Jump to content


Photo
- - - - -

Make me a German จาก Face คุณ กรณ์


  • Please log in to reply
161 ความเห็นในกระทู้นี้

#51 bonnerr

bonnerr

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,158 posts

ตอบ 17 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:40

เรื่องประเทศเยอรมัน ที่คนเยอรมันต้องรู้ ขอยกมาเป็นบางเรื่อง

 

 

-ตั้งแต่ปี 1901 มีชาวเยอรมันได้รับรางวัลโนเบิ้ล รวมทั้งสิ้น 81 ท่าน

-ในเยอรมันมีคนต่างชาติอาศัยอยู่ 6,169,000 คน

  ส่วนใหญ่เป็นตุรกี 1,607,161

- อิตาเลียน 520,159 คน

-โปแลนด์ 468,481 คน

-ไทย 58,000 คน

-31 เปอร์เซนต์ของพื้นที่ประเทศ เป็นป่า

 

- โบสถ์โคโลญ คนนิยมไปเยี่ยมชมมากที่สุด

 

 

 

จากหนังสือ 100+1 Fakten

Das muss Deutsche wissen

ผู้เขียน Fynn Warnken



#52 -3-

-3-

    ตัวละครลับ

  • Moderators
  • 8,707 posts

ตอบ 17 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:46

ยาวไป เกรงว่าพี่น้องเสื้อแดงของผมจะไม่อ่านกัน เดี๋ยวผมสรุปให้ฟังในบรรทัดเดียวละกันครับ

 

"เพราะเยอรมันเป็นประชาธิปไตย ประเทศชาติเลยเจริญ"

 

บรรทัดเดียว พี่น้องเสื้อแดงก็เข้าใจได้ทันทีด้วย  :lol:


"I want you to form a contract with me and become magical girls!" - kyubey
 
/人 ‿‿ ◕人\

#53 คนสับปรับ

คนสับปรับ

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,410 posts

ตอบ 17 เมษายน พ.ศ. 2557 - 16:22

คนเยอรมันกินอาหารยาก เวลามาเมืองไทย

แต่ยกเว้นพี่เขยผม พี่แกเลือกกินแต่ผัดเผ็ดสะตอ หน่อเหรียง 

ยาดองรากต้นปลาไหลเผือก พี่แกชอบมาก ผมจัดใส่ถุงแพคไปให้กินที่โน่น

แกบอกว่าเห็นผลดีฟิตปั๋งด้วย

แต่หมูกระทะ ที่โน่นไม่มีขาย มาเมืองไทย กินคุ้มทุกที :D


  • -3- likes this

#54 bonnerr

bonnerr

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,158 posts

ตอบ 17 เมษายน พ.ศ. 2557 - 18:21

www.Germany.travel/en/



#55 อู๋ ฮานามิ

อู๋ ฮานามิ

    สมาชิกหน้าเก่า

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,018 posts

ตอบ 17 เมษายน พ.ศ. 2557 - 23:52

เท่าที่อ่านเรื่องการจับปรับอย่างเข้มข้นที่เพื่อนๆเล่ามา

 

พวกลิเบอรัลในไทยเราดีแต่ป่าวประกาศเรียกร้องเสรีภาพตามแบบฝรั่ง

แต่กลับไม่ยอมรับบทลงโทษที่เข้มข้นเลยนะครับ

 

เป็นคนประเภททำตามอำเภอใจโดยไม่ยอมรับผลที่ตามมา ไม่ยอมถูกตรวจสอบ ไม่ยอมรับบทลงโทษ

แต่ห่อหุ้มสิ่งที่ตนเรียกร้องด้วยคำพูดสวยหรูว่า "สิทธิเสรีภาพ"

 

เรียกร้องการตรวจสอบฝ่ายตรงข้ามตน

แต่พอฝ่ายตนถูกตรวจสอบบ้าง ทำโวยวาย


ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด

 

เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ


#56 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 17 เมษายน พ.ศ. 2557 - 23:54

ยาวไป เกรงว่าพี่น้องเสื้อแดงของผมจะไม่อ่านกัน เดี๋ยวผมสรุปให้ฟังในบรรทัดเดียวละกันครับ

 

"เพราะเยอรมันเป็นประชาธิปไตย ประเทศชาติเลยเจริญ"

 

บรรทัดเดียว พี่น้องเสื้อแดงก็เข้าใจได้ทันทีด้วย  :lol:

 

:blink:  :blink:  :blink: !!!

 

ผมยัง งง อยู่ 

 

เอ๊ะ หรือผมจะยังไม่ฉลาดเหมือนควายแดงหว่า

 

ห้าาาาาาาาาาาาาาาาาาา


Edited by พอล คุง, 17 เมษายน พ.ศ. 2557 - 23:54.

  • -3- likes this

ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#57 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 11:09

อีกเรื่องที่เยอรมันกับไทยต่างกันก็คือแนวความคิดเรื่องพลังงาน

ของเยอรมัน ค่าไฟฟ้าตามบ้านเรือนจะแพงมาก นัยว่าเน้นให้คนประหยัดการใช้พลังงาน แต่ค่าไฟฟ่าตามโรงงานสถานประกอบการจะถูกมากๆ ถ้าจำไม่ผิดเรียกได้ว่าครึ่งต่อครึ่งเลยก็ว่าได้ อันนี้ก็เหมือนกัน ประมาณว่าสถานประกอบการเป็นที่ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดกระบวนการที่ต่อเนื่องในระบบเศรษฐกิจ เน้นให้คนเข้าไปใช้เวลาทำงานอยู่ในสถานประกอบการ ไม่อยากให้ใครนอนอยู่บ้าน ว่างั้น...

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

Germany faces a crucial energy choice
Q1 - 2014

 

It is difficult to overestimate the importance of the German economic engine to Europe and the world. When Germany faced a rigid labor market a decade ago, policymakers, corporate leaders, and labor organizations cooperated to address the problem, setting the stage for the nation’s formidable export performance in subsequent years. That performance sustained the European Union through the ruinous global financial crisis of 2008 and its lingering aftermath.

Now, however, Germany faces another decision with significant implications for its own economic future, as well as Europe’s. It must determine how to provide energy at competitive costs while also addressing a strong mandate to reduce carbon-dioxide emissions. An analysis of the linkages between Germany’s energy costs and economic performance in the context of its greenhouse gas policy and projections reveals that a steady but modulated overhaul of energy supplies, especially renewables, would enable the nation to change “achieve key energy policy goals” to “continue to reduce emissions” while not undermining its vital export economy.

Germany’s energy problem is basic. Rising electricity costs are threatening the health of the nation’s export economy, which accounts for about half of the nation’s GDP. The German export economy is also highly sensitive to any changes in its competitive position relative to that of rival economies.

Rising electricity prices in Germany, combined with flat North American energy prices, are making German products less competitive and forcing companies to relocate operations to other countries. Across the board, German industrial giants, and in particular energy-intensive companies, have begun moving abroad, gradually weakening the industrial base.

An analysis of two diverging energy-price scenarios shows the consequences for Germany’s economy. The first is a high-price path in which renewables are rapidly developed while a regime of energy intensive German industrial-policy protections are rapidly dismantled. The second is a competitive-energy scenario that assumes a moderate pace of renewables development and an increased role for gas and other thermal generation while maintaining industrial exemptions.

 

IHSQ-Insight-Germany-chart.png

The latter path would enhance the growth potential for the entire German economy, while the high-price approach would lead to considerable economic losses. Germany’s GDP in 2030 would be 6.2% higher under the competitive-energy scenario, for instance, while personal income would be 6.3% higher. Further research will determine the potential of increased European gas production to move Germany towards a lower cost, economically competitive—and low carbon—future.

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx


Edited by Tom PR, 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 11:39.


#58 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 12:13

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx

 

 

กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่:  http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ.  ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง   กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น   ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ   ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ 

 

ค่าไฟต่ำกว่านิดเดียวถูกใช้เป็นเหตุผลชนะประมูลโรงไฟฟ้า
1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

      

"ลองพิจารณาเหตุผลชุดนี้เปรียบเทียบอีกทางหนึ่งดีกว่า
วิเคราะห์การประมูล IPP พ.ศ.2556
1. การประมูล IPP พ.ศ. 2556 จะเป็นเหตุให้ประเทศเสียประโยชน์และประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนคนไทยนับวันยิ่งจะสูงขึ้นจากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้าถึงประมาณร้อยละ 68.2% ดังนั้นเมื่อราคาก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นหรือแหล่งก๊าซธรรมชาติหยุดจ่ายก๊าซ กฟผ.ต้องนำเข้าไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านในราคาแพงเช่นจากมาเลเซีย หรือต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงสำรองเช่น น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตาซึ่งมีต้นทุนสูงก็จะกระทบต่อราคาไฟฟ้าและค่าครองชีพประชาชนโดยตรง แต่ กพช. ภายใต้การนำโดยนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และกกพ. ซึ่งถือเป็นหน่วยงานของภาครัฐกลับไม่คำนึงถึงภาวะความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศและความเดือดร้อนของพี่น้องคนไทย ในทางกลับกัน กพช.นำโดยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษ์ ชินวัตร กลับอนุมัติแผน PDP และกำหนดให้ กกพ. ดำเนินการออกข้อกำหนดการประมูล IPP ในทางตรงกันข้าม คือกำหนดให้การประมูล IPP ครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักเพียงชนิดเดียว ซึ่งหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้เกิดจากการบริหารงานของ กฟผ. แต่เกิดจากราคาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ ปตท. เป็นผู้ผูกขาดในการจัดหาและจัดส่งให้ กฟผ. ยิ่งมีปริมาณในการจัดส่งมากเท่าใด ปตท. ยิ่งมีกำไรมากขึ้น อนาคตต่อไปไม่ว่าราคาก๊าซจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างไร กฟผ. ก็ต้องซื้อจาก ปตท. เพราะ กฟผ. คงยอมให้ไฟฟ้าดับไม่ได้ สุดท้ายภาระก็จะตกอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ต้องแบกรับค่าครองชีพที่สูงขึ้นซึ่งปัจจุบันราคาไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายอยู่ที่ประมาณ 4.2 บาทต่อหน่วยและจะปรับเพิ่มขึ้นอย่างน้อยเป็นประมาณ 6 บาทต่อหน่วยในอีกไม่เกิน 8-10 ปีหากให้การประมูลครั้งนี้ผ่านไปได้โดยไม่มีทางเลือก ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนอุตสาหกรรมที่จะต้องปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในขณะที่ปตท. ซึ่งเปรียบเสมือนพ่อค้าคนกลางซึ่งทำอย่างไรก็ไม่ขาดทุน
การประมูล IPP ครั้งนี้ถือเป็นโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนคนไทยทั้งประเทศและถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงถึงประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ กกพ. ซึ่งเป็นผู้ออกข้อกำหนดการประมูล (TOR) กลับมีความพยายามปิดบังไม่ให้ประชนเข้าถึงข้อมูลเช่น ได้ เช่น รายละเอียด TOR และรายชื่อผู้เข้าร่วมประมูล เข้าข่ายขัดต่อกฎหมายตามมาตรา 57 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติให้รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนการดำเนินการ ในโครงการที่จะมีผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชน

       เพียงเท่านั้นยังไม่พอ การเจรจาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่างบริษัทเอกชนที่เป็นเครื่องมือของนักการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของประชาชนกับ กฟผ. ก็ดำเนินการโดยลับๆ จำกัดให้คนเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่จะทราบถึงความเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง อีกทั้งยังมีการใช้อำนาจจากทางการเมืองเพื่อบีบให้ กฟผ. ยอมลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสร้าง Demand การใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์อันมหาศาลจากการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ (LNG) จำนวน 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ไทยภายใต้การนำของนายกยิ่งลักษณ์ได้มีการลงนามสัญญาซื้อขาย LNG จากประเทศกาต้า ซึ่งแสดงถึงความเชื่อมโยงถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังการประมูลIPP ของนักการเมือง
       ปัจจุบัน กฟผ. ถูกบีบบังคับให้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขที่ทำให้รัฐเสียประโยชน์จาก นักการเมืองประกอบด้วย"

 

ดูต่อได้ที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10


Edited by Stargate-1, 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 12:20.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#59 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:35

 

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx

 

 

กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่:  http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ.  ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง   กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น   ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ   ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ 

 

ค่าไฟต่ำกว่านิดเดียวถูกใช้เป็นเหตุผลชนะประมูลโรงไฟฟ้า
1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

      

"ลองพิจารณาเหตุผลชุดนี้เปรียบเทียบอีกทางหนึ่งดีกว่า
วิเคราะห์การประมูล IPP พ.ศ.2556
1. การประมูล IPP พ.ศ. 2556 จะเป็นเหตุให้ประเทศเสียประโยชน์และประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนคนไทยนับวันยิ่งจะสูงขึ้นจากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้าถึงประมาณร้อยละ 68.2% ดังนั้นเมื่อราคาก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นหรือแหล่งก๊าซธรรมชาติหยุดจ่ายก๊าซ กฟผ.ต้องนำเข้าไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านในราคาแพงเช่นจากมาเลเซีย หรือต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงสำรองเช่น น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตาซึ่งมีต้นทุนสูงก็จะกระทบต่อราคาไฟฟ้าและค่าครองชีพประชาชนโดยตรง แต่ กพช. ภายใต้การนำโดยนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และกกพ. ซึ่งถือเป็นหน่วยงานของภาครัฐกลับไม่คำนึงถึงภาวะความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศและความเดือดร้อนของพี่น้องคนไทย ในทางกลับกัน กพช.นำโดยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษ์ ชินวัตร กลับอนุมัติแผน PDP และกำหนดให้ กกพ. ดำเนินการออกข้อกำหนดการประมูล IPP ในทางตรงกันข้าม คือกำหนดให้การประมูล IPP ครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักเพียงชนิดเดียว ซึ่งหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้เกิดจากการบริหารงานของ กฟผ. แต่เกิดจากราคาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ ปตท. เป็นผู้ผูกขาดในการจัดหาและจัดส่งให้ กฟผ. ยิ่งมีปริมาณในการจัดส่งมากเท่าใด ปตท. ยิ่งมีกำไรมากขึ้น อนาคตต่อไปไม่ว่าราคาก๊าซจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างไร กฟผ. ก็ต้องซื้อจาก ปตท. เพราะ กฟผ. คงยอมให้ไฟฟ้าดับไม่ได้ สุดท้ายภาระก็จะตกอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ต้องแบกรับค่าครองชีพที่สูงขึ้นซึ่งปัจจุบันราคาไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายอยู่ที่ประมาณ 4.2 บาทต่อหน่วยและจะปรับเพิ่มขึ้นอย่างน้อยเป็นประมาณ 6 บาทต่อหน่วยในอีกไม่เกิน 8-10 ปีหากให้การประมูลครั้งนี้ผ่านไปได้โดยไม่มีทางเลือก ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนอุตสาหกรรมที่จะต้องปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในขณะที่ปตท. ซึ่งเปรียบเสมือนพ่อค้าคนกลางซึ่งทำอย่างไรก็ไม่ขาดทุน
การประมูล IPP ครั้งนี้ถือเป็นโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนคนไทยทั้งประเทศและถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงถึงประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ กกพ. ซึ่งเป็นผู้ออกข้อกำหนดการประมูล (TOR) กลับมีความพยายามปิดบังไม่ให้ประชนเข้าถึงข้อมูลเช่น ได้ เช่น รายละเอียด TOR และรายชื่อผู้เข้าร่วมประมูล เข้าข่ายขัดต่อกฎหมายตามมาตรา 57 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติให้รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนการดำเนินการ ในโครงการที่จะมีผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชน

       เพียงเท่านั้นยังไม่พอ การเจรจาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่างบริษัทเอกชนที่เป็นเครื่องมือของนักการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของประชาชนกับ กฟผ. ก็ดำเนินการโดยลับๆ จำกัดให้คนเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่จะทราบถึงความเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง อีกทั้งยังมีการใช้อำนาจจากทางการเมืองเพื่อบีบให้ กฟผ. ยอมลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสร้าง Demand การใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์อันมหาศาลจากการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ (LNG) จำนวน 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ไทยภายใต้การนำของนายกยิ่งลักษณ์ได้มีการลงนามสัญญาซื้อขาย LNG จากประเทศกาต้า ซึ่งแสดงถึงความเชื่อมโยงถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังการประมูลIPP ของนักการเมือง
       ปัจจุบัน กฟผ. ถูกบีบบังคับให้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขที่ทำให้รัฐเสียประโยชน์จาก นักการเมืองประกอบด้วย"

 

ดูต่อได้ที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10

 

ไม่ได้เถียงคุณเลยครับ ว่าหนึ่งในสาเหตุที่ค่าไฟแพงเพราะ ปตท.

 

ปัญหาคือ (และกรุณาตอบให้ตรงคำถาม)

 

ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับ กฟผ ทำไมเราไม่มี และห้ามมีทางเลือกอื่น

 

เหตุใดประเทศอื่นๆที่เจริญแล้วเช่นเยอรมัน อเมริกาไม่มี ระบบ monopoly แบบนี้และเขาอยู่กันได้


Edited by Tom PR, 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:43.


#60 เช never die

เช never die

    มหาอำมาตย์แดง ชั้นที่ 1.(ระดับเดียวกับท่านตู่,ท่านเต้น)

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,845 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:44

คามอ่นครับ

มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล


#61 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:17

 

 

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx

 

 

กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่:  http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ.  ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง   กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น   ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ   ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ 

 

ค่าไฟต่ำกว่านิดเดียวถูกใช้เป็นเหตุผลชนะประมูลโรงไฟฟ้า
1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

      

"ลองพิจารณาเหตุผลชุดนี้เปรียบเทียบอีกทางหนึ่งดีกว่า
วิเคราะห์การประมูล IPP พ.ศ.2556
1. การประมูล IPP พ.ศ. 2556 จะเป็นเหตุให้ประเทศเสียประโยชน์และประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนคนไทยนับวันยิ่งจะสูงขึ้นจากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้าถึงประมาณร้อยละ 68.2% ดังนั้นเมื่อราคาก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นหรือแหล่งก๊าซธรรมชาติหยุดจ่ายก๊าซ กฟผ.ต้องนำเข้าไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านในราคาแพงเช่นจากมาเลเซีย หรือต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงสำรองเช่น น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตาซึ่งมีต้นทุนสูงก็จะกระทบต่อราคาไฟฟ้าและค่าครองชีพประชาชนโดยตรง แต่ กพช. ภายใต้การนำโดยนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และกกพ. ซึ่งถือเป็นหน่วยงานของภาครัฐกลับไม่คำนึงถึงภาวะความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศและความเดือดร้อนของพี่น้องคนไทย ในทางกลับกัน กพช.นำโดยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษ์ ชินวัตร กลับอนุมัติแผน PDP และกำหนดให้ กกพ. ดำเนินการออกข้อกำหนดการประมูล IPP ในทางตรงกันข้าม คือกำหนดให้การประมูล IPP ครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักเพียงชนิดเดียว ซึ่งหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้เกิดจากการบริหารงานของ กฟผ. แต่เกิดจากราคาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ ปตท. เป็นผู้ผูกขาดในการจัดหาและจัดส่งให้ กฟผ. ยิ่งมีปริมาณในการจัดส่งมากเท่าใด ปตท. ยิ่งมีกำไรมากขึ้น อนาคตต่อไปไม่ว่าราคาก๊าซจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างไร กฟผ. ก็ต้องซื้อจาก ปตท. เพราะ กฟผ. คงยอมให้ไฟฟ้าดับไม่ได้ สุดท้ายภาระก็จะตกอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ต้องแบกรับค่าครองชีพที่สูงขึ้นซึ่งปัจจุบันราคาไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายอยู่ที่ประมาณ 4.2 บาทต่อหน่วยและจะปรับเพิ่มขึ้นอย่างน้อยเป็นประมาณ 6 บาทต่อหน่วยในอีกไม่เกิน 8-10 ปีหากให้การประมูลครั้งนี้ผ่านไปได้โดยไม่มีทางเลือก ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนอุตสาหกรรมที่จะต้องปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในขณะที่ปตท. ซึ่งเปรียบเสมือนพ่อค้าคนกลางซึ่งทำอย่างไรก็ไม่ขาดทุน
การประมูล IPP ครั้งนี้ถือเป็นโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนคนไทยทั้งประเทศและถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงถึงประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ กกพ. ซึ่งเป็นผู้ออกข้อกำหนดการประมูล (TOR) กลับมีความพยายามปิดบังไม่ให้ประชนเข้าถึงข้อมูลเช่น ได้ เช่น รายละเอียด TOR และรายชื่อผู้เข้าร่วมประมูล เข้าข่ายขัดต่อกฎหมายตามมาตรา 57 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติให้รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนการดำเนินการ ในโครงการที่จะมีผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชน

       เพียงเท่านั้นยังไม่พอ การเจรจาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่างบริษัทเอกชนที่เป็นเครื่องมือของนักการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของประชาชนกับ กฟผ. ก็ดำเนินการโดยลับๆ จำกัดให้คนเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่จะทราบถึงความเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง อีกทั้งยังมีการใช้อำนาจจากทางการเมืองเพื่อบีบให้ กฟผ. ยอมลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสร้าง Demand การใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์อันมหาศาลจากการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ (LNG) จำนวน 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ไทยภายใต้การนำของนายกยิ่งลักษณ์ได้มีการลงนามสัญญาซื้อขาย LNG จากประเทศกาต้า ซึ่งแสดงถึงความเชื่อมโยงถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังการประมูลIPP ของนักการเมือง
       ปัจจุบัน กฟผ. ถูกบีบบังคับให้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขที่ทำให้รัฐเสียประโยชน์จาก นักการเมืองประกอบด้วย"

 

ดูต่อได้ที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10

 

ไม่ได้เถียงคุณเลยครับ ว่าหนึ่งในสาเหตุที่ค่าไฟแพงเพราะ ปตท.

 

ปัญหาคือ (และกรุณาตอบให้ตรงคำถาม)

 

ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับ กฟผ ทำไมเราไม่มี และห้ามมีทางเลือกอื่น

 

เหตุใดประเทศอื่นๆที่เจริญแล้วเช่นเยอรมัน อเมริกาไม่มี ระบบ monopoly แบบนี้และเขาอยู่กันได้

 

 

กฟน. หรือ กฟภ. ไม่ใช่กฟผ. จะซื้อไฟจากเอกชน ก็ลองติดต่อกับบ.เหล่านี้ดู http://www.appp.or.th/about.php


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#62 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:41

 

 

 

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx

 

 

กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่:  http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ.  ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง   กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น   ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ   ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ 

 

ค่าไฟต่ำกว่านิดเดียวถูกใช้เป็นเหตุผลชนะประมูลโรงไฟฟ้า
1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

      

"ลองพิจารณาเหตุผลชุดนี้เปรียบเทียบอีกทางหนึ่งดีกว่า
วิเคราะห์การประมูล IPP พ.ศ.2556
1. การประมูล IPP พ.ศ. 2556 จะเป็นเหตุให้ประเทศเสียประโยชน์และประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนคนไทยนับวันยิ่งจะสูงขึ้นจากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้าถึงประมาณร้อยละ 68.2% ดังนั้นเมื่อราคาก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นหรือแหล่งก๊าซธรรมชาติหยุดจ่ายก๊าซ กฟผ.ต้องนำเข้าไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านในราคาแพงเช่นจากมาเลเซีย หรือต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงสำรองเช่น น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตาซึ่งมีต้นทุนสูงก็จะกระทบต่อราคาไฟฟ้าและค่าครองชีพประชาชนโดยตรง แต่ กพช. ภายใต้การนำโดยนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และกกพ. ซึ่งถือเป็นหน่วยงานของภาครัฐกลับไม่คำนึงถึงภาวะความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศและความเดือดร้อนของพี่น้องคนไทย ในทางกลับกัน กพช.นำโดยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษ์ ชินวัตร กลับอนุมัติแผน PDP และกำหนดให้ กกพ. ดำเนินการออกข้อกำหนดการประมูล IPP ในทางตรงกันข้าม คือกำหนดให้การประมูล IPP ครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักเพียงชนิดเดียว ซึ่งหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้เกิดจากการบริหารงานของ กฟผ. แต่เกิดจากราคาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ ปตท. เป็นผู้ผูกขาดในการจัดหาและจัดส่งให้ กฟผ. ยิ่งมีปริมาณในการจัดส่งมากเท่าใด ปตท. ยิ่งมีกำไรมากขึ้น อนาคตต่อไปไม่ว่าราคาก๊าซจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างไร กฟผ. ก็ต้องซื้อจาก ปตท. เพราะ กฟผ. คงยอมให้ไฟฟ้าดับไม่ได้ สุดท้ายภาระก็จะตกอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ต้องแบกรับค่าครองชีพที่สูงขึ้นซึ่งปัจจุบันราคาไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายอยู่ที่ประมาณ 4.2 บาทต่อหน่วยและจะปรับเพิ่มขึ้นอย่างน้อยเป็นประมาณ 6 บาทต่อหน่วยในอีกไม่เกิน 8-10 ปีหากให้การประมูลครั้งนี้ผ่านไปได้โดยไม่มีทางเลือก ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนอุตสาหกรรมที่จะต้องปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในขณะที่ปตท. ซึ่งเปรียบเสมือนพ่อค้าคนกลางซึ่งทำอย่างไรก็ไม่ขาดทุน
การประมูล IPP ครั้งนี้ถือเป็นโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนคนไทยทั้งประเทศและถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงถึงประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ กกพ. ซึ่งเป็นผู้ออกข้อกำหนดการประมูล (TOR) กลับมีความพยายามปิดบังไม่ให้ประชนเข้าถึงข้อมูลเช่น ได้ เช่น รายละเอียด TOR และรายชื่อผู้เข้าร่วมประมูล เข้าข่ายขัดต่อกฎหมายตามมาตรา 57 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติให้รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนการดำเนินการ ในโครงการที่จะมีผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชน

       เพียงเท่านั้นยังไม่พอ การเจรจาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่างบริษัทเอกชนที่เป็นเครื่องมือของนักการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของประชาชนกับ กฟผ. ก็ดำเนินการโดยลับๆ จำกัดให้คนเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่จะทราบถึงความเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง อีกทั้งยังมีการใช้อำนาจจากทางการเมืองเพื่อบีบให้ กฟผ. ยอมลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสร้าง Demand การใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์อันมหาศาลจากการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ (LNG) จำนวน 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ไทยภายใต้การนำของนายกยิ่งลักษณ์ได้มีการลงนามสัญญาซื้อขาย LNG จากประเทศกาต้า ซึ่งแสดงถึงความเชื่อมโยงถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังการประมูลIPP ของนักการเมือง
       ปัจจุบัน กฟผ. ถูกบีบบังคับให้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขที่ทำให้รัฐเสียประโยชน์จาก นักการเมืองประกอบด้วย"

 

ดูต่อได้ที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10

 

ไม่ได้เถียงคุณเลยครับ ว่าหนึ่งในสาเหตุที่ค่าไฟแพงเพราะ ปตท.

 

ปัญหาคือ (และกรุณาตอบให้ตรงคำถาม)

 

ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับ กฟผ ทำไมเราไม่มี และห้ามมีทางเลือกอื่น

 

เหตุใดประเทศอื่นๆที่เจริญแล้วเช่นเยอรมัน อเมริกาไม่มี ระบบ monopoly แบบนี้และเขาอยู่กันได้

 

 

กฟน. หรือ กฟภ. ไม่ใช่กฟผ. จะซื้อไฟจากเอกชน ก็ลองติดต่อกับบ.เหล่านี้ดู http://www.appp.or.th/about.php

 

 

การไฟฟ้านครหลวง กฟน เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบการจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประชาชน อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่บริการในปัจจุบันได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ

 

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ.  เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้น จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง

 

มันก็เครือเดียวกันแยกกันเก็นเงินในแต่ละพื้นที่ จงตอบคำถามเสียดีๆ ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับกฟน หรือ กฟภ ทำไมประชาชนทั่วไป ไม่มีทางเลือกอื่น ทำไมต้องให้กฟผ เป็นพ่อค้าคนกลางรับซื้อไฟฟ้า แต่ผู้เดียว

 


Edited by Tom PR, 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:43.


#63 เช never die

เช never die

    มหาอำมาตย์แดง ชั้นที่ 1.(ระดับเดียวกับท่านตู่,ท่านเต้น)

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,845 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 17:01






เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx


กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่: http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ. ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ

ค่าไฟต่ำกว่านิดเดียวถูกใช้เป็นเหตุผลชนะประมูลโรงไฟฟ้า

1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

"ลองพิจารณาเหตุผลชุดนี้เปรียบเทียบอีกทางหนึ่งดีกว่า
วิเคราะห์การประมูล IPP พ.ศ.2556
1. การประมูล IPP พ.ศ. 2556 จะเป็นเหตุให้ประเทศเสียประโยชน์และประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนคนไทยนับวันยิ่งจะสูงขึ้นจากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้าถึงประมาณร้อยละ 68.2% ดังนั้นเมื่อราคาก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นหรือแหล่งก๊าซธรรมชาติหยุดจ่ายก๊าซ กฟผ.ต้องนำเข้าไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านในราคาแพงเช่นจากมาเลเซีย หรือต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงสำรองเช่น น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตาซึ่งมีต้นทุนสูงก็จะกระทบต่อราคาไฟฟ้าและค่าครองชีพประชาชนโดยตรง แต่ กพช. ภายใต้การนำโดยนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และกกพ. ซึ่งถือเป็นหน่วยงานของภาครัฐกลับไม่คำนึงถึงภาวะความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศและความเดือดร้อนของพี่น้องคนไทย ในทางกลับกัน กพช.นำโดยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษ์ ชินวัตร กลับอนุมัติแผน PDP และกำหนดให้ กกพ. ดำเนินการออกข้อกำหนดการประมูล IPP ในทางตรงกันข้าม คือกำหนดให้การประมูล IPP ครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักเพียงชนิดเดียว ซึ่งหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้เกิดจากการบริหารงานของ กฟผ. แต่เกิดจากราคาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ ปตท. เป็นผู้ผูกขาดในการจัดหาและจัดส่งให้ กฟผ. ยิ่งมีปริมาณในการจัดส่งมากเท่าใด ปตท. ยิ่งมีกำไรมากขึ้น อนาคตต่อไปไม่ว่าราคาก๊าซจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างไร กฟผ. ก็ต้องซื้อจาก ปตท. เพราะ กฟผ. คงยอมให้ไฟฟ้าดับไม่ได้ สุดท้ายภาระก็จะตกอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ต้องแบกรับค่าครองชีพที่สูงขึ้นซึ่งปัจจุบันราคาไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายอยู่ที่ประมาณ 4.2 บาทต่อหน่วยและจะปรับเพิ่มขึ้นอย่างน้อยเป็นประมาณ 6 บาทต่อหน่วยในอีกไม่เกิน 8-10 ปีหากให้การประมูลครั้งนี้ผ่านไปได้โดยไม่มีทางเลือก ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนอุตสาหกรรมที่จะต้องปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในขณะที่ปตท. ซึ่งเปรียบเสมือนพ่อค้าคนกลางซึ่งทำอย่างไรก็ไม่ขาดทุน
การประมูล IPP ครั้งนี้ถือเป็นโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนคนไทยทั้งประเทศและถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงถึงประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ กกพ. ซึ่งเป็นผู้ออกข้อกำหนดการประมูล (TOR) กลับมีความพยายามปิดบังไม่ให้ประชนเข้าถึงข้อมูลเช่น ได้ เช่น รายละเอียด TOR และรายชื่อผู้เข้าร่วมประมูล เข้าข่ายขัดต่อกฎหมายตามมาตรา 57 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติให้รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนการดำเนินการ ในโครงการที่จะมีผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชน
เพียงเท่านั้นยังไม่พอ การเจรจาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่างบริษัทเอกชนที่เป็นเครื่องมือของนักการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของประชาชนกับ กฟผ. ก็ดำเนินการโดยลับๆ จำกัดให้คนเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่จะทราบถึงความเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง อีกทั้งยังมีการใช้อำนาจจากทางการเมืองเพื่อบีบให้ กฟผ. ยอมลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสร้าง Demand การใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์อันมหาศาลจากการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ (LNG) จำนวน 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ไทยภายใต้การนำของนายกยิ่งลักษณ์ได้มีการลงนามสัญญาซื้อขาย LNG จากประเทศกาต้า ซึ่งแสดงถึงความเชื่อมโยงถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังการประมูลIPP ของนักการเมือง
ปัจจุบัน กฟผ. ถูกบีบบังคับให้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขที่ทำให้รัฐเสียประโยชน์จาก นักการเมืองประกอบด้วย"

ดูต่อได้ที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10
ไม่ได้เถียงคุณเลยครับ ว่าหนึ่งในสาเหตุที่ค่าไฟแพงเพราะ ปตท.

ปัญหาคือ (และกรุณาตอบให้ตรงคำถาม)

ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับ กฟผ ทำไมเราไม่มี และห้ามมีทางเลือกอื่น

เหตุใดประเทศอื่นๆที่เจริญแล้วเช่นเยอรมัน อเมริกาไม่มี ระบบ monopoly แบบนี้และเขาอยู่กันได้

กฟน. หรือ กฟภ. ไม่ใช่กฟผ. จะซื้อไฟจากเอกชน ก็ลองติดต่อกับบ.เหล่านี้ดู http://www.appp.or.th/about.php

การไฟฟ้านครหลวง กฟน เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบการจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประชาชน อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่บริการในปัจจุบันได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ. เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้น จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง

มันก็เครือเดียวกันแยกกันเก็นเงินในแต่ละพื้นที่ จงตอบคำถามเสียดีๆ ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับกฟน หรือ กฟภ ทำไมประชาชนทั่วไป ไม่มีทางเลือกอื่น ทำไมต้องให้กฟผ เป็นพ่อค้าคนกลางรับซื้อไฟฟ้า แต่ผู้เดียว

ถ้าจำไม่ผิด รู้สึกว่ามันจะเป็นข้อผูกพัน ตั้งแต่ครั้งที่เราไปกู้เงินธนาคารโลกมาลงทุนสร้างเขื่อนยันฮี+ระบบสวยส่งแรงสูงทั่วประเทศ นัยว่าเป็นหลักประกันว่ารัฐบาลจะมีเงินใช้หนี้คืนแน่นอน เนื่องจากไม่มีคู่แข่ง

ปัจจุบันหนี้ก่้อนนี้หมดไปหลายสิบปีแล้ว แต่ภาครัฐถือโอกาศสวมรอยผูกขาดการจำหน่ายไฟฟ้าต่อไป

ผิดพลาดขออภัย

มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล


#64 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 17:15

 

 

 

 

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx

 

 

กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่:  http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ.  ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง   กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น   ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ   ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ 

 

ค่าไฟต่ำกว่านิดเดียวถูกใช้เป็นเหตุผลชนะประมูลโรงไฟฟ้า
1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

      

"ลองพิจารณาเหตุผลชุดนี้เปรียบเทียบอีกทางหนึ่งดีกว่า
วิเคราะห์การประมูล IPP พ.ศ.2556
1. การประมูล IPP พ.ศ. 2556 จะเป็นเหตุให้ประเทศเสียประโยชน์และประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนคนไทยนับวันยิ่งจะสูงขึ้นจากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้าถึงประมาณร้อยละ 68.2% ดังนั้นเมื่อราคาก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นหรือแหล่งก๊าซธรรมชาติหยุดจ่ายก๊าซ กฟผ.ต้องนำเข้าไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านในราคาแพงเช่นจากมาเลเซีย หรือต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงสำรองเช่น น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตาซึ่งมีต้นทุนสูงก็จะกระทบต่อราคาไฟฟ้าและค่าครองชีพประชาชนโดยตรง แต่ กพช. ภายใต้การนำโดยนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และกกพ. ซึ่งถือเป็นหน่วยงานของภาครัฐกลับไม่คำนึงถึงภาวะความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศและความเดือดร้อนของพี่น้องคนไทย ในทางกลับกัน กพช.นำโดยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษ์ ชินวัตร กลับอนุมัติแผน PDP และกำหนดให้ กกพ. ดำเนินการออกข้อกำหนดการประมูล IPP ในทางตรงกันข้าม คือกำหนดให้การประมูล IPP ครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักเพียงชนิดเดียว ซึ่งหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้เกิดจากการบริหารงานของ กฟผ. แต่เกิดจากราคาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ ปตท. เป็นผู้ผูกขาดในการจัดหาและจัดส่งให้ กฟผ. ยิ่งมีปริมาณในการจัดส่งมากเท่าใด ปตท. ยิ่งมีกำไรมากขึ้น อนาคตต่อไปไม่ว่าราคาก๊าซจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างไร กฟผ. ก็ต้องซื้อจาก ปตท. เพราะ กฟผ. คงยอมให้ไฟฟ้าดับไม่ได้ สุดท้ายภาระก็จะตกอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ต้องแบกรับค่าครองชีพที่สูงขึ้นซึ่งปัจจุบันราคาไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายอยู่ที่ประมาณ 4.2 บาทต่อหน่วยและจะปรับเพิ่มขึ้นอย่างน้อยเป็นประมาณ 6 บาทต่อหน่วยในอีกไม่เกิน 8-10 ปีหากให้การประมูลครั้งนี้ผ่านไปได้โดยไม่มีทางเลือก ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนอุตสาหกรรมที่จะต้องปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในขณะที่ปตท. ซึ่งเปรียบเสมือนพ่อค้าคนกลางซึ่งทำอย่างไรก็ไม่ขาดทุน
การประมูล IPP ครั้งนี้ถือเป็นโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนคนไทยทั้งประเทศและถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงถึงประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ กกพ. ซึ่งเป็นผู้ออกข้อกำหนดการประมูล (TOR) กลับมีความพยายามปิดบังไม่ให้ประชนเข้าถึงข้อมูลเช่น ได้ เช่น รายละเอียด TOR และรายชื่อผู้เข้าร่วมประมูล เข้าข่ายขัดต่อกฎหมายตามมาตรา 57 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติให้รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนการดำเนินการ ในโครงการที่จะมีผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชน

       เพียงเท่านั้นยังไม่พอ การเจรจาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่างบริษัทเอกชนที่เป็นเครื่องมือของนักการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของประชาชนกับ กฟผ. ก็ดำเนินการโดยลับๆ จำกัดให้คนเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่จะทราบถึงความเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง อีกทั้งยังมีการใช้อำนาจจากทางการเมืองเพื่อบีบให้ กฟผ. ยอมลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสร้าง Demand การใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์อันมหาศาลจากการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ (LNG) จำนวน 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ไทยภายใต้การนำของนายกยิ่งลักษณ์ได้มีการลงนามสัญญาซื้อขาย LNG จากประเทศกาต้า ซึ่งแสดงถึงความเชื่อมโยงถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังการประมูลIPP ของนักการเมือง
       ปัจจุบัน กฟผ. ถูกบีบบังคับให้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขที่ทำให้รัฐเสียประโยชน์จาก นักการเมืองประกอบด้วย"

 

ดูต่อได้ที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10

 

ไม่ได้เถียงคุณเลยครับ ว่าหนึ่งในสาเหตุที่ค่าไฟแพงเพราะ ปตท.

 

ปัญหาคือ (และกรุณาตอบให้ตรงคำถาม)

 

ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับ กฟผ ทำไมเราไม่มี และห้ามมีทางเลือกอื่น

 

เหตุใดประเทศอื่นๆที่เจริญแล้วเช่นเยอรมัน อเมริกาไม่มี ระบบ monopoly แบบนี้และเขาอยู่กันได้

 

 

กฟน. หรือ กฟภ. ไม่ใช่กฟผ. จะซื้อไฟจากเอกชน ก็ลองติดต่อกับบ.เหล่านี้ดู http://www.appp.or.th/about.php

 

 

การไฟฟ้านครหลวง กฟน เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบการจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประชาชน อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่บริการในปัจจุบันได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ

 

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ.  เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้น จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง

 

มันก็เครือเดียวกันแยกกันเก็นเงินในแต่ละพื้นที่ จงตอบคำถามเสียดีๆ ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับกฟน หรือ กฟภ ทำไมประชาชนทั่วไป ไม่มีทางเลือกอื่น ทำไมต้องให้กฟผ เป็นพ่อค้าคนกลางรับซื้อไฟฟ้า แต่ผู้เดียว

 

 

คุณแน่ใจหรือ ถ้าปล่อยให้มีการแข่งขันในตลาด แล้วเราจะใช้ไฟฟ้าราคาถูกลง อย่าฝันลมๆ แล้งๆ ครับ 



#65 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 17:32

 

 

 

 

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx

 

กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่:  http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ.  ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง   กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น   ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ   ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ 

 

ดูที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10

ไม่ได้เถียงคุณเลยครับ ว่าหนึ่งในสาเหตุที่ค่าไฟแพงเพราะ ปตท.

ปัญหาคือ (และกรุณาตอบให้ตรงคำถาม)

ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับ กฟผ ทำไมเราไม่มี และห้ามมีทางเลือกอื่น

เหตุใดประเทศอื่นๆที่เจริญแล้วเช่นเยอรมัน อเมริกาไม่มี ระบบ monopoly แบบนี้และเขาอยู่กันได้

 

กฟน. หรือ กฟภ. ไม่ใช่กฟผ. จะซื้อไฟจากเอกชน ก็ลองติดต่อกับบ.เหล่านี้ดู http://www.appp.or.th/about.php

มันก็เครือเดียวกันแยกกันเก็นเงินในแต่ละพื้นที่ จงตอบคำถามเสียดีๆ ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับกฟน หรือ กฟภ ทำไมประชาชนทั่วไป ไม่มีทางเลือกอื่น ทำไมต้องให้กฟผ เป็นพ่อค้าคนกลางรับซื้อไฟฟ้า แต่ผู้เดียว

 

ไม่ได้ดูหรือ ราคาที่ IPP ขายให้กฟผ.ราคาแพงกว่าของกฟภ. กฟน. ไม่ใช่หรือ  และจะแพงขึ้นเรื่อยๆ หากใช้ LNG เป็นเชื้อเพลิง

 

1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

      

แล้วแบบนี้ จะยิ่งทำให้ค่าไฟฟ้าแพงมากกว่ากฟผ.เสียอีก และเมืองไทย ไม่เคยมีไฟฟ้าดับถึง 7 วัน เหมือนที่ New Jersey ตอนพายุแซนดี้เข้านะ

ราคาที่แพงไม่ใช่เกิดจากไม่มีการแข่งขัน ดูได้จากการแข่งขันกันขายไฟให้กฟผ. เป็นตัวอย่าง แต่แพงเพราะการถูกล็อคให้ใช้เชื้อเพลิงที่มีราคาแพง เช่น LNG ต่างหาก มันเริ่มจากการแก้ปัญหาแบบลิงแก้แห ของไอ้แม้วที่ดันไปสั่งให้ปตท.สผ.ซื้อหุ้น COVE แล้วขุดได้แต่ แก๊ส NG จึงต้องทำเป็น LNG เอากลับมาขายให้กฟผ.และ IPP จึงทำให้ค่าไฟแพง  วิธีแก้ก็คือ การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าทดแทนแบบเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เหมือนที่เยอรมันทำอยู่  (http://www.energysavingmedia.com/news/page.php?a=10&n=106&cno=3812 ) ซึ่งอาจมีราคาแพงในตอนแรก แต่ยั่งยืน และ จะมีราคาลดลงในที่สุด  ดูโซลาร์รูฟ เป็นตัวอย่าง และดู TPIPL ที่ได้รางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย (http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69)

 

การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยพื้นฐาน จะเห็นชัดเจนตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นไป
การเดินหน้าลงทุนเพื่อสร้างการเติบโตของ TPIPL เกิดขึ้นอีกครั้ง หลังหมดกังวลจากคดีเงินค่าปรับ 6.9 พันล้านบาท โดยปัจจุบันมี 3 โครงการใหญ่ ได้แก่ 1. โรงปูนซีเมนต์สายการผลิตที่ 4 มูลค่าเงินลงทุน 1 หมื่นล้านบาท 2. โรงไฟฟ้าที่ใช้ขยะเป็นวัตถุดิบ และโรงไฟฟ้าที่รับความร้อนทิ้งจากโรงปูนสายการผลิตที่ 4 มูลค่าเงินลงทุนรวม 4 พันล้านบาท และ 3 โรงผลิต Fiber Cement  มูลค่าเงินลงทุน 2.5 พันล้านบาท ซึ่งทั้งหมดจะได้ข้อสรุปเกี่ยวกับสัญญาเงินกู้ภายในปีนี้ และเริ่มก่อสร้างได้ในปี 2556 โดยใช้ระยะเวลาการก่อสร้าง 2 ปี ทำให้ TPIPL ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางปัจจัยพื้นฐานทีชัดเจนจนกว่าจะถึงปี 2558 โดยโครงการที่น่าจะสร้างกำไรได้ดีที่สุด คือ โรงไฟฟ้าทีใช้ขยะเป็นวัตถุดิบขนาด 90 MW เนื่องจากได้รับเงินส่วนต่างชดเชยค่าไฟฟ้า (Adder) จำนวน 3 บาท/หน่วย ซึ่งจะทำให้  TPIPL สามารถคืนทุนได้ในเวลาไม่เกิน 5 ปี


Edited by Stargate-1, 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 23:03.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#66 เช never die

เช never die

    มหาอำมาตย์แดง ชั้นที่ 1.(ระดับเดียวกับท่านตู่,ท่านเต้น)

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,845 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 18:06

ยาวไปเรื่อยๆ ลวกเพี่ย...


ปล.กระทู้นี้เป็นกระทู้เยอรมัน หรือกระทู้พลังงานอ่ะครับ

มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล


#67 หมาต๋า

หมาต๋า

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 337 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 18:11

เพราะเยอรมันไม่มีอำมาต กับตลก.ไดโดเสาร์ 



#68 เช never die

เช never die

    มหาอำมาตย์แดง ชั้นที่ 1.(ระดับเดียวกับท่านตู่,ท่านเต้น)

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,845 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 18:14

เพราะเยอรมันไม่มีอำมาต กับตลก.ไดโดเสาร์


เบื่อพวกเสียงส่วนน้อย

มาชุมนุมให้ได้สักแสนคนก่อน แล้วค่อยไปกระแนะกระแหนองค์กรกลางนะครับ

มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล


#69 หมาต๋า

หมาต๋า

    ขาประจำ

  • Banned
  • PipPipPip
  • 337 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 18:19

เสียงส่วนมาก ไม่ลงเลือกตั้งละ แล้ว ให้ ปชป ปฎิรูป กร๊ากๆ มโน



#70 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 18:26

 

คุณแน่ใจหรือ ถ้าปล่อยให้มีการแข่งขันในตลาด แล้วเราจะใช้ไฟฟ้าราคาถูกลง อย่าฝันลมๆ แล้งๆ ครับ 

 

 

คุณแน่ใจหรือว่านี่เป็นคำถามที่ออกมาจากผู้มีสติปัญญาเช่นคุณ

 

ฝันล้มๆแล้งๆนั่นผมรู้ดีอยู่แล้วครับ เพราะพนักงานและบอร์ดกฟผ ไม่มีทางยอม

 

การแข่งขันเป็นผลดีกับผู้บริโภคเป็นผลเสียต่อผู้ผลิต

 

ผมคงจะไม่เถียงต่อเพราะ หนังสือ textbook ทุกเล่มและวิชาเศรษฐศาสตร์พื้นฐานเป็นสิ่งยืนยัน

 

ที่มา ของความมหัศจจรรย์ทางด้านเศราฐกิจของเยอรมันนั้นก็ได้บอกสาเหตุไปแล้ว กรุณาอ่าน ไม่ได้คิดเอาเอง ลอกมาจากหนังสือล้วนๆ มันคือ free trade

 

ครั้งนี้ผมจะยอมโต้เถียงเป็นครั้งสุดท้าย ถ้ายังจะไร้สาระมาแบบนี้อีก ผมจะเลิกคุยกับคุณแบบถาวร


Edited by Tom PR, 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 18:33.


#71 ธีรเดชน้อย

ธีรเดชน้อย

    เมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,659 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 18:34

ยาวไปเรื่อยๆ ลวกเพี่ย...


ปล.กระทู้นี้เป็นกระทู้เยอรมัน หรือกระทู้พลังงานอ่ะครับ

 

เห็นด้วยครับว่าควรเปิดกระทู้พลังงานคุยกันโดยตรง 


" จุดเริ่มของการรัฐประหาร 22 พ.ค. 2557 หลังจากรัฐบาลเพื่อไทยได้บริหารประเทศล้มเหลวมาตลอด 2 ปีเศษ มีการทุจริตคอรัปชั่นมากมาย มีการนำพรบ.นิรโทษกรรมมาอนุมัติผ่านสภาฯเพื่อช่วยเหลือ น.ช. ทักษิณ ทำให้มวลมหาประชาชนลุกขึ้นประท้วงต่อต้าน แม้จนกระทั่ง ศาลรัฐธรรมนูญและปปช. ได้ตัดสินและชี้มูลความผิดจนต้องพ้นออกจากตำแหน่งแล้วก็ตาม ทำให้ประเทศชาติต้องหยุดนิ่ง สุดท้ายเมื่อ พลเอก ประยุทธ ผบ.ทบ.ได้เรียกทุกฝ่ายเข้ามาคุยเพื่อหาทางออกแล้ว โดยขอให้ ครม.ที่ยังคงเหลือลาออกเพื่อตั้งนายกฯเพื่อการปฎิรูปประเทศ แต่ไร้ซึ่งการตอบสนองและการเสียสละ ทำให้พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา จำเป็นต้องประกาศยึดอำนาจ   "

 

 


#72 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 19:07

 

 

คุณแน่ใจหรือ ถ้าปล่อยให้มีการแข่งขันในตลาด แล้วเราจะใช้ไฟฟ้าราคาถูกลง อย่าฝันลมๆ แล้งๆ ครับ 

 

 

คุณแน่ใจหรือว่านี่เป็นคำถามที่ออกมาจากผู้มีสติปัญญาเช่นคุณ

 

ฝันล้มๆแล้งๆนั่นผมรู้ดีอยู่แล้วครับ เพราะพนักงานและบอร์ดกฟผ ไม่มีทางยอม

 

การแข่งขันเป็นผลดีกับผู้บริโภคเป็นผลเสียต่อผู้ผลิต

 

ผมคงจะไม่เถียงต่อเพราะ หนังสือ textbook ทุกเล่มและวิชาเศรษฐศาสตร์พื้นฐานเป็นสิ่งยืนยัน

 

ที่มา ของความมหัศจจรรย์ทางด้านเศราฐกิจของเยอรมันนั้นก็ได้บอกสาเหตุไปแล้ว กรุณาอ่าน ไม่ได้คิดเอาเอง ลอกมาจากหนังสือล้วนๆ มันคือ free trade

 

ครั้งนี้ผมจะยอมโต้เถียงเป็นครั้งสุดท้าย ถ้ายังจะไร้สาระมาแบบนี้อีก ผมจะเลิกคุยกับคุณแบบถาวร

 

:lol: กร๊าก โทรศัพท์ในประเทศไทย มีการแข่งขันมั้ย ทำไมราคาไม่เห็นลงเลย ราคาก็เห็นเท่ากัน 



#73 อู๋ ฮานามิ

อู๋ ฮานามิ

    สมาชิกหน้าเก่า

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 12,018 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 20:50

เพราะเยอรมันไม่มีอำมาต กับตลก.ไดโดเสาร์ 

 

เพราะไม่มี คนทำผิดแล้วโวยวาย ไม่ยอมรับผิด แล้วอ้างว่าโดนกลั่นแกล้ง มากกว่ามั้ง  ^_^


ถึงผมจะเป็นคนหัวขบถ แต่ไม่คิดทรยศบุญคุณแผ่นดินเกิด

 

เสียงส่วนใหญ่ของประชาชน ไม่ใช่ใบอนุญาตทำร้ายประเทศชาติ


#74 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 23:01

คุณแน่ใจหรือ ถ้าปล่อยให้มีการแข่งขันในตลาด แล้วเราจะใช้ไฟฟ้าราคาถูกลง อย่าฝันลมๆ แล้งๆ ครับ

คุณแน่ใจหรือว่านี่เป็นคำถามที่ออกมาจากผู้มีสติปัญญาเช่นคุณ

ฝันล้มๆแล้งๆนั่นผมรู้ดีอยู่แล้วครับ เพราะพนักงานและบอร์ดกฟผ ไม่มีทางยอม

การแข่งขันเป็นผลดีกับผู้บริโภคเป็นผลเสียต่อผู้ผลิต

ผมคงจะไม่เถียงต่อเพราะ หนังสือ textbook ทุกเล่มและวิชาเศรษฐศาสตร์พื้นฐานเป็นสิ่งยืนยัน

ที่มา ของความมหัศจจรรย์ทางด้านเศราฐกิจของเยอรมันนั้นก็ได้บอกสาเหตุไปแล้ว กรุณาอ่าน ไม่ได้คิดเอาเอง ลอกมาจากหนังสือล้วนๆ มันคือ free trade

ครั้งนี้ผมจะยอมโต้เถียงเป็นครั้งสุดท้าย ถ้ายังจะไร้สาระมาแบบนี้อีก ผมจะเลิกคุยกับคุณแบบถาวร
ถ้าเสรีดีจริง ทำไมค่าไฟประเทศตะวันตกแพงกว่าไทย

Edited by แม้ว ม.7, 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 23:02.

พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#75 เช never die

เช never die

    มหาอำมาตย์แดง ชั้นที่ 1.(ระดับเดียวกับท่านตู่,ท่านเต้น)

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,845 posts

ตอบ 19 เมษายน พ.ศ. 2557 - 08:23

ถ้าจำไม่ผิด ที่อังกฤษก็เคยทำอย่างเยอรมันครับ ไอ้เรื่องเปิดเสรีอะไรพงกนี้

แต่ที่อังกฤษ ผลปรากฎว่า สาธารณูปโภตเกือบทั้งหมดกลายเป็นของต่างชาตื โดยเฉพาะบริษัทจากฝรั่งเศษจะมีเอี่ยวเยอะสุด จนคนอังกฤษบ่นกันตรึม

ผมว่าแต่ละประเทศต้องแสวงหาระบบที่เหมาะสมกับตัวเองที่สุด จะถูกต้องกว่า

โดยพื้นฐานความมีระเบียบวินัย คนไทบกับคนเยอรมันยังห่างชั้นกันมากครับ

มันผู้ได สนับสนุนการนิรโทษกรรม ไม่ลากคอไอ้ฆาตกรชั่วใจสัตว์ โหดอำมหิต ผู้บงการฆ่าพี่น้องเสื้อแดงของกู 91 ศพ และพี่น้อง กปปส.ของกูอีก 20 ศพ มาลงโทษลงทัณฑ์ตามกบิลเมือง กูขอสาปแช่งให้มันและทุกๆคนที่มันรัก จงประสพกับความวิบัติฉิบหายในชาตินี้ และต่อๆไปทุกภพทุกชาติ จนกว่าจะสิ้นกาล


#76 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 19 เมษายน พ.ศ. 2557 - 08:59

การปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้าในประเทศฝรั่งเศส

1. ความเป็นมา

       ในปี ค.ศ. 1946 ประเทศฝรั่งเศสได้ออกกฎหมายกำกับกิจการไฟฟ้า ซึ่งให้อำนาจบริษัท Electricité de France (EdF) ในการผูกขาดการผลิต ส่ง จำหน่าย และค้าปลีกไฟฟ้าในประเทศฝรั่งเศส ต่อมามีผู้ผลิตไฟฟ้าบางรายที่ได้รับข้อยกเว้น ให้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ เช่น บริษัท SNET และบริษัท SHEM ซึ่งเป็นบริษัทลูกของบริษัทถ่านหินของรัฐ และการรถไฟของฝรั่งเศสตามลำดับ นอกจากนี้ ยังมีบริษัทจำหน่ายไฟฟ้า ระดับเทศบาลอีก 176 บริษัท ที่ได้รับการยกเว้นจากกฎหมายดังกล่าว อย่างไรก็ตาม จะเห็นได้ว่า ที่ผ่านมาบริษัท EdF เป็นเจ้าของกิจการไฟฟ้าทั้งหมดในประเทศฝรั่งเศส ทำให้บริษัทดังกล่าวมีขนาดใหญ่ และมีความสำคัญอย่างมาก

       ต่อมา เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม ค.ศ. 1996 สภาสหพันธ์ยุโรป (European Council) ได้ออกคำสั่งเกี่ยวกับการปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้า ซึ่งกำหนดให้มีการเพิ่มการแข่งขันในกิจการไฟฟ้า และเปิดตลาดให้ลูกค้าบางราย สามารถเลือกซื้อไฟฟ้าได้ สืบเนื่องจากคำสั่งดังกล่าวประเทศฝรั่งเศส จึงเริ่มดำเนินการปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้า โดยมีการปรับโครงสร้างองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และออกกฎหมายพลังงาน ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000 อย่างไรก็ตาม การปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้า ในประเทศฝรั่งเศส ได้ประสบกับปัญหาหลายประการ โดยเฉพาะในการแยกธุรกิจต่างๆ ในกิจการไฟฟ้า เพื่อความชัดเจนและโปร่งใส ดังนั้น การปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้าในประเทศฝรั่งเศส จึงถือเป็นบทเรียนที่น่าสนใจสำหรับประเทศไทย ที่ควรนำมาศึกษาวิเคราะห์ เพื่อนำไปประกอบการพิจารณา รูปแบบโครงสร้างกิจการไฟฟ้า ที่มีความเหมาะสม และให้ประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ใช้ไฟฟ้าต่อไป

3. แนวทางการปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้าในประเทศฝรั่งเศส

       ประเทศฝรั่งเศสและลักเซมเบอร์ก ดำเนินการปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้า เป็นสองประเทศสุดท้ายในสหพันธ์ยุโรป โดยรัฐบาลฝรั่งเศส ได้ออกกฎหมายการปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้า (Law of Modernisation) เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2000

       กฎหมายดังกล่าวเปิดโอกาสให้ผู้ผลิตไฟฟ้ารายใหม่ สามารถเข้ามาแข่งขันกับผู้ผลิตไฟฟ้าเดิมได้ โดยมีการเปิดให้บุคคลที่สาม ใช้บริการผ่านสายส่ง สายจำหน่าย (Third Party Access : TPA) ภายใต้ระบบ TPA ผู้ผลิตสามารถขายไฟฟ้าให้กับผู้ซื้อได้ โดยใช้ระบบส่งและระบบจำหน่ายที่มีอยู่เดิม และเพื่อให้การแข่งขันในกิจการไฟฟ้าสามารถเกิดขึ้น รัฐบาลฝรั่งเศสได้ดำเนินการแยกกิจการระบบส่ง และศูนย์ควบคุมระบบออก จาก บริษัท EdF โดยจัดให้ธุรกิจดังกล่าว อยู่ภายใต้การควบคุมของบริษัท Réseau de Transport d’electricité (RTE) ซึ่งแม้ว่าบริษัท RTE จะยังมีสถานะเป็นบริษัทลูกของบริษัท EdF แต่บริษัท RTE ก็มีอิสระในการบริหาร และมีการแยกระบบบัญชีการเงินจากบริษัท EdF อย่างชัดเจน การแยกธุรกิจการผลิตกับการส่งไฟฟ้าในลักษณะดังกล่าว ยังไม่สมบูรณ์ และจำเป็นต้องได้รับการกำกับดูแล อย่างเข้มงวด เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาการปฏิบัติ ที่ไม่เป็นธรรมกับผู้เข้าร่วมแข่งขัน ดังนั้น รัฐบาลฝรั่งเศสจึงได้จัดตั้งคณะกรรมการ Commission de Regulation de L’ Electricité (CRE) ซึ่งเป็นองค์กรกำกับดูแลอิสระสาขาไฟฟ้าขึ้น องค์กรดังกล่าวมีหน้าที่หลัก ในการกำหนดราคาค่าผ่านสายส่งสายจำหน่าย และกำกับดูแลให้ผู้ผลิตรายใหม่ สามารถเข้ามาใช้ระบบส่ง ระบบจำหน่ายได้อย่างเป็นธรรม ซึ่งหากผู้ผลิตรายใด ไม่ได้รับความเป็นธรรม ในการขอใช้ระบบหรือค่าผ่านสายที่ผู้ปฏิบัติการเสนอให้ ก็สามารถเรียกร้อง ต่อคณะกรรมการ CRE ได้

       ในช่วงแรกรัฐบาลฝรั่งเศสเปิดโอกาส ให้ผู้ใช้ไฟฟ้าที่มีการใช้ไฟฟ้า มากกว่า 16 ล้านหน่วย (GWh) ต่อปี สามารถเลือกซื้อไฟฟ้าได้ โดยผู้ใช้ไฟฟ้าที่ประสงค์ จะเลือกซื้อไฟฟ้า จากผู้อื่นนอกจากบริษัท EdF จะต้องแจ้งความประสงค์ ต่อกระทรวงพลังงานก่อนวันที่ 15 มกราคมของทุกปี ซึ่งจากการสำรวจในไตรมาสแรกของปี ค.ศ. 2001 พบว่า มีผู้ใช้ไฟฟ้าที่สามารถเลือกซื้อไฟฟ้าได้ประมาณ 1,300 ราย

7. ปัญหาและแนวทางการพัฒนา การปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้า ในประเทศฝรั่งเศส

       แม้ว่าประเทศฝรั่งเศส จะดำเนินการปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้าบางส่วน เพื่อให้สอดคล้องกับคำสั่งของสหพันธ์ยุโรป แต่การปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้าที่ผ่านมา ยังประสบกับปัญหาหลายประการ ที่ต้องการการปรับปรุงแก้ไขต่อไป หากต้องการให้ผู้ใช้ไฟฟ้าได้รับประโยชน์สูงสุด ประเด็นปัญหาต่างๆ และแนวทางการแก้ไขสามารถสรุปได้ดังนี้

7.1 การแยกระบบส่งและศูนย์ควบคุมระบบ ออกเป็นบริษัทลูกของบริษัท EdF ยังขาดความโปร่งใส และยังไม่สามารถสร้างความมั่นใจ ให้กับนักลงทุนใหม่ได้อย่างเต็มที่ หากต้องการให้การปฏิบัติการระบบส่ง มีความเป็นกลางมากขึ้น ควรแยกบริษัท RTE ในทางกฎหมายจากบริษัท EdF ต่อไป

7.2 บริษัท EdF ยังคงครอบครองกำลังการผลิตส่วนใหญ่ ในประเทศฝรั่งเศส ซึ่งอาจเป็นการกีดกันผู้ผลิตรายใหม่ที่ต้องการเข้ามาแข่งขัน ดังนั้นควรแยกกำลังการผลิตไฟฟ้าของบริษัท EdF เป็นหลายบริษัท เพื่อลดอำนาจของบริษัทดังกล่าว อย่างไรก็ตาม ประเด็นนี้อาจจะไม่เป็นปัญหามากนัก เนื่องจากระบบส่งไฟฟ้าในทวีปยุโรป เป็นระบบที่พัฒนาแล้ว และมีการเชื่อมโยงกันอย่างกว้างขวาง ทำให้ผู้ผลิตในประเทศอื่น เช่น บริษัท E.ON ในประเทศเยอรมัน สามารถแข่งขันในการขายไฟฟ้า ข้ามประเทศได้ ซึ่งหากพิจารณากำลังการผลิตของบริษัท EdF เมื่อเทียบกับกำลังการผลิต ในสหพันธ์ยุโรปโดยรวมแล้วจะเห็นว่า บริษัท EdF ไม่ได้มีสัดส่วนตลาดสูงเกินไป

7.3 การเปิดตลาดเพียงบางส่วนอาจทำให้ผู้ใช้ไฟฟ้ารายเล็ก ไม่ได้รับประโยชน์ จากการปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้าเท่าที่ควร ดังนั้น ในอนาคตควรพิจารณาเพิ่มสัดส่วนลูกค้า ที่สามารถเลือกซื้อไฟฟ้าได้ นอกจากนี้ ควรพิจารณาอนุญาตให้บริษัทจัดหาไฟฟ้าสามารถเลือกซื้อไฟฟ้า จากผู้ผลิตรายต่างๆ เพื่อนำมาขายต่อให้กับผู้ใช้ไฟฟ้า ที่ไม่สามารถเลือกซื้อไฟฟ้าได้ การจำกัดให้บริษัทจัดหาไฟฟ้าต่างๆ ต้องซื้อไฟฟ้าจากบริษัท EdF เพื่อจำหน่ายให้กับลูกค้าส่วนนี้ ทำให้บริษัท EdF ขาดแรงจูงใจในการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ไม่สามารถเลือกได้ไม่ได้รับประโยชน์เท่าที่ควร 

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่นี่: http://www.eppo.go.t...-04-france.html

 

กิจการไฟฟ้า ในสหราชอาณาจักร

       โครงสร้างเดิมของกิจการไฟฟ้าในอังกฤษและเวลส์ ดำเนินการโดย Central Electricity Generating Board (CEGB) ซึ่งเป็นผู้ผลิตและจำหน่ายไฟฟ้าแต่เพียงรายเดียว โดยจำหน่ายไฟฟ้าในแบบขายส่งให้แก่ คณะกรรมการจำหน่ายไฟฟ้าใน 12 เขต ซึ่งแต่ละเขตก็จะจำหน่ายไฟฟ้าให้กับพื้นที่ที่กำหนด หรือ ในรูปธุรกิจ แฟรนไชส์ (Franchise) โดยมี Electricity Council ทำหน้าที่เป็นหน่วยงานประสานงาน และดูแลนโยบายโดยรวม ส่วนในสก๊อตแลนด์และไอร์แลนด์เหนือ มีคณะกรรมการบริหารงานแบบรวมกิจการ (vertically integrated) ซึ่งผูกขาดการจำหน่ายไฟฟ้าในเขตต่างๆ โดยมีการวางแผนการลงทุนจากส่วนกลาง ในช่วงแรกๆ ภายใต้พระราชบัญญัติพลังงาน (Energy Act) ฉบับก่อนมีความพยายามที่จะเปิดโอกาสให้กับผู้ผลิตไฟฟ้ารายใหม่ แต่ก็ติดอุปสรรคจากรูปแบบการดำเนินงานในรูปของบริษัท CEGB ซึ่งควบคุมทั้งธุรกิจการผลิตและสายส่งอยู่

       ต่อมาได้มีการออกพระราชบัญญัติไฟฟ้า พ.ศ. 2532 (The 1989 Electricity Act) กำหนดให้มีการปรับโครงสร้าง และแปรรูปกิจการไฟฟ้า ส่วนใหญ่เป็นวิธีการขายหุ้นในตลาดหุ้น พระราชบัญญัตินี้ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลง ความเป็นเจ้าของจากรัฐไปสู่นักลงทุนเอกชน รวมทั้ง ไปสู่พนักงานของบริษัทที่รับช่วงการดำเนินงานไป ยิ่งไปกว่านั้นได้ส่งผลให้ตลาดมีการแข่งขันมากขึ้นด้วย และสิ่งสำคัญก็คือ ทำให้มีการแข่งขันในกิจการผลิต และจำหน่ายไฟฟ้า (การจำหน่ายในที่นี้ หมายถึง การซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตและนำไปจำหน่ายแก่ผู้บริโภค) นอกจากนี้ เพื่อไม่ให้มีความซ้ำซ้อนในระบบสายส่ง และสายจำหน่าย จึงได้นำระบบการกำกับดูแลอิสระเข้ามาใช้ ซึ่งตามพระราชบัญญัตินี้ ได้มีการแต่งตั้ง Director General of Electricity Supply เป็นผู้บริหารของหน่วยงานกำกับดูแล รายงานต่อประธานคณะกรรมการการค้า (President of the Board of Trade) ในส่วนของอังกฤษและเวลส์ และรายงานรัฐมนตรีแห่งสก๊อตแลนด์ (Secretary of State for Scotland) ในส่วนของสก๊อตแลนด์ โดยมีหน้าที่ดูแลให้ตลาดไฟฟ้ามีการแข่งขัน อย่างมีประสิทธิภาพ และปกป้องผลประโยชน์ของผู้บริโภค

       ภายใต้การปรับโครงสร้างกิจการไฟฟ้าในอังกฤษและเวลส์ ได้มีการแยกคณะกรรมการผลิตไฟฟ้าส่วนกลาง คือ CEGB ออกเป็น 4 ส่วน เมื่อเดือนเมษายน 2533 คือ ด้านการผลิตไฟฟ้าแยกออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนของโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงจากฟอสซิลในการผลิต ซึ่งมีบริษัทดำเนินการ 2 แห่งใหญ่ๆ ได้แก่ บริษัท National Power และ PowerGen ซึ่งร่วมดำเนินการกับภาคเอกชน ส่วนที่สองเป็นการผลิตไฟฟ้าโดยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ซึ่งดำเนินการโดยบริษัท Nuclear Electric โดยรัฐเป็นเจ้าของจนถึงปี พ.ศ. 2539

       ส่วนที่สามคือ ระบบสายส่ง ได้โอนงานให้กับบริษัทที่จัดตั้งขึ้นใหม่ ชื่อ National Grid Company (NGC) ซึ่งยังได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ การกำหนดราคาในการซื้อขายไฟฟ้าในตลาดขายส่ง โดยผ่าน บริษัท NGC Settlement Ltd. มีการจัดตั้งบริษัทไฟฟ้าภูมิภาค (Regional Electricity Companies : RECs) ขึ้น 12 แห่ง แทนคณะกรรมการจำหน่ายไฟฟ้าใน 12 เขตเดิม และร่วมเป็นเจ้าของ NGC ด้วย จนกระทั่งถึงเดือนธันวาคม 2538 จึงได้นำบริษัท NGC เข้าตลาดหุ้น

       ส่วนที่สี่คือ ด้านการจำหน่าย บริษัท REC แต่ละบริษัทจะทำหน้าที่จำหน่ายไฟฟ้า ให้แก่ตลาดแฟรนไชส์ในภูมิภาคของตน แม้ว่าลูกค้าที่มีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด 100 กิโลวัตต์ หรือมากกว่านั้นจะสามารถซื้อไฟฟ้าได้โดยตรง จากผู้ขายรายใดก็ได้ ซึ่งมีลูกค้าที่ใช้สิทธิ์เลือกผู้ขายไฟฟ้าให้ตน เกือบครึ่งหนึ่งของปริมาณการจำหน่ายไฟฟ้า โดยรวมในอังกฤษและเวลส์ และเมื่อตลาดแฟรนไชส์ยกเลิกไป ในปี พ.ศ. 2541ลูกค้าทั้งหมดก็จะมีอิสระในการ เลือกซื้อไฟฟ้าจากผู้จำหน่ายไฟฟ้ารายใดก็ได้

ดูรายละเอียดทั้งหมดได้ที่: http://www.eppo.go.t...02-ukpower.html

 

เยอรมนี กำลังปฏิรูปกฎหมายพลังงานทดแทน หวังยุติปัญหาต้นทุนพลังงานที่สูงขึ้น โดยเปลี่ยนแปลงจากพลังงานนิวเคลียร์และฟอสซิลไปสู่พลังสีเขียว

       เยอรมนี กำลังปฏิรูปกฎหมายพลังงานทดแทน หวังยุติปัญหาต้นทุนพลังงานที่สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเปลี่ยนแปลงจากพลังงานนิวเคลียร์และฟอสซิลไปสู่พลังงานสีเขียว คิดเป็นสัดส่วน 25% ของการผลิตไฟฟ้าในเยอรมนี ถือเป็นการบังคับให้นักลงทุนหน้าใหม่ๆในอุตสาหกรรมไฟฟ้าพลังงานทดแทนต้องแบกรับความเสี่ยงบางประการ

       เยอรมนี เศรษฐกิจใหญ่สุดในยุโรป ต้องการเพิ่มการใช้ไฟฟ้าพลังงานสีเขียวอีกสองเท่าเป็น 45% ภายในปี 2568ซึ่งคณะรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีแองเกลา แมร์เคิล เห็นชอบเกี่ยวกับแผนปฏิรูปกฎหมายพลังงานทดแทน ที่ถือเป็นหัวใจสำคัญในการปฏิรูปของรัฐบาลผสมชุดใหม่ และนางแมร์เคิลต้องการให้มีผลบังคับใช้ภายในเดือนสิงหาคมนี้ หวังเปลี่ยนแปลงการใช้ไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์และฟอสซิล ไปเป็นพลังงานอื่นที่ยั่งยืนมากขึ้น โดยไม่ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรม และการจ้างงานในประเทศ

       อย่างไรก็ตาม การปฏิรูปด้านต่างๆ จะชะลอการขยายตัวอย่างรวดเร็วของพลังงานสีเขียว และบีบให้นักลงทุนในไฟฟ้าประเภทนี้ต้องรับความเสี่ยงบางประการ แต่ก็ปกป้องครัวเรือน ไม่ต้องแบกรับต้นทุนพลังงานที่สูงขึ้นในอนาคต แต่ให้อุตสาหกรรมจ่ายแพงขึ้น ผู้มีสิทธิเลือกตั้งส่วนใหญ่สนับสนุนการเคลื่อนไหวนี้ แต่ก็ใช่ว่าทั้งประเทศจะคิดว่ารัฐบาลให้การช่วยเหลือผู้บริโภคมากพอ

       ราคาพลังงานที่ใช้ตามครัวเรือนในเยอรมนี ยังอยู่ในระดับสูงสุดของยุโรป และผู้บริโภค ตลอดจนบริษัทบางแห่ง จ่ายค่าพลังงานทางเลือกผ่านบิลล์เก็บค่าไฟฟ้า

       ผู้เชี่ยวชาญด้านพลังงานจากมูลนิธิ เฟรนดส์ ออฟ ดิ เอิร์ธ เยอรมนี "นายธอร์เบน เบกเกอร์" กล่าวว่า ไม่มีคำตอบใหม่จากรัฐบาลเกี่ยวกับราคาไฟฟ้า เพราะใครก็ตามที่ต้องการลดต้นทุนค่าไฟฟ้าเพื่อผู้บริโภค ต้องไม่หยุดขยายการใช้พลังงานทดแทน แต่ต้องกำหนดราคาให้เป็นธรรมมากขึ้น และเลิกอุดหนุนภาคอุตสาหกรรม ซึ่งเรื่องนี้ถือเป็นความกังวลสำหรับยุโรป แต่เยอรมนีและคณะกรรมาธิการยุโรป หรืออีซี บรรลุข้อตกลงยกเว้นค่าธรรมเนียมส่วนเกินพลังงานทดแทน ซึ่งให้ประโยชน์กับผู้ใช้ไฟฟ้ารายใหญ่มีความกังวลว่า การลดราคานี้จะทำให้อุตสาหกรรมของเยอรมนีได้เปรียบ ถือว่าไม่เป็นธรรมต่อบริษัทคู่แข่งในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรปอื่น ๆ ผู้ที่เสียหายมากที่สุด จากการปฏิรูปครั้งนี้คือ บริษัทสาธารณูปโภครายใหญ่ๆอย่าง "อาร์ดับเบิ้ลยูอี" และ "อีดอทโอเอ็น" ซึ่งเป็นเจ้าของปั๊มก๊าซและถ่านหินจำนวนมากในประเทศ การผลิตที่มากกว่าความต้องการ กดราคาค้าส่งไฟฟ้าให้ถูกลง และบั่นทอนผลกำไร และยิ่งเยอรมนีคำนึงถึงสภาพแวดล้อมมากเท่าใด ทั้งสองบริษัทยิ่งเสียหายมากเท่านั้น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง:  สถานการณ์พลังงานในเยอรมนี | ไทยยุโรปดอทเน็ต  (คลิก)


Edited by Stargate-1, 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 09:52.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#77 templar

templar

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 1,180 posts

ตอบ 19 เมษายน พ.ศ. 2557 - 09:14

hitler1.jpg

 

ท่านฮิตเล่อร์มาจากการเลือกตั้งนะ  พวกไม่ยอมเลือกตั้ง จะแอบตั้งกระทู้มากระทบกระเทียบท่าน

 

ทักษิณรึเปล่าเนี่ย  อย่าเอาท่านผู้นำทักษิณของพวกเราไปเปรียบเทียบกับท่านฮิตเลอร์เลย

 

เพราะแม้จะมาจากการเลือกตั้งเหมือนกัน  แต่ท่านทักษิณเราบริหารบ้านเมืองเก่งกว่าเยอะ  

 

:angry:  :angry:  :angry:


อย่ามาเห่าว่ากรูมาจากการเลือกตั้ง  เพราะการเลือกตั้งไม่ใช่ทุกอย่างของประชาธิปไตย

การตรวจสอบบ้านเมืองอย่างเข้มข้น  ทั้งฝ่ายนิติบัญญัติและตุลาการ  จำเป็นสำหรับประเทศไทย

 

สิ่งที่บ่งบอกว่าประเทศไหนพัฒนาแล้วไม่ได้ดูที่  มีตึกสูงมากเท่าไร  มีห้างเยอะไหม  มีจีดีพีสูงแค่ไหน

แต่ดูที่การศึกษา  และ คุณภาพของบุคลากรภายในประเทศ


#78 DarkSwan

DarkSwan

    Reporter Activated

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 5,689 posts

ตอบ 19 เมษายน พ.ศ. 2557 - 09:46

 

 

 

 

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx

 

 

กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่:  http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ.  ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง   กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น   ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ   ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ 

 

ค่าไฟต่ำกว่านิดเดียวถูกใช้เป็นเหตุผลชนะประมูลโรงไฟฟ้า
1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

      

"ลองพิจารณาเหตุผลชุดนี้เปรียบเทียบอีกทางหนึ่งดีกว่า
วิเคราะห์การประมูล IPP พ.ศ.2556
1. การประมูล IPP พ.ศ. 2556 จะเป็นเหตุให้ประเทศเสียประโยชน์และประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนคนไทยนับวันยิ่งจะสูงขึ้นจากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้าถึงประมาณร้อยละ 68.2% ดังนั้นเมื่อราคาก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นหรือแหล่งก๊าซธรรมชาติหยุดจ่ายก๊าซ กฟผ.ต้องนำเข้าไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านในราคาแพงเช่นจากมาเลเซีย หรือต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงสำรองเช่น น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตาซึ่งมีต้นทุนสูงก็จะกระทบต่อราคาไฟฟ้าและค่าครองชีพประชาชนโดยตรง แต่ กพช. ภายใต้การนำโดยนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และกกพ. ซึ่งถือเป็นหน่วยงานของภาครัฐกลับไม่คำนึงถึงภาวะความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศและความเดือดร้อนของพี่น้องคนไทย ในทางกลับกัน กพช.นำโดยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษ์ ชินวัตร กลับอนุมัติแผน PDP และกำหนดให้ กกพ. ดำเนินการออกข้อกำหนดการประมูล IPP ในทางตรงกันข้าม คือกำหนดให้การประมูล IPP ครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักเพียงชนิดเดียว ซึ่งหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้เกิดจากการบริหารงานของ กฟผ. แต่เกิดจากราคาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ ปตท. เป็นผู้ผูกขาดในการจัดหาและจัดส่งให้ กฟผ. ยิ่งมีปริมาณในการจัดส่งมากเท่าใด ปตท. ยิ่งมีกำไรมากขึ้น อนาคตต่อไปไม่ว่าราคาก๊าซจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างไร กฟผ. ก็ต้องซื้อจาก ปตท. เพราะ กฟผ. คงยอมให้ไฟฟ้าดับไม่ได้ สุดท้ายภาระก็จะตกอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ต้องแบกรับค่าครองชีพที่สูงขึ้นซึ่งปัจจุบันราคาไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายอยู่ที่ประมาณ 4.2 บาทต่อหน่วยและจะปรับเพิ่มขึ้นอย่างน้อยเป็นประมาณ 6 บาทต่อหน่วยในอีกไม่เกิน 8-10 ปีหากให้การประมูลครั้งนี้ผ่านไปได้โดยไม่มีทางเลือก ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนอุตสาหกรรมที่จะต้องปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในขณะที่ปตท. ซึ่งเปรียบเสมือนพ่อค้าคนกลางซึ่งทำอย่างไรก็ไม่ขาดทุน
การประมูล IPP ครั้งนี้ถือเป็นโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนคนไทยทั้งประเทศและถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงถึงประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ กกพ. ซึ่งเป็นผู้ออกข้อกำหนดการประมูล (TOR) กลับมีความพยายามปิดบังไม่ให้ประชนเข้าถึงข้อมูลเช่น ได้ เช่น รายละเอียด TOR และรายชื่อผู้เข้าร่วมประมูล เข้าข่ายขัดต่อกฎหมายตามมาตรา 57 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติให้รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนการดำเนินการ ในโครงการที่จะมีผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชน

       เพียงเท่านั้นยังไม่พอ การเจรจาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่างบริษัทเอกชนที่เป็นเครื่องมือของนักการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของประชาชนกับ กฟผ. ก็ดำเนินการโดยลับๆ จำกัดให้คนเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่จะทราบถึงความเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง อีกทั้งยังมีการใช้อำนาจจากทางการเมืองเพื่อบีบให้ กฟผ. ยอมลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสร้าง Demand การใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์อันมหาศาลจากการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ (LNG) จำนวน 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ไทยภายใต้การนำของนายกยิ่งลักษณ์ได้มีการลงนามสัญญาซื้อขาย LNG จากประเทศกาต้า ซึ่งแสดงถึงความเชื่อมโยงถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังการประมูลIPP ของนักการเมือง
       ปัจจุบัน กฟผ. ถูกบีบบังคับให้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขที่ทำให้รัฐเสียประโยชน์จาก นักการเมืองประกอบด้วย"

 

ดูต่อได้ที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10

 

ไม่ได้เถียงคุณเลยครับ ว่าหนึ่งในสาเหตุที่ค่าไฟแพงเพราะ ปตท.

 

ปัญหาคือ (และกรุณาตอบให้ตรงคำถาม)

 

ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับ กฟผ ทำไมเราไม่มี และห้ามมีทางเลือกอื่น

 

เหตุใดประเทศอื่นๆที่เจริญแล้วเช่นเยอรมัน อเมริกาไม่มี ระบบ monopoly แบบนี้และเขาอยู่กันได้

 

 

กฟน. หรือ กฟภ. ไม่ใช่กฟผ. จะซื้อไฟจากเอกชน ก็ลองติดต่อกับบ.เหล่านี้ดู http://www.appp.or.th/about.php

 

 

การไฟฟ้านครหลวง กฟน เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบการจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประชาชน อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่บริการในปัจจุบันได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ

 

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ.  เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้น จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง

 

มันก็เครือเดียวกันแยกกันเก็นเงินในแต่ละพื้นที่ จงตอบคำถามเสียดีๆ ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับกฟน หรือ กฟภ ทำไมประชาชนทั่วไป ไม่มีทางเลือกอื่น ทำไมต้องให้กฟผ เป็นพ่อค้าคนกลางรับซื้อไฟฟ้า แต่ผู้เดียว

 

 

 

เอกชนที่จำหน่ายไฟฟ้าก็มีครับ คุณจะได้เห็น แผ่นโซล่าร์เซล วางเรียงกันเป็นตับ เพื่อผลิตไฟฟ้า ซึ่งเป็นของเอกชนครับ

แต่ส่วนใหญ่ เอกชนเหล่านี้ เลือกที่จะจำหน่ายให้บริษัท หรืออุตสาหกรรมมากกว่า เพราะเป็นลูกค้ารายใหญ่  รับผิดชอบน้อยรายแต่ได้กำไรเท่ากับการรับผิดชอบหลายราย การบำรุงรักษาทำได้ไม่ยาก ชัดเจน

 

 

คำตอบที่ว่าทำไมเราต้องซื้อไฟจาก กฟผ. กฟน. กฟภ. ผมขอตอบตามความเห็นตนเองว่า

 

1. เป็นสัญญาและข้อตกลงมานาน เนื่องจากทั้ง 3 คือ รัฐวิสาหกิจในเครือเดียวกัน เมื่อฝ่ายผลิต ทำหน้าที่ผลิต ก็ต้องมีการจำหน่าย ซึ่ง กฟภ. กฟน. ก็จะเป็นผู้รับหน้าที่นี้

2. ทำไมไม่ซื้อจากเอกชน  ผมเคยเห็นในเว็บไซต์ ของ กฟภ. กฟน. รวมถึงผมก้มีญาติที่ทำงาน กฟภ. เขาบอกว่า ทุกวันนี้ก็ซื้ออยู่ แต่ไม่เพียงพอกับการจำหน่ายให้กับประชาชน ดังนั้น หลักๆ ก็ต้องซื้อจาก กฟผ.

 

3. ทำไมเราต้องซื้อ จากพกวเขาเหล่านี้เท่านั้ัน  คำตอบคือ  ก็เพราะว่า มันไม่ได้ซื้อแต่ไฟฟ้าอย่างเดียวน่ะสิ  มันรวมไปถึง การขยายเขต ซ่อมบำรุง ปักเสา พาดสาย   ซึ่ง เอกชน ไม่อยากที่จะเสียตรงนี้ เพราะพื้นที่มันกว้าง ประชาชนไม่ได้อยู่รวมกัน บางแห่ง อยู่ห่างไกล มีแต่ไร่นา ต้องพาดสายไปกว่า 10 กม. มีบ้าน 2 หลัง  ค่าใช้จ่ายแพง  เอกชนไม่อยากลงทุน เพราะขาดทุนชัวร์ ค่าอุปกรณ์ก็ไม่คุ้มแล้ว   ในส่วนของ รัฐวิสาหกิจ จะมีตรงนี้ที่ได้รับเงินช่วยเหลือจาก รบ. บางส่วน  แต่ถึงกระนั้น ก็ยังมีหลักเกณฑ์ว่า ต้องมีระยะทางเท่าไหร่ มีครัวเรือนกี่หลัง จึงจะสามารถขอขยายเขตไฟฟ้าได้ด้วย  เห็นมั้ยครับ ขนาดรัฐวิสาหกิจยังต้องมีหลักเกณฑ์ตรงนี้ เพื่อให้ขาดทุนน้อยที่สุด ธุรกิจเอกชนหวังกำไรไม่ต้องไปพูด

 

4. เป็นการหารายได้เขารัฐ  ซึ่งก็ไอ้ตรงข้อนี้แหละ ที่กระทรวงพลังงานมันเลยว่างมากพอจะมากำหนดค่า FT ซ้ำซ้อน รีดเงินประชาชน

 

โดยรวมๆ ก็ประมาณนี้ครับ ถ้าคิดเรื่องแค่ "ซื้อไฟฟ้ามาใช้" มันก็น่าจะคิดอย่างคุณได้ แต่ถ้ามองโดยรวมให้ครบกระบวนการแล้ว ผมว่า เอกชนในประเทศไทย ยังไม่มีศักยภาพเพียงพอหรอกครับ ที่จะให้บริการประชาชนจำนวนมากขนาดนั้น


Edited by DarkSwan, 19 เมษายน พ.ศ. 2557 - 09:47.

ถ้าอยากได้ความเท่าเทียม

ก็ปีนป่ายขึ้นไปให้อยู่เทียบเท่ากับคนอื่นเค้า

อย่าได้กระชากฉุดให้คนอื่นเขาลงมาตกต่ำเท่ากับตน


#79 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 09:11

 

 

คุณแน่ใจหรือ ถ้าปล่อยให้มีการแข่งขันในตลาด แล้วเราจะใช้ไฟฟ้าราคาถูกลง อย่าฝันลมๆ แล้งๆ ครับ

คุณแน่ใจหรือว่านี่เป็นคำถามที่ออกมาจากผู้มีสติปัญญาเช่นคุณ

ฝันล้มๆแล้งๆนั่นผมรู้ดีอยู่แล้วครับ เพราะพนักงานและบอร์ดกฟผ ไม่มีทางยอม

การแข่งขันเป็นผลดีกับผู้บริโภคเป็นผลเสียต่อผู้ผลิต

ผมคงจะไม่เถียงต่อเพราะ หนังสือ textbook ทุกเล่มและวิชาเศรษฐศาสตร์พื้นฐานเป็นสิ่งยืนยัน

ที่มา ของความมหัศจจรรย์ทางด้านเศราฐกิจของเยอรมันนั้นก็ได้บอกสาเหตุไปแล้ว กรุณาอ่าน ไม่ได้คิดเอาเอง ลอกมาจากหนังสือล้วนๆ มันคือ free trade

ครั้งนี้ผมจะยอมโต้เถียงเป็นครั้งสุดท้าย ถ้ายังจะไร้สาระมาแบบนี้อีก ผมจะเลิกคุยกับคุณแบบถาวร
ถ้าเสรีดีจริง ทำไมค่าไฟประเทศตะวันตกแพงกว่าไทย

 

เป็นคำถามที่น่าสนใจมาก และถูกต้อง ค่าไฟฟ้าประเทศตะวันตกแพงกว่าไทย

 

Thailand 4.46 - 9.8 US cent/Kwh

United States 8 -17 US cent/Kwh

Myanma 3.6 US cent/Kwh

Venezuela 3.1 US cent/Kwh

 

ที่มา http://en.wikipedia....tricity_pricing

 

แต่ค่าครองชีพละครับ ของอเมริกาแพงกว่าไทยเท่าไหร่ การเปรียบโดยตรงๆนั้นไม่ได้บอกถึงความถูกที่แท้จริง

 

ถ้าไม่เชื่อกรุณาดูค่าไฟของพม่า และเวเนซูเอล่า

 

และกรุณาดู ปัญหาของเวเนซูเอล่าที่เป็นสงครามกลางเมือง ณ ขณะนี้ 

 

ไฟฟ้าถูก น้ำมันถูกเป็นขี้ มิหนำซ้ำประธานาธิบดี Nicolás Maduro ก็ได้ออกมากล่าวว่าปัญหาความต่างชั้นของคนรวยและจนได้ถูกขจัดไปแล้ว แต่ไม่มีข้าวของสินค้าขาย (นี่ไงผลลััพธ์ utopia ของพวกคุณที่คิดแต่จะเอาโดยไม่คำนึงถึงวิชาเศรษฐศาสตร์)

 

ทำไมไม่มีของขาย????  คุณรู้ไหม

 

สงครามการเมืองไม่ใช่สาเหตุเพราะปัญหานี้มันมีมาก่อนหน้านั้น และการไม่มีของขายกลับเป็นหนึ่งในสาเหตุที่เกิดสงครามกลางเมือง 


Edited by Tom PR, 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 10:24.


#80 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 09:13

โดยรวมๆ ก็ประมาณนี้ครับ ถ้าคิดเรื่องแค่ "ซื้อไฟฟ้ามาใช้" มันก็น่าจะคิดอย่างคุณได้ แต่ถ้ามองโดยรวมให้ครบกระบวนการแล้ว ผมว่า เอกชนในประเทศไทย ยังไม่มีศักยภาพเพียงพอหรอกครับ ที่จะให้บริการประชาชนจำนวนมากขนาดนั้น

 

ลองเปิดเสรีดูสิครับ คุณจะได้รู้ว่ามันพอหรือไม่พอ



#81 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 09:31

ถ้าจำไม่ผิด ที่อังกฤษก็เคยทำอย่างเยอรมันครับ ไอ้เรื่องเปิดเสรีอะไรพงกนี้

แต่ที่อังกฤษ ผลปรากฎว่า สาธารณูปโภตเกือบทั้งหมดกลายเป็นของต่างชาตื โดยเฉพาะบริษัทจากฝรั่งเศษจะมีเอี่ยวเยอะสุด จนคนอังกฤษบ่นกันตรึม

ผมว่าแต่ละประเทศต้องแสวงหาระบบที่เหมาะสมกับตัวเองที่สุด จะถูกต้องกว่า

โดยพื้นฐานความมีระเบียบวินัย คนไทบกับคนเยอรมันยังห่างชั้นกันมากครับ

แนะนำเปิด google หาคำว่า electricity liberalization in england ครับมี journal เป็นร้อยๆที่สนับสนุนการทำ electricity liberalization 

 

ประเด็นที่เขาโต้เถียงกันคือต้องทำอย่างไรถึงจะทำให้เกิดการแข่งขันมากที่สุด (vertical or horizontal integration) และแฟร์ที่สุด เพราะไม่มีใครอยากแข่ง

 

ทุกคนอยากล้มคนอื่น แล้วขายอยู่คนเดียว

 

โดยพื้นฐานคนนั้นเลวเท่าเทียมกัน คุณเชื่อผมเถอะ


Edited by Tom PR, 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 10:29.


#82 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 09:34

 

เมื่อคืนดร.ไตรรงค์พูดถึงเรื่องเศรษฐกิจ   ฟังแล้ว คิดว่าไทยจะเลือกเศรษฐกิจแบบไหนดี


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#83 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 10:33

 

 

 

คุณแน่ใจหรือ ถ้าปล่อยให้มีการแข่งขันในตลาด แล้วเราจะใช้ไฟฟ้าราคาถูกลง อย่าฝันลมๆ แล้งๆ ครับ

คุณแน่ใจหรือว่านี่เป็นคำถามที่ออกมาจากผู้มีสติปัญญาเช่นคุณ

ฝันล้มๆแล้งๆนั่นผมรู้ดีอยู่แล้วครับ เพราะพนักงานและบอร์ดกฟผ ไม่มีทางยอม

การแข่งขันเป็นผลดีกับผู้บริโภคเป็นผลเสียต่อผู้ผลิต

ผมคงจะไม่เถียงต่อเพราะ หนังสือ textbook ทุกเล่มและวิชาเศรษฐศาสตร์พื้นฐานเป็นสิ่งยืนยัน

ที่มา ของความมหัศจจรรย์ทางด้านเศราฐกิจของเยอรมันนั้นก็ได้บอกสาเหตุไปแล้ว กรุณาอ่าน ไม่ได้คิดเอาเอง ลอกมาจากหนังสือล้วนๆ มันคือ free trade

ครั้งนี้ผมจะยอมโต้เถียงเป็นครั้งสุดท้าย ถ้ายังจะไร้สาระมาแบบนี้อีก ผมจะเลิกคุยกับคุณแบบถาวร
ถ้าเสรีดีจริง ทำไมค่าไฟประเทศตะวันตกแพงกว่าไทย

 

เป็นคำถามที่น่าสนใจมาก และถูกต้อง ค่าไฟฟ้าประเทศตะวันตกแพงกว่าไทย

 

Thailand 4.46 - 9.8 US cent/Kwh

United States 8 -17 US cent/Kwh

Myanma 3.6 US cent/Kwh

Venezuela 3.1 US cent/Kwh

 

ที่มา http://en.wikipedia....tricity_pricing

 

แต่ค่าครองชีพละครับ ของอเมริกาแพงกว่าไทยเท่าไหร่ การเปรียบโดยตรงๆนั้นไม่ได้บอกถึงความถูกที่แท้จริง

 

ถ้าไม่เชื่อกรุณาดูค่าไฟของพม่า และเวเนซูเอล่า

 

และกรุณาดู ปัญหาของเวเนซูเอล่าที่เป็นสงครามกลางเมือง ณ ขณะนี้ 

 

ไฟฟ้าถูก น้ำมันถูกเป็นขี้ มิหนำซ้ำประธานาธิบดี Nicolás Maduro ก็ได้ออกมากล่าวว่าปัญหาความต่างชั้นของคนรวยและจนได้ถูกขจัดไปแล้ว แต่ไม่มีข้าวของสินค้าขาย (นี่ไงผลลััพธ์ utopia ของพวกคุณที่คิดแต่จะเอาโดยไม่คำนึงถึงวิชาเศรษฐศาสตร์)

 

ทำไมไม่มีของขาย????  คุณรู้ไหม

 

สงครามการเมืองไม่ใช่สาเหตุเพราะปัญหานี้มันมีมาก่อนหน้านั้น และการไม่มีของขายกลับเป็นหนึ่งในสาเหตุที่เกิดสงครามกลางเมือง 

 

 

คุณจะบอกว่า ค่าไฟถูก ทำให้มีสงครามกลางเมือง?

 

จากประเทศที่คุณยกมา ผมว่ามันไม่สมเหตุสมผลเพียงพอ เพราะมีหลายประเทศที่ค่าไฟถูก และเจริญดีอย่างมาเลเซียค่าน้ำมันและค่าไฟถูกกว่าบ้านเรา ผมก็เห็นเขาเจริญดี


พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#84 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 12:47

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 



#85 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 13:48

คุณจะบอกว่า ค่าไฟถูก ทำให้มีสงครามกลางเมือง?

 

จากประเทศที่คุณยกมา ผมว่ามันไม่สมเหตุสมผลเพียงพอ ที่ว่ามาเลเซียค่าน้ำมันและค่าไฟถูกกว่าบ้านเรา พม่าและเวเนซผมก็เห็นเขาเจริญดี

 

สงครามกลางเมืองเกิดจากการปฎิรูปโดย ไม่คำนึงถึงวิชาเศรษฐศาสตร์
ค่าไฟราคาถูกนั้น ได้บอกไปแล้วว่าต้องพิจารณาจาก ค่าครองชีพด้วย 
มาเลเซียค่าไฟแพงกว่าบ้านเราโดยอยู่ที่ 7.09-14.76 US cent/Kwh reference ให้มาแล้วกรุณากลับไปดูครับ
 
Privatization would be useless if it does not bring about any competition and efficiency 
gain. In Malaysia, liberalization of Tenaga did not increase competition in the wholesale market 
and did not necessarily promote efficiency. It seems that the only obvious result was wealth 
transfer from the public to shareholders. In the case of Thailand, Thaksin’s privatization without 
liberalization of EGAT is likely to yield a similar result. If competition and efficiency are not 
achieved, any form of privatization would be meaningless.
 
ที่มา Electricity Reform in Practice: The Case of Thailand, Malaysia, Indonesia and the Philippines By Deunden Nikomborirak And Wanwiphang Manachotphong http://unctad.org/se...8p25asia_en.pdf
 
ทักษินมันอ้าง liberalization แต่จริงๆมันทำแต่ privatization โดยให้เอกชนที่ผลิตไฟฟ้าต้องขออนุญาติจากมันและขายไฟฟ้าให้ กฟผ โดยใช้เงินของประเทศซื้อ ท้ายสุดพวกของมันเท่านั้นที่จะได้ผลิตไฟฟ้าและขายไฟฟ้าให้กับกฟผในราคาที่สูง
 
ส่วน privatization ของปตท มันทำเหมือนกับ Tenaga และผลก็เหมือนอย่างที่ journal เขียนไว้และคุณทราบดีอยุ่แล้ว
 

 

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 

 

ในตลาดเสรีการฮั้วราคากันนั้น ทำไม่ได้ในระยะยาว แม้กระทั้งกลุ่ม OPEC ที่ฮั้วราคาน้ำมันกันในยุค 80 ก็ไม่สามารถที่จะสร้างราคาน้ำมันสูงๆแบบเทียมได้อย่างถาวร ท้ายที่สุดราคาน้ำมันก็ตกลงมาอยู่ในสภาพที่สะท้อนกับราคากลาง
 
ถ้าทำได้จริงกรุณายกตัวอย่างครับ

Edited by Tom PR, 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:07.


#86 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:01

 

คุณจะบอกว่า ค่าไฟถูก ทำให้มีสงครามกลางเมือง?

 

จากประเทศที่คุณยกมา ผมว่ามันไม่สมเหตุสมผลเพียงพอ ที่ว่ามาเลเซียค่าน้ำมันและค่าไฟถูกกว่าบ้านเรา พม่าและเวเนซผมก็เห็นเขาเจริญดี

 

สงครามกลางเมืองเกิดจากการปฎิรูปโดย ไม่คำนึงถึงวิชาเศรษฐศาสตร์
ค่าไฟถูกนั้นได้บอกไปแล้วว่าต้องพิจารณาจาก ค่าครองชีพด้วย 
มาเลเซียค่าไฟแพงกว่าบ้านเราโดยอยู่ที่ 7.09-14.76 US cent/Kwh reference ให้มาแล้วกรุณากลับไปดูครับ
 
Privatization would be useless if it does not bring about any competition and efficiency 
gain. In Malaysia, liberalization of Tenaga did not increase competition in the wholesale market 
and did not necessarily promote efficiency. It seems that the only obvious result was wealth 
transfer from the public to shareholders. In the case of Thailand, Thaksin’s privatization without 
liberalization of EGAT is likely to yield a similar result. If competition and efficiency are not 
achieved, any form of privatization would be meaningless.
 
ที่มา Electricity Reform in Practice: The Case of Thailand, Malaysia, Indonesia and the Philippines By Deunden Nikomborirak And Wanwiphang Manachotphong http://unctad.org/se...8p25asia_en.pdf

 

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 

 

ในตลาดเสรีการฮั้วราคากันนั้น ทำไม่ได้ในระยะยาว แม้กระทั้งกลุ่ม OPEC ที่ฮั้วราคาน้ำมันกันในยุค 80 ก็ไม่สามารถที่จะสร้างราคาน้ำมันสูงๆแบบเทียมได้อย่างถาวร ท้ายที่สุดราคาน้ำมันก็ตกลงมาอยู่ในสภาพที่สะท้อนกับราคากลาง
 
ถ้าทำได้จริงกรุณายกตัวอย่างครับ

 

ไฟฟ้ามันกักตุนได้เหมือนน้ำมัน มั้ยครับ 



#87 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:16

 


 

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 

 

ในตลาดเสรีการฮั้วราคากันนั้น ทำไม่ได้ในระยะยาว แม้กระทั้งกลุ่ม OPEC ที่ฮั้วราคาน้ำมันกันในยุค 80 ก็ไม่สามารถที่จะสร้างราคาน้ำมันสูงๆแบบเทียมได้อย่างถาวร ท้ายที่สุดราคาน้ำมันก็ตกลงมาอยู่ในสภาพที่สะท้อนกับราคากลาง
 
ถ้าทำได้จริงกรุณายกตัวอย่างครับ

 

ไฟฟ้ามันกักตุนได้เหมือนน้ำมัน มั้ยครับ 

 

การฮั้วราคานั้น ไม่เกียวข้องกับการกักตุน ถ้าจะถามเชิงนี้ขอถามกลับ การสื่อสารโทรคมนาคาเช่น สัญญาณ wifi 3G GPRS สามารถถูกกักตุนได้หรือไม่ ทั้งที่ถูกกักตุนไม่ได้ทำไมจึงมีการแข่งขัน ทำไมเขาไม่ฮั้วกัน

 

นอกจากนั้น การผลิตไฟฟ้า ไม่จำเป็นต้องทำตลอด เขาสามารถทำได้ในเวลาที่ไฟฟ้ามีความต้องการ เราเรียกโรงงานไฟฟ้าแบบใช้ถ่านหิน



#88 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:35

 

 


 

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 

 

ในตลาดเสรีการฮั้วราคากันนั้น ทำไม่ได้ในระยะยาว แม้กระทั้งกลุ่ม OPEC ที่ฮั้วราคาน้ำมันกันในยุค 80 ก็ไม่สามารถที่จะสร้างราคาน้ำมันสูงๆแบบเทียมได้อย่างถาวร ท้ายที่สุดราคาน้ำมันก็ตกลงมาอยู่ในสภาพที่สะท้อนกับราคากลาง
 
ถ้าทำได้จริงกรุณายกตัวอย่างครับ

 

ไฟฟ้ามันกักตุนได้เหมือนน้ำมัน มั้ยครับ 

 

การฮั้วราคานั้น ไม่เกียวข้องกับการกักตุน ถ้าจะถามเชิงนี้ขอถามกลับ การสื่อสารโทรคมนาคาเช่น สัญญาณ wifi 3G GPRS สามารถถูกกักตุนได้หรือไม่ ทั้งที่ถูกกักตุนไม่ได้ทำไมจึงมีการแข่งขัน ทำไมเขาไม่ฮั้วกัน

 

นอกจากนั้น การผลิตไฟฟ้า ไม่จำเป็นต้องทำตลอด เขาสามารถทำได้ในเวลาที่ไฟฟ้ามีความต้องการ เราเรียกโรงงานไฟฟ้าแบบใช้ถ่านหิน

 

เข้าเรื่องการสื่อสาร ราคานาทีละ 3 บาท ทุกค่ายก็ราคานี้ เนต ก็ราคาเดียวกัน ผมว่าการแข่งขันไม่ค่อยมีนะ ราคาแทบจะไม่ต่างกันเลย สินค้าที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต อย่างไฟฟ้า ประปา ควรจะอยู่ในความควบคุมของรัฐบาล น่ะถูกแล้ว ปล่อยให้เสรี จะเอาอะไรไปต่อรอง ถ้าเป็นของเอกชน มันต้องคำนึงถึงผลกำไรเป็นหลักอยู่แล้ว



#89 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:48

 

 

 


 

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 

 

ในตลาดเสรีการฮั้วราคากันนั้น ทำไม่ได้ในระยะยาว แม้กระทั้งกลุ่ม OPEC ที่ฮั้วราคาน้ำมันกันในยุค 80 ก็ไม่สามารถที่จะสร้างราคาน้ำมันสูงๆแบบเทียมได้อย่างถาวร ท้ายที่สุดราคาน้ำมันก็ตกลงมาอยู่ในสภาพที่สะท้อนกับราคากลาง
 
ถ้าทำได้จริงกรุณายกตัวอย่างครับ

 

ไฟฟ้ามันกักตุนได้เหมือนน้ำมัน มั้ยครับ 

 

การฮั้วราคานั้น ไม่เกียวข้องกับการกักตุน ถ้าจะถามเชิงนี้ขอถามกลับ การสื่อสารโทรคมนาคาเช่น สัญญาณ wifi 3G GPRS สามารถถูกกักตุนได้หรือไม่ ทั้งที่ถูกกักตุนไม่ได้ทำไมจึงมีการแข่งขัน ทำไมเขาไม่ฮั้วกัน

 

นอกจากนั้น การผลิตไฟฟ้า ไม่จำเป็นต้องทำตลอด เขาสามารถทำได้ในเวลาที่ไฟฟ้ามีความต้องการ เราเรียกโรงงานไฟฟ้าแบบใช้ถ่านหิน

 

เข้าเรื่องการสื่อสาร ราคานาทีละ 3 บาท ทุกค่ายก็ราคานี้ เนต ก็ราคาเดียวกัน ผมว่าการแข่งขันไม่ค่อยมีนะ ราคาแทบจะไม่ต่างกันเลย สินค้าที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต อย่างไฟฟ้า ประปา ควรจะอยู่ในความควบคุมของรัฐบาล น่ะถูกแล้ว ปล่อยให้เสรี จะเอาอะไรไปต่อรอง ถ้าเป็นของเอกชน มันต้องคำนึงถึงผลกำไรเป็นหลักอยู่แล้ว

 

การแข่งขันมีน้อยเนื่องจากทุกค่ายต้องขอสัมปทาน  และภาษีราคาสูง และขอยืนยันว่าเน็ต และค่าโทรศัพท์ไม่ได้มีราคาเดียวกัน

 

การปล่อยให้มีการแแข่งขันเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว แต่วิธีการทำเป็นเรื่องยาก ต้องมีการวิจัยเพื่อหาว่าทำอย่างไรจึงจะบังคับให้มีการแข่งขันได้อย่างแท้จริง

 

ณ วันนี้ประชาชน 1 คนก็ไม่มีอะไรต่อรองกับรัฐบาล การไม่มีพวกพ้องการต่อรองก็ยิ่งน้อย ผู้ที่ต่อรองได้ต้องมีพวก โดยพวกๆนั้นต้องทำงานให้กับรัฐบาล นั่นยิ่งเป็นการส่งเสริมสภาวะทักษินครองเมืองให้กลับมา

 

การแข่งขันทำให้ผู้บริโภคไม่ต้องต่อรอง เขาก็แค่ย้ายผู้ให้บริการ


Edited by Tom PR, 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:51.


#90 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:55

 

 


 

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 

 

ในตลาดเสรีการฮั้วราคากันนั้น ทำไม่ได้ในระยะยาว แม้กระทั้งกลุ่ม OPEC ที่ฮั้วราคาน้ำมันกันในยุค 80 ก็ไม่สามารถที่จะสร้างราคาน้ำมันสูงๆแบบเทียมได้อย่างถาวร ท้ายที่สุดราคาน้ำมันก็ตกลงมาอยู่ในสภาพที่สะท้อนกับราคากลาง
 
ถ้าทำได้จริงกรุณายกตัวอย่างครับ

 

ไฟฟ้ามันกักตุนได้เหมือนน้ำมัน มั้ยครับ 

 

การฮั้วราคานั้น ไม่เกียวข้องกับการกักตุน ถ้าจะถามเชิงนี้ขอถามกลับ การสื่อสารโทรคมนาคาเช่น สัญญาณ wifi 3G GPRS สามารถถูกกักตุนได้หรือไม่ ทั้งที่ถูกกักตุนไม่ได้ทำไมจึงมีการแข่งขัน ทำไมเขาไม่ฮั้วกัน

 

นอกจากนั้น การผลิตไฟฟ้า ไม่จำเป็นต้องทำตลอด เขาสามารถทำได้ในเวลาที่ไฟฟ้ามีความต้องการ เราเรียกโรงงานไฟฟ้าแบบใช้ถ่านหิน

 

 

ไฟฟ้า มีการแข่งขันหรือฟร๊ะ ในเมือรัฐเป็นผลิต

 

ไฟฟ้ามันกักตุน แล้วเอาไปขายได้เหรอฟร๊

 

อย่าเอาไปเปรีบยกับ สัญญาร wifi 3G เพราะมันเป็นสัปทาน ใครจะส่งสัญญาณก้อได้


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#91 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:58

 

 

 


 

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 

 

ในตลาดเสรีการฮั้วราคากันนั้น ทำไม่ได้ในระยะยาว แม้กระทั้งกลุ่ม OPEC ที่ฮั้วราคาน้ำมันกันในยุค 80 ก็ไม่สามารถที่จะสร้างราคาน้ำมันสูงๆแบบเทียมได้อย่างถาวร ท้ายที่สุดราคาน้ำมันก็ตกลงมาอยู่ในสภาพที่สะท้อนกับราคากลาง
 
ถ้าทำได้จริงกรุณายกตัวอย่างครับ

 

ไฟฟ้ามันกักตุนได้เหมือนน้ำมัน มั้ยครับ 

 

การฮั้วราคานั้น ไม่เกียวข้องกับการกักตุน ถ้าจะถามเชิงนี้ขอถามกลับ การสื่อสารโทรคมนาคาเช่น สัญญาณ wifi 3G GPRS สามารถถูกกักตุนได้หรือไม่ ทั้งที่ถูกกักตุนไม่ได้ทำไมจึงมีการแข่งขัน ทำไมเขาไม่ฮั้วกัน

 

นอกจากนั้น การผลิตไฟฟ้า ไม่จำเป็นต้องทำตลอด เขาสามารถทำได้ในเวลาที่ไฟฟ้ามีความต้องการ เราเรียกโรงงานไฟฟ้าแบบใช้ถ่านหิน

 

 

ไฟฟ้า มีการแข่งขันหรือฟร๊ะ ในเมือรัฐเป็นผลิต

 

ไฟฟ้ามันกักตุน แล้วเอาไปขายได้เหรอฟร๊

 

อย่าเอาไปเปรีบยกับ สัญญาร wifi 3G เพราะมันเป็นสัปทาน ใครจะส่งสัญญาณก้อได้

 

กรุณาอ่านให้ดีครับว่า เราเถียงอะไรกันอยู่

 

ถ้าจะมายังมาใช้ถ้อยคำกวนๆเช่นนี้ คำพูดของคุณผมจะไม่ตอบ แนะนำให้ใช้กับพวกเสื้อแดง



#92 พอล คุง

พอล คุง

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 11,014 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:02

 

 

 

 


 

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 

 

ในตลาดเสรีการฮั้วราคากันนั้น ทำไม่ได้ในระยะยาว แม้กระทั้งกลุ่ม OPEC ที่ฮั้วราคาน้ำมันกันในยุค 80 ก็ไม่สามารถที่จะสร้างราคาน้ำมันสูงๆแบบเทียมได้อย่างถาวร ท้ายที่สุดราคาน้ำมันก็ตกลงมาอยู่ในสภาพที่สะท้อนกับราคากลาง
 
ถ้าทำได้จริงกรุณายกตัวอย่างครับ

 

ไฟฟ้ามันกักตุนได้เหมือนน้ำมัน มั้ยครับ 

 

การฮั้วราคานั้น ไม่เกียวข้องกับการกักตุน ถ้าจะถามเชิงนี้ขอถามกลับ การสื่อสารโทรคมนาคาเช่น สัญญาณ wifi 3G GPRS สามารถถูกกักตุนได้หรือไม่ ทั้งที่ถูกกักตุนไม่ได้ทำไมจึงมีการแข่งขัน ทำไมเขาไม่ฮั้วกัน

 

นอกจากนั้น การผลิตไฟฟ้า ไม่จำเป็นต้องทำตลอด เขาสามารถทำได้ในเวลาที่ไฟฟ้ามีความต้องการ เราเรียกโรงงานไฟฟ้าแบบใช้ถ่านหิน

 

 

ไฟฟ้า มีการแข่งขันหรือฟร๊ะ ในเมือรัฐเป็นผลิต

 

ไฟฟ้ามันกักตุน แล้วเอาไปขายได้เหรอฟร๊

 

อย่าเอาไปเปรีบยกับ สัญญาร wifi 3G เพราะมันเป็นสัปทาน ใครจะส่งสัญญาณก้อได้

 

กรุณาอ่านให้ดีครับว่า เราเถียงอะไรกันอยู่

 

ถ้าจะมายังมาใช้ถ้อยคำกวนๆเช่นนี้ คำพูดของคุณผมจะไม่ตอบ แนะนำให้ใช้กับพวกเสื้อแดง

 

 

ถึงได้ถามไงว่า ไฟฟ้ามันมีการกักตุน แล้วเอาไปขายได้ไหม

 

ไฟฟ้า มันฮั้วประมูลกันได้ด้วยเหรอ ในเมือรัฐเป็นฝ่ายผลิต

 

ส่วนน้ำมัน ใครอยากจะขายก้อขุดเจาะ หรือ ซื้อมาขาย จะกักตุนไว้เป็นชาติมันก้อไม่เสือม

 

น้ำมันนะ จะฮั้วราคากัน จะทำอะไรก้อได้ เพราะมันเป็นสัปทาน 


ถึงตรูจะเลวยังไง ตรูก้อไม่ได้ขายชาติ เหมือนเสื้อแดงว่ะ เข้าใจนะ

 


#93 แม้ว ม.7

แม้ว ม.7

    ขาประจำ

  • Members
  • PipPipPip
  • 2,237 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:09

สรุปว่าถ้าแปรรูปแล้วค่าไฟแพงขึ้น ผมจะต่อต้านการแปรรูปครับ -_-

พ.ต.ท.ทักษิณ ยังได้พูดตัดพ้อกับคนที่เดินทางไปพบว่า “พรรคเพื่อไทยมีคนเก่งๆ เยอะ ทั้งนักวิชาการ ด็อกเตอร์ ทูต แต่ไม่กล้าออกมาสู้ คนหน้าตาดีไม่ออกมา พวกที่ออกมาหน้าตาไม่ค่อยดี ไม่เหมือนกับพรรคประชาธิปัตย์ ฝ่ายตรงข้าม คนมีความรู้ นักวิชาการออกมาเยอะแยะเลย คนจริงใจกับผมมันน้อย วางยาผม เพราะตัวเองอยากอยู่นานๆ เห็นว่านายกฯ ไม่แข็ง แต่ท่านนายกฯ ก็ดี แต่คนรอบข้างไม่เป็นการเมือง ผมส่งคนเป็นการเมืองไปนายกฯ ก็ไม่เอา ผมก็สงสารนายกฯ จึงไม่อยากจู้จี้ แต่คนที่เมืองไทยมันไม่ได้ดั่งใจ” 

http://astv.mobi/AlgEYM7

แปลสั้นๆ เขาด่าไอ้เสร่อแกนนำแดงว่า"โง่แต่ขยัน"


#94 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:12

กรุณาอ่านให้ดีครับว่า เราเถียงอะไรกันอยู่

ยังไม่จบอีกหรือ นึกว่าจบแล้วจากคห.นี้  --> http://webboard.seri...-2#entry1138649

 

เหตุที่ผู้ใช้ไฟ ใช้แต่ของกฟน. และ กฟภ. เพราะถูกกว่าของเอกชน จบไหม  เอกชนไม่มีทางทำค่าไฟได้ถูกกว่าของกฟผ.แน่นอน  เพราะ แหล่งที่มาของพลังงานไม่ได้มาจากหลากหลายแหล่งเหมือนในยุโรป ก็เห็นๆ กันอยู่ ต้องเอามาจากต่างประเทศทั้งนั้น  เช่น ถ่านหินจากออสเตรเลีย ยกเว้นจากไฟฟ้าพลังน้ำเท่านั้นที่นำมาจากต่างประเทศ เช่นไปตั้งบ.ในลาว ในพม่า เพื่อผลิตไฟฟ้าจากเขื่อนในลาว ในพม่า แล้วส่งมาขายในไทย ส่วนพลังงานจากถ่านหิน ก็อย่าหวังว่าจะทำได้อย่างสะดวกเหมือนแต่ก่อน ชาวบ้านเขาไม่โง่ เหมือนก่อนแล้ว ถ้าจะให้เอกชนเข้าเป็น IPP ก็ถูกบังคับใช้ LNG ที่ต้องซื้อจากปตท.


Edited by Stargate-1, 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:32.

Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#95 sanskrit_shower

sanskrit_shower

    สมาชิกขั้นสูง

  • Members
  • PipPipPipPip
  • 3,741 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:15

 

 

 

 

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx

 

 

กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่:  http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ.  ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง   กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น   ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ   ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ 

 

ค่าไฟต่ำกว่านิดเดียวถูกใช้เป็นเหตุผลชนะประมูลโรงไฟฟ้า
1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

      

"ลองพิจารณาเหตุผลชุดนี้เปรียบเทียบอีกทางหนึ่งดีกว่า
วิเคราะห์การประมูล IPP พ.ศ.2556
1. การประมูล IPP พ.ศ. 2556 จะเป็นเหตุให้ประเทศเสียประโยชน์และประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนคนไทยนับวันยิ่งจะสูงขึ้นจากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้าถึงประมาณร้อยละ 68.2% ดังนั้นเมื่อราคาก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นหรือแหล่งก๊าซธรรมชาติหยุดจ่ายก๊าซ กฟผ.ต้องนำเข้าไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านในราคาแพงเช่นจากมาเลเซีย หรือต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงสำรองเช่น น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตาซึ่งมีต้นทุนสูงก็จะกระทบต่อราคาไฟฟ้าและค่าครองชีพประชาชนโดยตรง แต่ กพช. ภายใต้การนำโดยนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และกกพ. ซึ่งถือเป็นหน่วยงานของภาครัฐกลับไม่คำนึงถึงภาวะความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศและความเดือดร้อนของพี่น้องคนไทย ในทางกลับกัน กพช.นำโดยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษ์ ชินวัตร กลับอนุมัติแผน PDP และกำหนดให้ กกพ. ดำเนินการออกข้อกำหนดการประมูล IPP ในทางตรงกันข้าม คือกำหนดให้การประมูล IPP ครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักเพียงชนิดเดียว ซึ่งหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้เกิดจากการบริหารงานของ กฟผ. แต่เกิดจากราคาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ ปตท. เป็นผู้ผูกขาดในการจัดหาและจัดส่งให้ กฟผ. ยิ่งมีปริมาณในการจัดส่งมากเท่าใด ปตท. ยิ่งมีกำไรมากขึ้น อนาคตต่อไปไม่ว่าราคาก๊าซจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างไร กฟผ. ก็ต้องซื้อจาก ปตท. เพราะ กฟผ. คงยอมให้ไฟฟ้าดับไม่ได้ สุดท้ายภาระก็จะตกอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ต้องแบกรับค่าครองชีพที่สูงขึ้นซึ่งปัจจุบันราคาไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายอยู่ที่ประมาณ 4.2 บาทต่อหน่วยและจะปรับเพิ่มขึ้นอย่างน้อยเป็นประมาณ 6 บาทต่อหน่วยในอีกไม่เกิน 8-10 ปีหากให้การประมูลครั้งนี้ผ่านไปได้โดยไม่มีทางเลือก ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนอุตสาหกรรมที่จะต้องปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในขณะที่ปตท. ซึ่งเปรียบเสมือนพ่อค้าคนกลางซึ่งทำอย่างไรก็ไม่ขาดทุน
การประมูล IPP ครั้งนี้ถือเป็นโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนคนไทยทั้งประเทศและถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงถึงประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ กกพ. ซึ่งเป็นผู้ออกข้อกำหนดการประมูล (TOR) กลับมีความพยายามปิดบังไม่ให้ประชนเข้าถึงข้อมูลเช่น ได้ เช่น รายละเอียด TOR และรายชื่อผู้เข้าร่วมประมูล เข้าข่ายขัดต่อกฎหมายตามมาตรา 57 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติให้รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนการดำเนินการ ในโครงการที่จะมีผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชน

       เพียงเท่านั้นยังไม่พอ การเจรจาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่างบริษัทเอกชนที่เป็นเครื่องมือของนักการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของประชาชนกับ กฟผ. ก็ดำเนินการโดยลับๆ จำกัดให้คนเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่จะทราบถึงความเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง อีกทั้งยังมีการใช้อำนาจจากทางการเมืองเพื่อบีบให้ กฟผ. ยอมลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสร้าง Demand การใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์อันมหาศาลจากการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ (LNG) จำนวน 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ไทยภายใต้การนำของนายกยิ่งลักษณ์ได้มีการลงนามสัญญาซื้อขาย LNG จากประเทศกาต้า ซึ่งแสดงถึงความเชื่อมโยงถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังการประมูลIPP ของนักการเมือง
       ปัจจุบัน กฟผ. ถูกบีบบังคับให้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขที่ทำให้รัฐเสียประโยชน์จาก นักการเมืองประกอบด้วย"

 

ดูต่อได้ที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10

 

ไม่ได้เถียงคุณเลยครับ ว่าหนึ่งในสาเหตุที่ค่าไฟแพงเพราะ ปตท.

 

ปัญหาคือ (และกรุณาตอบให้ตรงคำถาม)

 

ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับ กฟผ ทำไมเราไม่มี และห้ามมีทางเลือกอื่น

 

เหตุใดประเทศอื่นๆที่เจริญแล้วเช่นเยอรมัน อเมริกาไม่มี ระบบ monopoly แบบนี้และเขาอยู่กันได้

 

 

กฟน. หรือ กฟภ. ไม่ใช่กฟผ. จะซื้อไฟจากเอกชน ก็ลองติดต่อกับบ.เหล่านี้ดู http://www.appp.or.th/about.php

 

 

การไฟฟ้านครหลวง กฟน เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบการจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประชาชน อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่บริการในปัจจุบันได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ

 

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ.  เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้น จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง

 

มันก็เครือเดียวกันแยกกันเก็นเงินในแต่ละพื้นที่ จงตอบคำถามเสียดีๆ ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับกฟน หรือ กฟภ ทำไมประชาชนทั่วไป ไม่มีทางเลือกอื่น ทำไมต้องให้กฟผ เป็นพ่อค้าคนกลางรับซื้อไฟฟ้า แต่ผู้เดียว

 

 

เห็นคุยมายาวแล้ว ขอเบรคนิดนึงเพื่อจะได้เข้าใจร่วมกัน

 

1  ตอนแรกคุณอ้าง กฟผ  ต่อมามีคนแย้งว่าไม่ใช่ คุณจึงอ้างถึง กฟภ และ กฟน แล้วบอกว่าเครือเดียวกัน แต่แยกกันคนละพื้นที่ แต่กลับไม่กล่าวถึง กฟผ ที่คุณยกมาอ้างตั้งแต่ต้น

 

คำว่าเครือเดียวกันผมเดาว่า  หมายถึง สังกัด กระทรวงเดียวกันใช่หรือไม่ เพราะเห็นคุณอ้างถึงกระทรวงมหาดไทย

 

แต่ กฟผ ที่คุณอ้างถึงตอนแรกที่บอกว่า ทุกคนต้องซื้อจาก กฟผ นั้น สังกัดกระทรวงพลังงาน ครับ

 

ดังนั้น เราไม่ได้ซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ โดยตรง จะซื้อได้จาก กฟน หรือ กฟภ เท่านั้น  ซึ่ง กฟภ หรือ กฟน จะซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ มาขายให้เราอีกที

 

2 เรื่องค่าไฟ หากมีการแข่งขันเสรีว่า จะถูกลงหรือแพงขึ้น  ต้องถามก่อนว่า ต้องการแบบไหน 

 

    2.1 ให้ สามการไฟฟ้าไม่ผลิตไม่ขาย  แล้วให้เอกชนลงทุนตั้งแต่ต้นทั้งหมดเลย

 

    2.2  หรือว่า ยังมีสามการไฟฟ้าอยู่แล้วเอกชนเสริมเข้ามา

 

ลองมาช่วยกันคิดเล่นๆสนุกๆก็ได้ครับ



#96 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:28

 


 

การไฟฟ้านครหลวง กฟน เป็นรัฐวิสาหกิจที่รับผิดชอบการจำหน่ายไฟฟ้าให้กับประชาชน อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย มีพื้นที่บริการในปัจจุบันได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี และ จังหวัดสมุทรปราการ

 

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือ กฟภ.  เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงมหาดไทย มีหน้าที่บริการจำหน่ายไฟฟ้าแก่ประชาชนในส่วนภูมิภาคทุกจังหวัดทั่วประเทศไทย ยกเว้น จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และกรุงเทพมหานคร ซึ่งเป็นเขตรับผิดชอบของการไฟฟ้านครหลวง

 

มันก็เครือเดียวกันแยกกันเก็นเงินในแต่ละพื้นที่ จงตอบคำถามเสียดีๆ ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับกฟน หรือ กฟภ ทำไมประชาชนทั่วไป ไม่มีทางเลือกอื่น ทำไมต้องให้กฟผ เป็นพ่อค้าคนกลางรับซื้อไฟฟ้า แต่ผู้เดียว

 

 

เห็นคุยมายาวแล้ว ขอเบรคนิดนึงเพื่อจะได้เข้าใจร่วมกัน

 

1  ตอนแรกคุณอ้าง กฟผ  ต่อมามีคนแย้งว่าไม่ใช่ คุณจึงอ้างถึง กฟภ และ กฟน แล้วบอกว่าเครือเดียวกัน แต่แยกกันคนละพื้นที่ แต่กลับไม่กล่าวถึง กฟผ ที่คุณยกมาอ้างตั้งแต่ต้น

 

คำว่าเครือเดียวกันผมเดาว่า  หมายถึง สังกัด กระทรวงเดียวกันใช่หรือไม่ เพราะเห็นคุณอ้างถึงกระทรวงมหาดไทย

 

แต่ กฟผ ที่คุณอ้างถึงตอนแรกที่บอกว่า ทุกคนต้องซื้อจาก กฟผ นั้น สังกัดกระทรวงพลังงาน ครับ

 

ดังนั้น เราไม่ได้ซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ โดยตรง จะซื้อได้จาก กฟน หรือ กฟภ เท่านั้น  ซึ่ง กฟภ หรือ กฟน จะซื้อไฟฟ้าจาก กฟผ มาขายให้เราอีกที

 

2 เรื่องค่าไฟ หากมีการแข่งขันเสรีว่า จะถูกลงหรือแพงขึ้น  ต้องถามก่อนว่า ต้องการแบบไหน 

 

    2.1 ให้ สามการไฟฟ้าไม่ผลิตไม่ขาย  แล้วให้เอกชนลงทุนตั้งแต่ต้นทั้งหมดเลย

 

    2.2  หรือว่า ยังมีสามการไฟฟ้าอยู่แล้วเอกชนเสริมเข้ามา

 

ลองมาช่วยกันคิดเล่นๆสนุกๆก็ได้ครับ

 

ได้ตอบไปแล้ว
 
Privatization would be useless if it does not bring about any competition and efficiency 
gain. In Malaysia, liberalization of Tenaga did not increase competition in the wholesale market 
and did not necessarily promote efficiency. It seems that the only obvious result was wealth 
transfer from the public to shareholders. In the case of Thailand, Thaksin’s privatization without 
liberalization of EGAT is likely to yield a similar result. If competition and efficiency are not 
achieved, any form of privatization would be meaningless.
 
ที่มา Electricity Reform in Practice: The Case of Thailand, Malaysia, Indonesia and the Philippines By Deunden Nikomborirak And Wanwiphang Manachotphong http://unctad.org/se...8p25asia_en.pdf
 
ทักษินอ้าง liberalization แต่จริงๆทำแต่ privatization โดยให้เอกชนที่ผลิตไฟฟ้าต้องขออนุญาติจากมันและขายไฟฟ้าให้ กฟผ โดยใช้เงินของประเทศซื้อ ท้ายสุดพวกของมันเท่านั้นที่จะได้ผลิตไฟฟ้าและขายไฟฟ้าให้กับกฟผในราคาที่ สูง ส่วน privatization ของปตท นั้นทำเหมือนกับ Tenaga และผลก็เหมือนอย่างที่ journal เขียนไว้และคุณทราบดีอยุ่แล้ว
 
ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือเปิดเสรีโดยบังคับให้ต้องมีการแข่งขัน แต่วิธีใดนั้นผมก็ยังไม่ทราบได้ คงต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญที่ทำวิจัยหลายๆฝ่ายร่วมกัน
 
ไม่ใช่การแข่งขันแบบหลอกๆ โดย รัฐวิสาหกิจ กฟผ ขายไฟให้ รัฐวิสาหกิจ กฟน ด้วยกันเอง แล้วจึงขายให้ประชาชน
 
ประชาชนถ้าไม่ซื้อไฟจาก กฟน หรือ กฟภ จะซื้อไฟฟ้าจากใครอีก

Edited by Tom PR, 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:30.


#97 Bookmarks

Bookmarks

    มหาเมพ

  • Members
  • PipPipPipPipPipPipPip
  • 33,617 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:28

สรุปว่าถ้าแปรรูปแล้วค่าไฟแพงขึ้น ผมจะต่อต้านการแปรรูปครับ -_-

ไม่มีอะไรยืนยันครับ ว่าแปรรูปแล้วจะถูกลงกว่าปัจจุบัน หรือถ้าแพงขึ้นก็บอกว่าเพราะต้นทุนสูง  :lol: มันมีปัญหาตั้งแต่ฮั้วประมูลของรัฐบาลแล้ว ใครคอนเนคชั่นดีกับรัฐบาล คนนั้นได้เปรียบ พอได้เปรียบตั้งราคายังไงก็ได้ พวกเสียเปรียบตอนประมูล จะตั้งราคาถูกกว่าบริษัทที่ได้เปรียบยังไง นอกจากเท่ากัน หรือต้องแพงกว่า การจะให้เสรีจริงๆ คงต้องศึกษาอีกเยอะ 



#98 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:32

ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือเปิดเสรีโดยบังคับให้ต้องมีการแข่งขัน แต่วิธีใดนั้นผมก็ยังไม่ทราบได้ คงต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญที่ทำวิจัยหลายๆฝ่ายร่วมกัน
 
ไม่ใช่การแข่งขันแบบหลอกๆ โดย รัฐวิสาหกิจ ขายไฟให้ รัฐวิสาหกิจ ด้วยกันเอง 

ถามจริงๆ เฮอะ ไม่เคยใช้ไฟกับกฟน. หรือ กฟภ.ในประเทศไทยเลยหรือ หมายถึงจ่ายค่าบิลไฟฟ้ากับกฟน.หรือกฟภ. เพราะจ่ายไฟที่เจ้าของอพาร์ทเม้นที่ติดมิเตอร์เก็บค่าไฟเองใช่ไหม หรือ มีวิธีอื่นๆอีก ช่วยอธิบายหน่อย สงสัยมากๆเลย

 


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3


#99 Tom PR

Tom PR

    น้องเก่า

  • Members
  • PipPip
  • 131 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:37

สรุปว่าถ้าแปรรูปแล้วค่าไฟแพงขึ้น ผมจะต่อต้านการแปรรูปครับ -_-

ถ้าแปรรูปโดยบังคับให้มีการแข่งขัน ค่าไฟมันจะถูกลง อย่างแน่นอน

 

แต่ผู้รับสัมปทานผลิตไฟฟ้า ที่ขายไฟให้กฟผในราคาแพง จะอยู่ไม่ได้

 

และพนักงานร่วมกับ บอร์ดรัฐวิสาหกิจ อาจได้รับเงินน้อยลง เนื่องจากต้องแข่งขันกับเจ้าอื่น



#100 Stargate-1

Stargate-1

    SG-1

  • Members
  • PipPipPipPipPip
  • 8,578 posts

ตอบ 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:43

 

สรุปว่าถ้าแปรรูปแล้วค่าไฟแพงขึ้น ผมจะต่อต้านการแปรรูปครับ -_-

ถ้าแปรรูปโดยบังคับให้มีการแข่งขัน ค่าไฟมันจะถูกลง อย่างแน่นอน

 

แต่ผู้รับสัมปทานผลิตไฟฟ้า ที่ขายไฟให้กฟผในราคาแพง จะอยู่ไม่ได้

 

และพนักงานร่วมกับ บอร์ดรัฐวิสาหกิจ อาจได้รับเงินน้อยลง เนื่องจากต้องแข่งขันกับเจ้าอื่น

 

ยาก ตอบแล้วในนี้ http://webboard.seri...-2#entry1139799

 

ที่ว่าอยากให้เป็นแบบอังกฤษ อังกฤษยังแยกส่วนจำหน่ายออกมาทีหลังประเทศไทยเสียอีก ดูการปรับปรุงกิจการ การไฟฟ้า ของฝรั่งเศส อังกฤษ เยอรมัน ได้ในคห.นี้  http://webboard.seri...-2#entry1139061


Tam-mic-ra ฟันธง!  คำว่า "โดนพริกไทยมั๊ง" น่ะ แค่นี่เอามาเป็นหลักฐาน ได้ยังไงครับ .....  คิดครับคิด  :lol:   จากกระทู้แก้ข่าวหน้า 2 qoute #96  ใครยิงวสันต์-ภู่ทอง   แอลพีจีทำมาจากซี2ซี3





ผู้ใช้ 0 ท่านกำลังอ่านกระทู้นี้

สมาชิก 0 ท่าน, ผู้เยี่ยมชมทั่วไป 0 ท่าน และไม่เปิดเผยตัวตน 0 ท่าน