัดการพื้นที่ ส่ง Unesco

 

:lol:



#639 หงส์เฒ่าเสาร์ธรรม

หงส์เฒ่าเสาร์ธรรม

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,408 posts

ตอบ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:05

http://www.thaipost....ws/151113/82115

 

ยกจากข่าวป๋าเปลวสีเงิน มาส่วนหนึ่ง

 

แต่ก็ด้วยพระสยามเทวาธิราชมีจริงนั่นแหละ นายวิรัติ กัลยาศิริ ส.ส.ประชาธิปัตย์ ไปยื่นเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖๘ ว่าเป็นการแก้ไขที่ไม่เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ
และศาลพิจารณาแล้วด้วยเสียง ๖:๓ ว่ากรณีมีมูล รับคำร้องไว้ตีความ เมื่อ ๘ พ.ย.๕๖ หมายความว่า ใบเตยที่กำลังจะเข้าปากแม้ว ถูกดึงออกมากระแด่วๆ ชนิด...
เสียวสะดือ!
๔ พ.ย. รัฐบาลระบอบทักษิณแก้มาตรา ๑๙๐ รอท่า ๑๑ พ.ย. ศาลโลกตีความคำพิพากษาเดิมออกมาเป็นคำพิพากษาใหม่ว่า "พื้นที่เล็กๆ ของพื้นที่" ตรงเขาชะโงกปราสาทพระวิหารเป็นของเขมร
ทหารไทยต้องถอยไป!?
แต่ทั้งหลาย-ทั้งปวง ศาลโลกบอกว่า...ขณะนี้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกแล้ว ปราสาทพระวิหาร รวมถึง "เจ้าพื้นที่เล็กๆ ของพื้นที่" ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของมรดกโลก
กัมพูชาและไทยจะต้องคุยกันเอง หารือกันเองภายในประเทศ โดยที่ยูเนสโกจะต้องควบคุมและดูแล ในฐานะที่เป็นมรดกโลก!
เมื่อเป็นเช่นนี้ ใช้สติเข้ารับปัญหา พลิกวิกฤติให้เป็นโอกาสเสียว่า ไอ้ "พื้นที่เล็กๆ" นั่นน่ะ เขมรก็ไม่ได้ ไทยก็ไม่ได้
เพราะมันเป็นทองในเรือ แล้วเรือนั้นก็ "ล่มในหนองไทย-เขมร" ทองมันก็ไม่ได้ไปเป็นของใคร และไม่ได้ไปทางไหน มันอยู่ในหนองเจ้าของร่วมกัน บนความเป็น "มรดกโลก" ที่ต้องให้ยูเนสโกประกาศใหม่ให้ชัดว่า
"ด้วยคำพิพากษาศาลโลก ปราสาทพระวิหารแห่งนี้ ไทย-กัมพูชา ได้นำขึ้นทะเบียนเป็น "มรดกโลก" ร่วมกัน"!
แต่ภูมะเขือก็ดี พื้นที่ ๔.๖ ตารางกิโลเมตรก็ดี ไม่เกี่ยว จากคำพิพากษานี้ เป็นพื้นที่ของประเทศไทยสมบูรณ์!
ในขั้นต้น ก่อนมีบทปฏิบัติการในเรื่องที่ยากแก้ไขแล้ว เพราะศาลโลกตัดสินแล้ว ก็มีแนวนี้แหละที่ "สังคมชาติ" พอจะได้ประโยชน์
แต่ลึกลงไปในซอกหัวใจยิ่งลักษณ์-ทักษิณ จากคำพิพากษา โปรโมตให้ ๒ ประเทศจูบปากพันลิ้นกันนี้ เท่ากับเชื่อมเทอร์มินอลวัน แก้รัฐธรรมนูญ ม.๑๙๐ เข้ากับเทอร์มินอลทู
เปิดประตูให้รัฐบาลระบอบทักษิณเซ็นสัญญากับรัฐบาลระบอบฮุน เซน ด้วยมาตรา ๑๙๐ ที่แก้แล้วชนิด....."กูไม่ต้องบอกใคร"
ให้ "เชฟรอน" ที่ได้สัมปทานไปนานแล้ว ลงมือขุด "น้ำมัน-ก๊าซ" ในอ่าวไทยได้เลย
ยกโคตร-ยกตระกูล รวยกันตายไปเลย!

 

 

ต้องยอมรับเลยว่า พญามาร มันโคตรฉลาดโกงชาติอย่างเป็นระบบจริงๆ


Edited by หงส์เฒ่าเสาร์ธรรม, 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:05.

จินตนาการสำคัญกว่าความรู้ ... ศีลธรรม เป็นกรอบรักษาจินตนาการให้ดำรงอยู่ด้วยความดีงาม... -_- 


#640 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:22

Preah_Vihear_French-13.jpg

ขอขึ้นทะเบียนครั้งที่ 2.jpg

นพดลแถลงการณ์ร่วม.jpg

ขอขึ้นทะเบียนครั้งที่ 3.JPG


Edited by Stargate-1, 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 10:56.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#641 นักเรียนตลอดชีพ

นักเรียนตลอดชีพ

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 4,024 posts

ตอบ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 12:39

 

 

ขออภัยนะครับ อย่าหาว่าผมเป็นลูกอีช่างจับผิดเลยนะครับ ผมจับประเด็น(จับผิด) คำพิพากษาได้อีกประการแล้วครับ ...

จำได้ว่า ส่วนท้ายของคำพิพากษา มีส่วนหนึ่งพูดถึง การตกลงพื้นที่vicinity ของทั้งสองฝ่ายร่วมกัน และมีการเอ่ยถึง ยูเนสโก และมรดกโลก เข้าไปด้วย ...

 

ถามสักนิด(ข้อสงสัย) ...

 

- ทำไม การกำหนด vicinity ถึงจงใจให้ยูเนสโก มีส่วนร่วม ในเมื่อมันเป็นเรื่องของพื้นที่ของ2ฝ่าย ไม่ใช่เรื่องของพื้นที่มรดกโลก ...

- ถ้ามีเรื่องของพื้นที่มรดกโลกเข้ามาเกี่ยวข้อง นั่นย่อมหมายถึง เป็นเรื่องที่กัมพูชายื่นปราสาทพระวิหารเป็นมรดกโลก ในปี 2551 ..

   หมายความว่า เราไม่ได้พูดถึง vicinity ของปราสาท จากคำตัดสินของศาลโลก ในปี2505 หรือเปล่าครับ

 

attachicon.gifPreah_Vihear_French-13.jpg

 

รูปคล้ายๆ กันนะ

 

 

รูปนี้ เกี่ยวกับ เขตกันชน ของมรดกโลกปราสาท  หรือครับ .. ??

 

จำได้ตอนฟังคำพิพากษา ก็พูดถึงปราสาทพระวิหารอีกอย่างหนึ่ง(ที่คนแปล แปลให้ฟัง) ประมาณมรดกโลกต้องเข้าถึงได้จากทั้ง 2ประเทศ ...

 

อืม ถ้าเป็นเช่นนั้นจริงๆ การพิจารณาvicinity ของปราสาทพระวิหารปี2505  เท่ากับว่า เป็นการพิจารณา territory หรือ buffer zone ของมรดกโลกพระวิหาร 2551 แล้วหรือเปล่า ??? 

 

 

ไม่แน่ใจเพื่อนๆจะเข้าใจสิ่งที่ผมกำลังจะสื่อไหม คือ

 

ถ้ามันเป็น คำตัดสินคดีมีการใช้หรืออ้างอิง การขึ้นทะเบียนมรดกโลก(2551)

 

หมายความว่ามันเป็นคำตัดสินของคดีใหม่ ซึ่งเท่าที่จำได้ เราไม่รับคำตัดสินของศาลโลก นานแล้วนี่ครับ

 

คำตัดสินคดีนี้เราจึงไม่จำเป็นต้องรับคำตัดสินก็ได้นะครับ


.. เห็นได้ชัด ประชาธิปไตย เสียงส่วนใหญ่ ไม่ได้ทำให้ได้มา ซึ่งผู้นำที่เก่ง และ ฉลาด ..

ที่นำความอยู่ดี กินดี มาให้ประชาชนได้ แล้วคุณยังจะอ้างประชาธิปไตยเสียงส่วนใหญ่ทำไม


#642 HiddenMan

HiddenMan

    Long Live The King

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,023 posts

ตอบ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:20

ท่าทีของรัฐบาลไทย VS รัฐบาลเขมร....  -_-

 

http://www.dailynews...ontentId=194505

 

อย่ารีบยอมแพ้ : คำตัดสินคดีปราสาทพระวิหาร ขึ้นอยู่กับการตีความ “พื้นที่แคบๆ”

 

เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 ศาลโลก ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้อ่านคำพิพากษาคดีที่รัฐบาลประเทศกัมพูชาร้องขอให้ตีความขอบเขตพื้นที่บริเวณรอบตัวปราสาทพระวิหารว่าควรจะมีขนาดพื้นที่ใกล้ตัวปราสาทมากน้อยแค่ไหนอย่างไร

 

ผมได้ติดตามฟังผลการตัดสินของศาลโลกผ่านการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ที่แปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยเท่านั้น และการแปลก็เป็นแบบไม่ราบรื่น ไม่สมบูรณ์ ตามไม่ทันประโยคภาษาอังกฤษที่พูดไปล่วงหน้า บางประโยคจึงถูกผู้แปลปล่อยข้ามไปเพื่อให้ทันกับประโยคภาษาอังกฤษที่มาใหม่ ที่ว่าเช่นนี้ก็เพียงความรู้สึกที่ได้จากการได้ยินเสียงภาษาอังกฤษของผู้พิพากษาแว่ว ๆ อยู่เป็นพื้นให้พอเดาความเท่านั้น อย่างไรก็ตาม พอศาลปิดการแถลงแล้วผมก็พอสรุปได้ดังนี้ :

 

ศาลประกาศว่าสามารถรับคำฟ้องเพื่อตีความได้ โดยทำได้เฉพาะบนพื้นฐานของคำตัดสินเดิมปี 2505 และอธิบายว่าไม่มีอำนาจพิจารณาเรื่องเส้นแบ่งพรมแดนระหว่างกัมพูชาและไทย ซึ่งเป็นเรื่องของทั้งสองประเทศจะไปตกลงกันเอง สำหรับเรื่อง”พื้นที่ใกล้เคียงตัวปราสาทซึ่งเป็นของกัมพูชา” ตามตำตัดสินเดิมเมื่อ 51 ปีที่แล้วนั้น ศาลบอกว่าเป็นพื้นที่ “เล็กมาก” อธิบายโดยอ้างแผนที่ในภาคผนวกจะอยู่ทางทิศตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือของตัวปราสาท

 

ก่อนปิดการแถลง ศาลบอกว่าจะพิมพ์เผยแพร่คำพิพากษาและความเห็นจากผู้พิพากษาอีกส่วนหนึ่งโดยเร็ว ซึ่งต่อมาไม่นานในวันเดียวกันเอกสารภาษาอังกฤษจากศาล ยาว 37 หน้าก็ได้รับการเผยแพร่สู่ชาวโลก ทุกคนสามารถเข้าไปนำออกมาอ่านได้จากหน้าข้อมูลทางเว็บไซต์ของศาลโลกที่ http://www.icj-cij.o...s/151/17704.pdf ส่วนกระทรวงการต่างประเทศก็แถลงในวันที่ 12 พฤศจิกายน ว่าได้ตั้งคณะทำงานเตรียมการแปลเอกสารทั้งหมดแล้ว แต่ยังไม่สามารถบอกได้ว่าจะเสร็จเมื่อไร แต่รับปากว่าจะทำโดยเร็ว

ที่แปลกมากก็คือปฏิกิริยาของฝ่ายไทยทั้งภาครัฐและภาคนักวิชาการผู้ถือว่าเป็นผู้รู้เรื่อง ล้วนมีปฏิกิริยาต่อคำพิพากษาได้อย่างรวดเร็ว ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้อ่านคำพิพากษาในเอกสารอย่างเป็นทางการ

 

หากเป็นปฏิกิริยาเชิงบวกก็พอรับได้

แต่ปฏิกิริยาเชิงลบกลับมีมากจนหาเชิงบวกไม่เจอ

 

เมื่อศาลปิดการแถลง คณะผู้พิพากษาเดินออกจากบัลลังก์ ออกนอกห้องไป ฉับพลันทันที คุณสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย ก็เดินเข้าไปจับมือแสดงความยินดีกับรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต่างประเทศของกัมพูชาที่ยังนั่งอยู่ ด้วยใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสทั้งคู่ ทำให้ดูเป็นว่ากัมพูชาเป็นฝ่ายชนะคดีและฝ่ายไทยยอมรับผลการพิพากษาของศาลว่าเป็นเช่นนั้น ทั้ง ๆ ที่รัฐมนตรีต่างประเทศของไทยก็ยังมิได้อ่านเอกสารคำพิพากษาของศาล แถมท่านรัฐมนตรีต่างประเทศของไทยก็ไม่มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ไม่รู้ภาษาอังกฤษมากพอ หรือรู้แบบงู ๆ ปลา ๆ ไม่มีทางที่จะฟังการแถลงสดให้รู้เรื่องโดยละเอียดถึงเรื่องทางเทคนิคได้ ขณะที่เอกสารฉบับแปลจนถึงวันนี้ (พุธ 13 พฤศจิกายน 2556) กระทรวงการต่างประเทศก็ยังแปลไม่เสร็จ เมื่อรัฐมนตรีของไทยยังไม่รู้เรื่องรายละเอียดคำพิพากษาก็ไม่ควรรีบลุกขึ้นแล้วเดินพุ่งเข้าไปจับมือแสดงความยินดีกับฝ่ายกัมพูชาราวกับว่าดีใจที่กัมพูชาได้รับชัยชนะ และไม่ถือสาอะไร ยังคงยิ้มร่าเริง ราวกับจะส่งสัญญาณว่า

 

แม้ ​“ข้าพเจ้าจะคิดว่าประเทศไทยของข้าพเจ้าแพ้ แต่ข้าพเจ้าก็ยังยิ้มได้ รับได้ และขอแสดงความยินดีกับกัมพูชาด้วย”

 

ผมตีความจากภาพที่เห็นจากการถ่ายทอดสด ด้วยความรู้สึกชาตินิยมที่ท่านรัฐมนตรีเตือนคนไทยไว้ล่วงหน้าแล้วว่าอย่าให้มีเกินเลย แต่ผมมีจนอาจเกินเลยไปก็เป็นได้

หลังจากนั้นรัฐมนตรีสุรพงษ์พร้อมคณะฝ่ายไทยก็เข้าห้องส่วนตัวปิดประตูประชุมกันออย่างฉุกเฉิน เพื่อเตรียมออกมาเผชิญคำถามจากสื่อมวลชนไทยที่ไปรอทำข่าวกันจำนวนหนึ่ง โดยโทรทัศน์หลายช่องถ่ายทอดสดเหตุการณ์ที่ศาลโลกนี้ตั้งแต่บ่ายสามโมง หนึ่งชั่วโมงก่อนศาลจะแถลงเป็นทางการในเวลาบ่ายสี่โมง เวลาไทย (เท่ากับสี่โมงเช้าเวลาที่ศาลโลก ประเทศเนเธอร์แลนด์) คณะของไทยใช้เวลาราวครึ่งชั่วโมงก็เปิดประตูห้องแล้วเดินออกไปหน้าอาคารศาล เริ่มแถลงข่าวต่อหน้าสื่อมวลชนไทย

 

ท่านรัฐมนตรีสุรพงษ์ ซึ่งแถลงสั้น ๆ ว่า ผลการตัดสินเป็นที่พอใจของทั้งสองฝ่ายคือไทยและกัมพูชา และจะหารือกับกัมพูชาต่อไป

 

ส่วนท่านทูตวีรชัย พลาศรัย ผู้แทนคณะดำเนินการทางกฎหมายของไทยก็แถลงว่ากัมพูชาไม่ได้รับพื้นที่ 4.6-4.7 ตารางกิโลเมตร ไม่ได้พื้นที่ภูมะเขือ เว้นแต่จะได้พื้นที่แคบมาก ๆ ซึ่งก็กำลังคำนวนกันอยู่ และศาลแนะนำให้ไทยกับกัมพูชาดูแลปราสาทเขาพระวิหารที่เป็นมรดกโลกร่วมกัน

 

ปัญหาของผมซึ่งตีความ โดยไม่มีหน้าที่ตีความก็คือ :

 

ประเทศไทย - ดูจากสีหน้าท่าทางรัฐมนตรีต่างประเทศ ท่าทางจะ “พอใจผลการตัดสิน” และถึงกับเข้าไปขอจับมือ “แสดงความยินดีกับกัมพูชา” โดยการบอกว่ากัมพูชาก็พอใจ ความพอใจของทั้งสองฝ่ายคืออะไรก็ไม่ทราบ เหมือนกันหรือแตกต่างกันก็ไม่ทราบ แต่เราเป็นฝ่ายเดินปรี่เข้าไปจับมือแสดงความยินดีกับเขา ราวกับว่าเราเห็นด้วยและพอใจตามที่กัมพูชาพอใจ

 

ดูจากคำแถลงของนายกรัฐมนตรีกัมพูชา ณ กรุงพนมเปญในเย็นวันเดียวกัน พบว่ากัมพูชาประกาศชัยชนะเหนือไทยแล้ว โดยบอกว่า [ข้อความนี้อ้างจากคำแปลแบบไม่เป็นทางการปรากฎในอินเตอร์เน็ต และไม่อาจยืนยันความถูกต้องได้] :

 

“ศาลพิจารณาในคำตัดสินนี้ว่า พระราชอาณาจักรกัมพูชามีอธิปไตยเต็มที่เหนือบูรณภาพแห่งดินแดน ในพื้นที่หน้าผา (Eperon/Promontory) ของปราสาทพระวิหาร ดังที่มีกำหนดในย่อหน้าที่ 98 ของคำตัดสินนี้ และเป็นปัจจัยให้ศาลประกาศว่า พระราชอาณาจักรไทยมีหน้าที่ถอนออกจากดินแดนนี้ ในทุกกองกำลังทหาร หรือตำรวจ หรือผู้ดูแล หรือยามรักษาอื่นอีกของไทยที่ประจำการในที่ตั้งในดินแดนแห่งนั้น กระผมขอชี้แจงเพิ่มเติมว่า ย่อหน้าที่ 98 ของคำตัดสินนี้ ได้ยืนยันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับการกำหนดที่ตั้งของพื้นที่หน้าผานี้....กระผมในนามนายกรัฐมนตรีแห่งพระราชอาณาจักรกัมพูชา และ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แห่งพระราชอาณาจักรไทย ได้เห็นชอบร่วมกันที่ผ่านมาว่า: ถึงแม้ว่าคำตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 นี้ ออกมาเช่นไรก็ตาม ประเทศทั้งสองก็ต้องเคารพตามคำตัดสินนี้ และพยายามรักษามิตรภาพระหว่างประเทศ และประชาชนทั้งสอง” [ข้อความนี้อ้างจากคำแปลแบบไม่เป็นทางการปรากฎในอินเตอร์เน็ต และไม่อาจยืนยันความถูกต้องได้]

 

ดังนั้น หากจะว่าตามกัมพูชา ตามที่กัมพูชาพอใจ ประเทศไทยต้องเสียพื้นที่เพิ่มเติมบริเวณหน้าผาด้านเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของปราสาทพระวิหาร และกัมพูชาได้บอกให้ไทยถอนกำลังทั้งหมดแล้วทันที โดยประกาศให้ประชาชนกัมพูชารับทราบในเย็นวันที่ศาลโลกตัดสิน แถมยังบอกประชาชนด้วยว่านายกรัฐมนตรีของไทยสัญญาไว้แล้วว่าจะทำตามที่ศาลตัดสิน ซึ่งเท่ากับ” ทำตามที่กัมพูชาสั่งด้วยเป็นการตีความเอาเองโดยนายกฯฮุนเซ็น ทั้ง ๆ ที่ยังไม่มีการหารืออะไรกับไทย ทั้ง ๆ ที่รัฐมนตรีต่างประเทศของไทยบอกที่กรุงเฮกว่าทั้งสองฝ่ายจะต้องหารือกันก่อน เป็นการตีความแบบชาตินิยมและเพื่อผลทางการเมืองในประเทศตนเท่านั้น แต่ตีความให้ผูกพันประเทศไทยไปด้วยโดยอารมณ์สาธารณะในกัมพูชา

กัมพูชาประกาศชัยชนะเหนือไทย โดยไม่รอการหารือกับไทย และประกาศให้ไทยถอนกำลังทันที และอ้างนายกฯยิ่งลักษณ์ว่าให้คำมั่นสัญญาไว้ล่วงหน้าแล้ว

 

ส่วนไทยนั้น รัฐมนตรีต่างประเทศตามเล่ห์เหลี่ยมทางการทูตของกัมพูชาไม่ทัน ทั้งรัฐมนตรีต่างประเทศ ทั้งนายกรัฐมนตรี ภาษาอังกฤษของทั้งสองผู้นำก็ใช้งานเป็นเรื่องราวไม่ได้ทั้งคู่ เอกสารก็ยังไม่ได้อ่าน เพราะยังแปลกันไม่เสร็จ แม้ผ่านไปสองวันแล้ว แต่ก็ยังสามารถแสดงความยินดีกับกัมพูชาไปแล้วก่อนล่วงหน้าแล้วได้

 

ก็เหลือที่คำแถลงของท่านเอกอัครราชทูตวีรชัย พลาศรัย ที่ยืนยันว่าเราไม่เสียดินแดน 4.6-4.7 ตารางกิโลเมตร แต่กำลังคำนวนพื้นที่ชง่อนผาส่วนเหนือของปราสาท เป็นพื้นที่แคบ ๆ ไม่เสียพื้นที่ภูมะเขือ มองในแง่ดีก็คือเราไม่เสียพื้นที่มากอย่างที่ข่าวสารบอกย้ำให้เรากลัวกัน มองในแง่ร้ายเราก็คงจะเสียพื้นที่นิดหน่อย แต่จะต้องคำนวนพื้นที่สูญเสียและหารือกันสองฝ่ายก่อนว่าจะได้เสียกันเท่าไรอย่างไร

 

รัฐมนตรีต่างประเทศ และนายกรัฐมนตรีของไทย ไม่มีพื้นฐานความรู้ด้านการต่างประเทศ โดยเฉพาะเรื่องรายละเอียดของคดีปราสาทพระวิหาร แถมขาดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่เป็นสากลซึ่งบุคคลระดับผู้นำของชาติของสังคมควรจะใช้ภาษาอังกฤษได้โดยไม่ยอมให้เสียเปรียบใครในทางการเมืองเรื่องผลประโยชน์ของชาติ เมื่อไม่มีความรู้และขาดทักษะภาษา และบังเอิญมาอยู่ในตำแหน่งสำคัญ ก็มีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมและเตรียมตัวให้พร้อมตามคำแนะนำและตามร่างคำแถลงที่ข้าราชการเตรียมไว้ให้ ไม่ต้องเร่งร้อนแถลงเรื่องที่ไม่รู้และไม่พร้อม พร้อมเมื่อไรก็แสดงออกด้วยท่าทางที่ทำให้ดูมั่นใจให้น่าเชื่อถือให้ได้ เท่านั้นก็เป็นพอ

 

ความรู้ก็ไม่มี ความพร้อมก็ไม่เตรียม แต่รีบเร่งการแสดงการแถลง

 

ทำให้ประเทศไทยประกาศยอมแพ้ตั้งแต่กัมพูชายังไม่ประกาศชัยชนะ

 

จากนี้ไปเราต้องไปแก้ไขความผิดพลาดจากการแถลงของรัฐมนตรีต่างประเทศของเราที่แถลงที่กรุงเฮก และคำสัญญาจากนายกรัฐมนตรีของเราที่สัญญากับกัมพูชาไว้เมื่อไรก็ไม่รู้

เราต้องไปเริ่มต้นกันใหม่ ณ ที่ประชุมร่วมระดับรัฐมนตรีของทั้งสองฝ่าย :

 

1. ไทยเราต้องเริ่มด้วยการบอกกับกัมพูชาว่า ศาลไม่มีคำตัดสินเรื่องพื้นที่ 4.6-4.7 ตารางกิโลเมตร แต่ขอให้ใช้ตัวเลขที่มากกว่าเพียงตัวเลขเดียวพอ คือใช้ตัวเลข 4.7 หรือจะเติมเป็น 4.8 หรือ 5.0 ให้เกินเข้าไว้ก่อนก็ดี แต่ห้ามใช้สองตัวเลขแบบไม่แน่ใจว่า 4.6-4.7 เพราะฝ่ายกัมพูชาก็อ้างอิงตัวเลขน้อยกว่าเพื่อประโยชน์ของเขาแน่ ๆ และไทยต้องยืนยันว่า “พื้นที่แคบ ๆ ” ที่ศาลกล่าวถึงนั้น “ไม่ชัดเจนว่าเป็นส่วนไหน-เท่าไร-อย่างไร”

 

อย่าได้ไปเอาตัวเลขนักวิชาการหรือฝ่ายนักคิดที่ช่วยคำนวนความพ่ายแพ้ให้แล้วภายใน 24 ชั่วโมงว่าไทยเสียดินแดนไป 0.8 - 0.9 ตารางกิโลเมตรตรงชง่อนผาด้านเหนือ

นักวิชาการหรือนักกฎหมายที่ให้สัมภาษณ์ว่าไทยเสียดินแดน จะถูกหรือผิดก็ไม่มีใครทราบ แต่รัฐบาลต้องไม่เอาการเสียดินแดนเป็นตัวตั้งแล้วเจรจากับกัมพูชาว่าเราควรจะเสียหรือจะแพ้กี่ตารางกิโลเมตร

 

ไทยเราต้องยืนยันว่าศาลมิได้บอกชัดเจนอะไรมากไปกว่าที่บอกว่า “พื้นที่แคบๆ” นั้นเป็นพื้นที่รอบตัวปราสาทซึ่งเป็นของกัมพูชา และให้ยืนยันว่าเราเห็นด้วยกับกัมพูชาที่เห็นด้วยกับศาลเรื่อง “พื้นที่แคบๆ” และเราขอตีความว่า พื้นที่แคบๆที่ว่านั้นคือพื้นที่เดิมที่เรามิได้เข้าไปกั้นรั้วหลวดหนามไว้ เราต้องการให้กัมพูชาได้ “พื้นที่แคบๆ” ตามเดิม ณ สถานภาพปัจจุบัน ตามความแคบที่เราเห็นของเรามานานแล้ว จะให้กว้างกว่าที่แคบอยู่แล้ว ไม่ยอมเด็ดขาด

 

ศาลบอกว่า “แคบ” ก็ต้องเชื่อศาล

ส่วนจะ “แคบ” แค่ไหนนั้น ก็ต้องเชื่อไทย!

 

ที่ผมแนะมานี้เป็นเรื่องการปกป้องอธิปไตยของชาติ และเป็นการตีความให้ไทยได้ประโยชน์ เพราะศาลมิได้ตีความละเอียดชัดเจนอะไร เป็นคำแนะนำแบบชาตินิยมของผมเป็นส่วนตัว เพราะผมเป็นคนไทย ก็ต้องนิยมประเทศชาติไทยของผมเป็นธรรมดา

 

เราจึงควรจะเริ่มต้นถกเถียงและเดินหน้าขัดแย้งกับกัมพูชาต่อไปโดยไม่ต้องมีข้อยุติอีก 50 ปี

แล้วถึงตอนนั้นเราก็ยื่นต่อศาลโลกให้ตีความใหม่

 

หากรัฐบาลของ “ท่านนายกฯยิ่งลักษณ์ฯ” ทำได้ ผมก็จะได้เริ่มรักท่านนายกฯด้วยคน

 

สมเกียรติ อ่อนวิมล


“Live as if you were to die tomorrow. Learn as if you were to live forever.”  - Mahatma Gandhi

 

สนใจบ้านพักคนชราเสรีไทย (FB Secret Group) ติดต่อ (PM) เว็บบอร์ด

https://www.facebook...denman.serithai


#643 ramboboy26

ramboboy26

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,532 posts

ตอบ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 - 14:25

ท่าทีของรัฐบาลไทย VS รัฐบาลเขมร....  -_-

 

http://www.dailynews...ontentId=194505

 

อย่ารีบยอมแพ้ : คำตัดสินคดีปราสาทพระวิหาร ขึ้นอยู่กับการตีความ “พื้นที่แคบๆ”

 

เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 ศาลโลก ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้อ่านคำพิพากษาคดีที่รัฐบาลประเทศกัมพูชาร้องขอให้ตีความขอบเขตพื้นที่บริเวณรอบตัวปราสาทพระวิหารว่าควรจะมีขนาดพื้นที่ใกล้ตัวปราสาทมากน้อยแค่ไหนอย่างไร

 

ผมได้ติดตามฟังผลการตัดสินของศาลโลกผ่านการถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ที่แปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยเท่านั้น และการแปลก็เป็นแบบไม่ราบรื่น ไม่สมบูรณ์ ตามไม่ทันประโยคภาษาอังกฤษที่พูดไปล่วงหน้า บางประโยคจึงถูกผู้แปลปล่อยข้ามไปเพื่อให้ทันกับประโยคภาษาอังกฤษที่มาใหม่ ที่ว่าเช่นนี้ก็เพียงความรู้สึกที่ได้จากการได้ยินเสียงภาษาอังกฤษของผู้พิพากษาแว่ว ๆ อยู่เป็นพื้นให้พอเดาความเท่านั้น อย่างไรก็ตาม พอศาลปิดการแถลงแล้วผมก็พอสรุปได้ดังนี้ :

 

ศาลประกาศว่าสามารถรับคำฟ้องเพื่อตีความได้ โดยทำได้เฉพาะบนพื้นฐานของคำตัดสินเดิมปี 2505 และอธิบายว่าไม่มีอำนาจพิจารณาเรื่องเส้นแบ่งพรมแดนระหว่างกัมพูชาและไทย ซึ่งเป็นเรื่องของทั้งสองประเทศจะไปตกลงกันเอง สำหรับเรื่อง”พื้นที่ใกล้เคียงตัวปราสาทซึ่งเป็นของกัมพูชา” ตามตำตัดสินเดิมเมื่อ 51 ปีที่แล้วนั้น ศาลบอกว่าเป็นพื้นที่ “เล็กมาก” อธิบายโดยอ้างแผนที่ในภาคผนวกจะอยู่ทางทิศตะวันออกและตะวันออกเฉียงเหนือของตัวปราสาท

 

ก่อนปิดการแถลง ศาลบอกว่าจะพิมพ์เผยแพร่คำพิพากษาและความเห็นจากผู้พิพากษาอีกส่วนหนึ่งโดยเร็ว ซึ่งต่อมาไม่นานในวันเดียวกันเอกสารภาษาอังกฤษจากศาล ยาว 37 หน้าก็ได้รับการเผยแพร่สู่ชาวโลก ทุกคนสามารถเข้าไปนำออกมาอ่านได้จากหน้าข้อมูลทางเว็บไซต์ของศาลโลกที่ http://www.icj-cij.o...s/151/17704.pdf ส่วนกระทรวงการต่างประเทศก็แถลงในวันที่ 12 พฤศจิกายน ว่าได้ตั้งคณะทำงานเตรียมการแปลเอกสารทั้งหมดแล้ว แต่ยังไม่สามารถบอกได้ว่าจะเสร็จเมื่อไร แต่รับปากว่าจะทำโดยเร็ว

ที่แปลกมากก็คือปฏิกิริยาของฝ่ายไทยทั้งภาครัฐและภาคนักวิชาการผู้ถือว่าเป็นผู้รู้เรื่อง ล้วนมีปฏิกิริยาต่อคำพิพากษาได้อย่างรวดเร็ว ทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้อ่านคำพิพากษาในเอกสารอย่างเป็นทางการ

 

หากเป็นปฏิกิริยาเชิงบวกก็พอรับได้

แต่ปฏิกิริยาเชิงลบกลับมีมากจนหาเชิงบวกไม่เจอ

 

เมื่อศาลปิดการแถลง คณะผู้พิพากษาเดินออกจากบัลลังก์ ออกนอกห้องไป ฉับพลันทันที คุณสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทย ก็เดินเข้าไปจับมือแสดงความยินดีกับรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต่างประเทศของกัมพูชาที่ยังนั่งอยู่ ด้วยใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใสทั้งคู่ ทำให้ดูเป็นว่ากัมพูชาเป็นฝ่ายชนะคดีและฝ่ายไทยยอมรับผลการพิพากษาของศาลว่าเป็นเช่นนั้น ทั้ง ๆ ที่รัฐมนตรีต่างประเทศของไทยก็ยังมิได้อ่านเอกสารคำพิพากษาของศาล แถมท่านรัฐมนตรีต่างประเทศของไทยก็ไม่มีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ไม่รู้ภาษาอังกฤษมากพอ หรือรู้แบบงู ๆ ปลา ๆ ไม่มีทางที่จะฟังการแถลงสดให้รู้เรื่องโดยละเอียดถึงเรื่องทางเทคนิคได้ ขณะที่เอกสารฉบับแปลจนถึงวันนี้ (พุธ 13 พฤศจิกายน 2556) กระทรวงการต่างประเทศก็ยังแปลไม่เสร็จ เมื่อรัฐมนตรีของไทยยังไม่รู้เรื่องรายละเอียดคำพิพากษาก็ไม่ควรรีบลุกขึ้นแล้วเดินพุ่งเข้าไปจับมือแสดงความยินดีกับฝ่ายกัมพูชาราวกับว่าดีใจที่กัมพูชาได้รับชัยชนะ และไม่ถือสาอะไร ยังคงยิ้มร่าเริง ราวกับจะส่งสัญญาณว่า

 

แม้ ​“ข้าพเจ้าจะคิดว่าประเทศไทยของข้าพเจ้าแพ้ แต่ข้าพเจ้าก็ยังยิ้มได้ รับได้ และขอแสดงความยินดีกับกัมพูชาด้วย”

 

ผมตีความจากภาพที่เห็นจากการถ่ายทอดสด ด้วยความรู้สึกชาตินิยมที่ท่านรัฐมนตรีเตือนคนไทยไว้ล่วงหน้าแล้วว่าอย่าให้มีเกินเลย แต่ผมมีจนอาจเกินเลยไปก็เป็นได้

หลังจากนั้นรัฐมนตรีสุรพงษ์พร้อมคณะฝ่ายไทยก็เข้าห้องส่วนตัวปิดประตูประชุมกันออย่างฉุกเฉิน เพื่อเตรียมออกมาเผชิญคำถามจากสื่อมวลชนไทยที่ไปรอทำข่าวกันจำนวนหนึ่ง โดยโทรทัศน์หลายช่องถ่ายทอดสดเหตุการณ์ที่ศาลโลกนี้ตั้งแต่บ่ายสามโมง หนึ่งชั่วโมงก่อนศาลจะแถลงเป็นทางการในเวลาบ่ายสี่โมง เวลาไทย (เท่ากับสี่โมงเช้าเวลาที่ศาลโลก ประเทศเนเธอร์แลนด์) คณะของไทยใช้เวลาราวครึ่งชั่วโมงก็เปิดประตูห้องแล้วเดินออกไปหน้าอาคารศาล เริ่มแถลงข่าวต่อหน้าสื่อมวลชนไทย

 

ท่านรัฐมนตรีสุรพงษ์ ซึ่งแถลงสั้น ๆ ว่า ผลการตัดสินเป็นที่พอใจของทั้งสองฝ่ายคือไทยและกัมพูชา และจะหารือกับกัมพูชาต่อไป

 

ส่วนท่านทูตวีรชัย พลาศรัย ผู้แทนคณะดำเนินการทางกฎหมายของไทยก็แถลงว่ากัมพูชาไม่ได้รับพื้นที่ 4.6-4.7 ตารางกิโลเมตร ไม่ได้พื้นที่ภูมะเขือ เว้นแต่จะได้พื้นที่แคบมาก ๆ ซึ่งก็กำลังคำนวนกันอยู่ และศาลแนะนำให้ไทยกับกัมพูชาดูแลปราสาทเขาพระวิหารที่เป็นมรดกโลกร่วมกัน

 

ปัญหาของผมซึ่งตีความ โดยไม่มีหน้าที่ตีความก็คือ :

 

ประเทศไทย - ดูจากสีหน้าท่าทางรัฐมนตรีต่างประเทศ ท่าทางจะ “พอใจผลการตัดสิน” และถึงกับเข้าไปขอจับมือ “แสดงความยินดีกับกัมพูชา” โดยการบอกว่ากัมพูชาก็พอใจ ความพอใจของทั้งสองฝ่ายคืออะไรก็ไม่ทราบ เหมือนกันหรือแตกต่างกันก็ไม่ทราบ แต่เราเป็นฝ่ายเดินปรี่เข้าไปจับมือแสดงความยินดีกับเขา ราวกับว่าเราเห็นด้วยและพอใจตามที่กัมพูชาพอใจ

 

ดูจากคำแถลงของนายกรัฐมนตรีกัมพูชา ณ กรุงพนมเปญในเย็นวันเดียวกัน พบว่ากัมพูชาประกาศชัยชนะเหนือไทยแล้ว โดยบอกว่า [ข้อความนี้อ้างจากคำแปลแบบไม่เป็นทางการปรากฎในอินเตอร์เน็ต และไม่อาจยืนยันความถูกต้องได้] :

 

“ศาลพิจารณาในคำตัดสินนี้ว่า พระราชอาณาจักรกัมพูชามีอธิปไตยเต็มที่เหนือบูรณภาพแห่งดินแดน ในพื้นที่หน้าผา (Eperon/Promontory) ของปราสาทพระวิหาร ดังที่มีกำหนดในย่อหน้าที่ 98 ของคำตัดสินนี้ และเป็นปัจจัยให้ศาลประกาศว่า พระราชอาณาจักรไทยมีหน้าที่ถอนออกจากดินแดนนี้ ในทุกกองกำลังทหาร หรือตำรวจ หรือผู้ดูแล หรือยามรักษาอื่นอีกของไทยที่ประจำการในที่ตั้งในดินแดนแห่งนั้น กระผมขอชี้แจงเพิ่มเติมว่า ย่อหน้าที่ 98 ของคำตัดสินนี้ ได้ยืนยันอย่างชัดเจนเกี่ยวกับการกำหนดที่ตั้งของพื้นที่หน้าผานี้....กระผมในนามนายกรัฐมนตรีแห่งพระราชอาณาจักรกัมพูชา และ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แห่งพระราชอาณาจักรไทย ได้เห็นชอบร่วมกันที่ผ่านมาว่า: ถึงแม้ว่าคำตัดสินของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ในวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 นี้ ออกมาเช่นไรก็ตาม ประเทศทั้งสองก็ต้องเคารพตามคำตัดสินนี้ และพยายามรักษามิตรภาพระหว่างประเทศ และประชาชนทั้งสอง” [ข้อความนี้อ้างจากคำแปลแบบไม่เป็นทางการปรากฎในอินเตอร์เน็ต และไม่อาจยืนยันความถูกต้องได้]

 

ดังนั้น หากจะว่าตามกัมพูชา ตามที่กัมพูชาพอใจ ประเทศไทยต้องเสียพื้นที่เพิ่มเติมบริเวณหน้าผาด้านเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของปราสาทพระวิหาร และกัมพูชาได้บอกให้ไทยถอนกำลังทั้งหมดแล้วทันที โดยประกาศให้ประชาชนกัมพูชารับทราบในเย็นวันที่ศาลโลกตัดสิน แถมยังบอกประชาชนด้วยว่านายกรัฐมนตรีของไทยสัญญาไว้แล้วว่าจะทำตามที่ศาลตัดสิน ซึ่งเท่ากับ” ทำตามที่กัมพูชาสั่งด้วยเป็นการตีความเอาเองโดยนายกฯฮุนเซ็น ทั้ง ๆ ที่ยังไม่มีการหารืออะไรกับไทย ทั้ง ๆ ที่รัฐมนตรีต่างประเทศของไทยบอกที่กรุงเฮกว่าทั้งสองฝ่ายจะต้องหารือกันก่อน เป็นการตีความแบบชาตินิยมและเพื่อผลทางการเมืองในประเทศตนเท่านั้น แต่ตีความให้ผูกพันประเทศไทยไปด้วยโดยอารมณ์สาธารณะในกัมพูชา

กัมพูชาประกาศชัยชนะเหนือไทย โดยไม่รอการหารือกับไทย และประกาศให้ไทยถอนกำลังทันที และอ้างนายกฯยิ่งลักษณ์ว่าให้คำมั่นสัญญาไว้ล่วงหน้าแล้ว

 

ส่วนไทยนั้น รัฐมนตรีต่างประเทศตามเล่ห์เหลี่ยมทางการทูตของกัมพูชาไม่ทัน ทั้งรัฐมนตรีต่างประเทศ ทั้งนายกรัฐมนตรี ภาษาอังกฤษของทั้งสองผู้นำก็ใช้งานเป็นเรื่องราวไม่ได้ทั้งคู่ เอกสารก็ยังไม่ได้อ่าน เพราะยังแปลกันไม่เสร็จ แม้ผ่านไปสองวันแล้ว แต่ก็ยังสามารถแสดงความยินดีกับกัมพูชาไปแล้วก่อนล่วงหน้าแล้วได้

 

ก็เหลือที่คำแถลงของท่านเอกอัครราชทูตวีรชัย พลาศรัย ที่ยืนยันว่าเราไม่เสียดินแดน 4.6-4.7 ตารางกิโลเมตร แต่กำลังคำนวนพื้นที่ชง่อนผาส่วนเหนือของปราสาท เป็นพื้นที่แคบ ๆ ไม่เสียพื้นที่ภูมะเขือ มองในแง่ดีก็คือเราไม่เสียพื้นที่มากอย่างที่ข่าวสารบอกย้ำให้เรากลัวกัน มองในแง่ร้ายเราก็คงจะเสียพื้นที่นิดหน่อย แต่จะต้องคำนวนพื้นที่สูญเสียและหารือกันสองฝ่ายก่อนว่าจะได้เสียกันเท่าไรอย่างไร

 

รัฐมนตรีต่างประเทศ และนายกรัฐมนตรีของไทย ไม่มีพื้นฐานความรู้ด้านการต่างประเทศ โดยเฉพาะเรื่องรายละเอียดของคดีปราสาทพระวิหาร แถมขาดทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่เป็นสากลซึ่งบุคคลระดับผู้นำของชาติของสังคมควรจะใช้ภาษาอังกฤษได้โดยไม่ยอมให้เสียเปรียบใครในทางการเมืองเรื่องผลประโยชน์ของชาติ เมื่อไม่มีความรู้และขาดทักษะภาษา และบังเอิญมาอยู่ในตำแหน่งสำคัญ ก็มีความจำเป็นที่จะต้องศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมและเตรียมตัวให้พร้อมตามคำแนะนำและตามร่างคำแถลงที่ข้าราชการเตรียมไว้ให้ ไม่ต้องเร่งร้อนแถลงเรื่องที่ไม่รู้และไม่พร้อม พร้อมเมื่อไรก็แสดงออกด้วยท่าทางที่ทำให้ดูมั่นใจให้น่าเชื่อถือให้ได้ เท่านั้นก็เป็นพอ

 

ความรู้ก็ไม่มี ความพร้อมก็ไม่เตรียม แต่รีบเร่งการแสดงการแถลง

 

ทำให้ประเทศไทยประกาศยอมแพ้ตั้งแต่กัมพูชายังไม่ประกาศชัยชนะ

 

จากนี้ไปเราต้องไปแก้ไขความผิดพลาดจากการแถลงของรัฐมนตรีต่างประเทศของเราที่แถลงที่กรุงเฮก และคำสัญญาจากนายกรัฐมนตรีของเราที่สัญญากับกัมพูชาไว้เมื่อไรก็ไม่รู้

เราต้องไปเริ่มต้นกันใหม่ ณ ที่ประชุมร่วมระดับรัฐมนตรีของทั้งสองฝ่าย :

 

1. ไทยเราต้องเริ่มด้วยการบอกกับกัมพูชาว่า ศาลไม่มีคำตัดสินเรื่องพื้นที่ 4.6-4.7 ตารางกิโลเมตร แต่ขอให้ใช้ตัวเลขที่มากกว่าเพียงตัวเลขเดียวพอ คือใช้ตัวเลข 4.7 หรือจะเติมเป็น 4.8 หรือ 5.0 ให้เกินเข้าไว้ก่อนก็ดี แต่ห้ามใช้สองตัวเลขแบบไม่แน่ใจว่า 4.6-4.7 เพราะฝ่ายกัมพูชาก็อ้างอิงตัวเลขน้อยกว่าเพื่อประโยชน์ของเขาแน่ ๆ และไทยต้องยืนยันว่า “พื้นที่แคบ ๆ ” ที่ศาลกล่าวถึงนั้น “ไม่ชัดเจนว่าเป็นส่วนไหน-เท่าไร-อย่างไร”

 

อย่าได้ไปเอาตัวเลขนักวิชาการหรือฝ่ายนักคิดที่ช่วยคำนวนความพ่ายแพ้ให้แล้วภายใน 24 ชั่วโมงว่าไทยเสียดินแดนไป 0.8 - 0.9 ตารางกิโลเมตรตรงชง่อนผาด้านเหนือ

นักวิชาการหรือนักกฎหมายที่ให้สัมภาษณ์ว่าไทยเสียดินแดน จะถูกหรือผิดก็ไม่มีใครทราบ แต่รัฐบาลต้องไม่เอาการเสียดินแดนเป็นตัวตั้งแล้วเจรจากับกัมพูชาว่าเราควรจะเสียหรือจะแพ้กี่ตารางกิโลเมตร

 

ไทยเราต้องยืนยันว่าศาลมิได้บอกชัดเจนอะไรมากไปกว่าที่บอกว่า “พื้นที่แคบๆ” นั้นเป็นพื้นที่รอบตัวปราสาทซึ่งเป็นของกัมพูชา และให้ยืนยันว่าเราเห็นด้วยกับกัมพูชาที่เห็นด้วยกับศาลเรื่อง “พื้นที่แคบๆ” และเราขอตีความว่า พื้นที่แคบๆที่ว่านั้นคือพื้นที่เดิมที่เรามิได้เข้าไปกั้นรั้วหลวดหนามไว้ เราต้องการให้กัมพูชาได้ “พื้นที่แคบๆ” ตามเดิม ณ สถานภาพปัจจุบัน ตามความแคบที่เราเห็นของเรามานานแล้ว จะให้กว้างกว่าที่แคบอยู่แล้ว ไม่ยอมเด็ดขาด

 

ศาลบอกว่า “แคบ” ก็ต้องเชื่อศาล

ส่วนจะ “แคบ” แค่ไหนนั้น ก็ต้องเชื่อไทย!

 

ที่ผมแนะมานี้เป็นเรื่องการปกป้องอธิปไตยของชาติ และเป็นการตีความให้ไทยได้ประโยชน์ เพราะศาลมิได้ตีความละเอียดชัดเจนอะไร เป็นคำแนะนำแบบชาตินิยมของผมเป็นส่วนตัว เพราะผมเป็นคนไทย ก็ต้องนิยมประเทศชาติไทยของผมเป็นธรรมดา

 

เราจึงควรจะเริ่มต้นถกเถียงและเดินหน้าขัดแย้งกับกัมพูชาต่อไปโดยไม่ต้องมีข้อยุติอีก 50 ปี

แล้วถึงตอนนั้นเราก็ยื่นต่อศาลโลกให้ตีความใหม่

 

หากรัฐบาลของ “ท่านนายกฯยิ่งลักษณ์ฯ” ทำได้ ผมก็จะได้เริ่มรักท่านนายกฯด้วยคน

 

สมเกียรติ อ่อนวิมล

ว่าจะเอามาลงเหมือนกัน

ทรรศนะแกโดนใจผมนัก

นี่แหละที่อยากจะบอกคนไทยหลายๆคนที่ก่อนหน้านี้ว่าไม่เสียๆ

มันมีเบื้องหลังอีกเยอะ อย่าวางใจจนเกินไป เผลอแผลบเดียวเค้ามามุกใหม่ทางเราจะตั้งรับไม่ทัน


กูขอปฏิญาณ ต่อหน้าสถูปสถานศักดิ์สิทธิ์ ต่อหน้าอิฐหินดินทราย ขอจองล้างจองผลาญจนตาย ต่อผู้ทำลาย แผ่นดิน...




ผู้ใช้ 1 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 1 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน