Jump to content


Tom PR

เป็นสมาชิกตั้งแต่ 13 มีนาคม 2557
ออฟไลน์ เข้าใช้งานครั้งล่าสุด: 15 กรกฎาคม 2557 17:17
-----

#1165042 เหตุใดระยะนี้ "ตั่วเฮี่ย ณ ดูไบ" จึงเงียบอย่างผิดปกติ

โดย Tom PR on 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 11:45

เขาขอเจรจาลับ ดังที่เห็นในการประชุมวุฒิ


  • wat likes this


#1158522 สมมุติ กปปส.ชนะแล้วต่อไปจะเป็นไง

โดย Tom PR on 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 18:54

ถ้าทักษินยังอยู่ ไทยเจิรญไปใกล้แล้ว

 

หวยใต้ดิน และพวกยาบ้าก็ไม่มากเหมือนปัจจุบัน

ในทางตรงกันข้าม ถ้าวิธีที่มันใช้ได้ผลจริง ทำไมยาบ้ามันถึงยังมีเกลื่อน

 

ตายไป 2000 กว่าศพ ยังไม่พออีกหรือท่าน




#1158512 ผู้ที่ได้อำนาจการปกครอง คือคนที่สามารถทำความเดือดร้อนให้สังคมมากที่สุด

โดย Tom PR on 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 18:49

ผู้ที่ได้อำนาจการปกครอง คือคนที่สามารถทำความเดือดร้อนให้สังคมมากที่สุด  จนคนในสังคมยอมมอบอำนาจให้ เพื่อต้องการให้สังคมสงสุข

เช่น พวกปิดสนามบิน แล้วได้อำนาจ

 

ต่อไปการเลียนแบบจะมีมากขึ้น  ชาติจะล้มจม จากพวกรักสงบ สันติ และอหิงสา ที่มีศาลหนุนหลัง

ถูกต้องและเห็นด้วย นี่ใช่ไหมท่านผู้นำ

 

http://webboard.seri...attach_id=43695




#1158390 แถลงการณ์ ศอ.รส. เตือนช่อง 3 5 7 9 และ NBT ...

โดย Tom PR on 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 17:11

 

BnLwaMrCMAApqIx.jpg

BnLwZhlCMAEjonx.jpg

Phattanan Songchai @phattanantv9 3m

สมาคมสื่อวิทยุ-TV-นสพ. ออกแถลงการณ์ให้ กปปส.ทบทวนท่าทีการคุกคามและแทรกแซงกำทำงานของสื่อมวลชน

 

สมาคมฯ น่าจะออกแถลงการณ์ ให้ ศอ.รส. ด้วยน่ะ

    ศอ.รส. ห้ามถ่ายทอดสัญญาณ เลยน่ะ... น่ากลัวสุดๆ

 

ขอให้ยุติการคุกคาม ขอโทษ แต่เห็นแล้วอยากจะอ้วก

 

ไม่มีเสรีที่ปราศจากหน้าที่ความรับผิดชอบ

 

พวกคุณจะเอาแต่เสรี แต่ไม่เอาหน้าที่ ดังนั้นพวกคุณก็ไม่ใช่สื่อสารมวลชน

 

ถ้าพวกคุณทำได้เพียงสักครึ่งของหน้าที่ วันนี้เขาคงไม่ไปหาพวกคุณถึงที่ดอก

 

‘The First mission of a newspaper is to tell the truth as nearly as the truth may be ascertained…The newspaper’s duty is to its readers and to the public at large, and not to the private interests of the owner. In the pursuit of truth, the newspaper shall be prepared to make sacrifices of its material fortunes, if such course be necessary for the public good. The newspaper shall not be the ally of any special interest, but shall be fair and free and wholesome in its outlook on public affairs and public men’

 

‘หน้าที่ประการแรกของหนังสือพิมพ์คือ การบอกความจริงให้ใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุดเท่าที่จะประเมินความจริงนั้น ได้... หน้าที่ของหนังสือพิมพ์ คือการทำงานเพื่อผู้อ่าน และเพื่อสารธารณชนโดยส่วนรวม มิใช่เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัวของเจ้าของกิจการ และในกระบวนการรายงานความจริงนี้ หนังสือพิมพ์ต้องพร้อมที่จะสละความมั่งคั่งทางวัตถุที่มีอยู่หากเป็นความจำ เป็นต้องทำเพื่อประโยชน์สาธารณะ หนังสือพิมพ์ต้องไม่เป็นพวกพ้องกับกลุ่มผลประโยชน์พิเศษใดๆ หนังสือพิมพ์ จะต้องรายงานข่าวสารต่างๆด้วยความยุติธรรมและอย่างเสรี หนังสือพิมพ์จะต้องแสดงมุมมองต่อกิจการสาธารณะและบุคคลสาธารณะอย่างรอบด้าน บริบูรณ์




#1155076 ด่วน ! ศาลรธน. ตัดสิน ยิ่งลักษณ์ พ้นตำแหน่ง-รมต.ร่วมลงมติ โดนด้วย

โดย Tom PR on 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 16:14

ต่อไปคดีจำนำข้าว จะได้ตัดสิน ฟ้องร้อง สะดวก บริสุทธิ์ครับ

 

ไม่ต้องมีคนมีอำนาจสูงสุด นั่งทับแช่ อยู่ เรื่องจะได้เดินสะดวกโยธิน

แนะนำให้รีบตัดสินและบังคับคดีให้ สส.และครม ผู้ร่วมกระทำผิดจ่ายเงิน 7 แสนล้านคืนรัฐบาล เหมือนในกรณีของนายสมัครและประชา

 

ตอนนี้คงจะรีบขนเงินเข้า swiss bank กับ bank ในหมู่เกาะเคยแมน เป็นแถวๆ




#1154533 ประชาธิปไตย ส้นตีน

โดย Tom PR on 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 13:22

อยากจะถาม จข กท ง่ายๆ สั้นๆ

มีวิธีการ/แนวทางไหนที่จะได้บ้าง และ

มีมาตรการอะไรที่จะนำ ปตท
กลับมาเป็นรัฐวิสาหกิจจัดการ/ควบคุม

พวกเหลือบสูบเลือดจากพลังงานไทย

อ้อ อีกข้อเราสามารถยกเลิกการอ้างอิง

ราคา ณ โรงกลั่นสูตรของสิงคโปร์ได้หรือไม่

ขอความเห็นจากท่านผู้รู้ด้วย คนบ้านเดียวกัน

รัฐวิสาหกิจ นั้นครับถือว่าสูบเลือดคนไทยอยู่ ถ้าไม่เชื่อแนะนำดูรายได้กรรมการบอร์ดรัฐวิสาหกิจ

 

คำพูดของคุณนั้นเรียกว่ามีความขัดแย้งในตัวเองอยู่ เพราะคุณต้องการจัดการเหลือบ แต่คุณต้องการให้ปตทกลับไปเป็นของเหลือบ และให้เหลือบตัวเล็ก (รัฐวิสาหกิจ) นำเงินไปให้เหลือบตัวแม่ซึ่งก็คือนักการเมืองโกงกิน  ถ้าปตท กลับเป็นของรัฐวิสาหกิจ วันนี้ผมรับประกันว่าราคาน้ำมันเท่าเดิม เพราะพวกคุณเถียงกันไม่จบว่า มำไมเราต้องอิงค่าน้ำมันราคาสิงคโปร์ เถียงกันมาตั้งแต่ปตทเป็นของหลวงร้อยเปอร์เซ็น

 

เดี๋ยวผมจะบอกให้

 

1 เพราะรัฐบาลไทยไม่ได้เป็นคนขุดเจาะ เราจ้างคนอื่นขุด สมมติคุณเป็นคนขุดคุณจะขายคนไทยถูกๆไหม ในเมื่อมีคนรับซื้อในราคาสูงกว่า ตัวคุณเองก็ไม่ทำ จะอ้างเอาราคาสิงคโปร์ อย่างแน่นอนดังนั้นเลิกเถียงกันได้แล้ว

 

2 คุณล่อให้ปตท ถือ monopoly โรงกลั่น ทำกันเข้าไปได้ยังไง

 

3 คุณเก็บภาษีน้ำมัน 80% ของราคาขาย

 

ตราบใดที่ยังโง่ให้รัฐบาลเก็บเงินเข้ากองกลางมากๆ ก็จะมีคนวิ่งเต้นเข้าไปขอใช้เงินครับ และก็จะมีพวกเหลือขออย่างควายแดง มาเอาเงินศพละ 5 ล้าน 7 ล้าน

 

เลิกโง่กันได้แล้ว  ผมอยากจะดูน้ำหน้าพวกนักการเมือง ถ้ามันไม่มีเงินหรือใช้เงินไม่ได้ มันยังอยากจะไปเป็นกันอยู่หรือหรือเปล่า ยังมองไม่ออกหรือที่มันจะขอขึ้นค่า vat ค่า FT ไฟฟ้า ภาษีน้ำมัน เพราะมันกู้ไม่ได้แล้ว




#1153737 ประชาธิปไตย ส้นตีน

โดย Tom PR on 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 16:23

แนะนำแค่เลิกภาษี และแก้ไขปัญหา monopoly โรงกลั่นน้ำมันในประเทศของปตท

 

ราคาน้ำมันลงทันที 3-18 บาท แล้วแต่ชนิดของน้ำมัน

 

โง่ไม่ทำกันเอง เอาเงินเข้าหลวงเยอะๆไปให้มันโกง แล้วอย่างนี้จะโทษใครครับ

 

แหกตากันดูได้โครงสร้างราคาน้ำมันของวันนี้ http://www.eppo.go.th/petro/price/

 

 

ราคาน้ำมันจริงแค่ 19-25 บาท

ราคา LPG จริง 10 บาท

 

นี่ขนาด ปตท ถือ monopoly โรงกลั่น ถ้ามีการแข่งขันราคาจะลงกว่านี้อีก จำใส่กระโหลกกันเอาไว้ด้วย




#1150702 "สนธิ" คาด "มาร์ค" เดินสายทางออกประเทศหวังแย่งมวลชน แนะรีบกลั...

โดย Tom PR on 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 11:44

ไร้สาระ สนธิเป็นนักข่าวนักข่าวย่อมสร้างข่าว อภิสิทธิ์เป็นนักการเมืองย่อมต้องการสร้างชื่อเสียงทางการเมือง มันตรงไปตรงมาตามสัมมาอาชีพที่แต่ละคนพึงกระทำ

 

แต่ ประเด็นสำคัญอยู่ที่การปฏิรูป ขออย่าให้ลืม




#1147377 ชาวนาโอด"บัตรเครดิตชาวนา" หลอกชาวนาให้เป็นหนี้ธนาคาร T_T

โดย Tom PR on 29 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:23

ชาวนาหลายคน ไม่ต้องการ ทางเจ้าหน้าที่ก็บอกว่ารับ ๆ ไปเถอะ จะเอาไปทำอะไรก็แล้วแต่ หรือจะเอาไปฉีกทิ้งก็ได้ ในบัตรเครดิตนี้มีวงเงินกู้อยู่ 50,000 บาท

^

^

ประชาชนทั่วไปก็โดนอยู่  กู้ซื้อบ้านกับสแตนดาร์ดชาร์เตอร์ อยู่ดีๆแบงก์บอกว่ต้องทำบัตรเครดิตไปด้วยไม่งั้นกู้ไม่ผ่าน

แบงก์มันบอกว่า "ทำไปเถอะ ทำไว้เฉยๆก็ได้"

มันไม่เฉยครับ มันมีผลต่อการวัดความสามารถในการชำระหนี้!!

 

กรณีนี้ ที่จริงมันคือการ "ฮั้วธุรกิจ" ในธนาคารเอง บีบบังคับให้ปชช.มีผลิตภัณฑ์ของธนาคารผูกไว้เยอะๆ

ประเทศอื่นห้ามทำ เพราะผิดจรรยาบรรณ

เนื่องจากหลักการนับ "รายการหนี้สิน" จะถือว่า "บัตรพลาสติก 1 ใบ จะถูกถือว่าเป็นหนี้ 1 รายการ"

บัตรพลาสติกมี 4 ใบ เช่น บัตรเครดิต บัตรเงินสด บัตรอิออน  บัตรเซ็นทรัลการ์ด = เป็นหนี้ 4 รายการ"

แม้อีก 3 ใบจะไม่เคยใช้ ก็ยังถือว่ามีหนี้ 4 รายการ

แต่คนทั่วไปที่ไม่ใช่แบงก์ จะไม่เข้าใจ คิดว่ากู้บ้าน กู้รถ และบัตรพลาสติกตามข้างบน 4 ใบ = หนี้ 3 รายการ

แต่จริงๆแล้วมันคือหนี้ 6 รายการ

ตามหลักการขอสินเชื่อแล้ว ความสามารถในการชำระหนี้ที่ถูกต้อง แต่ละคนต้องมีหนี้ไม่เกิน 4 รายการครับ

เกินกว่านั้นถือว่าคุณเป็น "ลูกหนี้มีความเสี่ยงสูง"

 

ที่ร้ายกว่านั้นคือ วงเงินบัตรมีอยู่เท่าไหร่  หลักการธนาคารจะนับ 10% ของจำนวนวงเงินในบัตรต่างๆ เป็น "ยอดหนี้"

อย่างของชาวนา 50000 บาท 10%= 5000

มีบัตร 4 ใบ จะถูกนับว่ามียอดหนี้ 20000 ทันที

 

แล้วยอดนั้นไปไหน?  

มันก็จะเอาไปเข้าสมการ "สัดส่วนหนี้สินต่อรายได้ Debt to Income ratio" ทันที

คือห้ามเกิน 36% ของรายได้

ถ้าคุณมีรายได้ต่อเดือน 20000   สัดส่วน DTI จะ = 7200

แต่คุณมีบัตรที่แบงก์ "ยัดเยียดให้" ถือไว้เล่นๆ 4 ใบดังกล่าว วงเงินบัตรเหล่านั้นที่คุณไม่ได้ใช้ จะมีหนี้รวมกัน 20000

ถือว่า "เกินความสามารถในการชำระหนี้" เรียบร้อยแล้ว

คุณจะกู้บ้านไม่ผ่าน กู้รถไม่ผ่าน ต้องอาศัยกู้ร่วมหรือมีคนค้ำประกัน

 

วิธีการแก้ก็ง่ายๆครับ  คือให้ไปปิดบัตรที่ไม่จำเป็นให้หมด เหลือเพียงใบเดียวที่ใช้ประจำ และ จ่ายเต็มวงเงิน+ตรงเวลา+ไม่เคยข้ามงวด

ใบไหนที่ผลประโยชน์สูงแต่จ่ายไม่เต็ม จ่ายขั้นต่ำ จ่ายไม่ตรง ก็ไปปิดบัญชีซะ

เหลือเฉพาะบัตรที่ประวัติการชำระหนี้ดีเยี่ยมเท่านั้น

ถึงจะกู้สินเชื่อใหญ่ๆได้ผ่านครับ

 

 

ที่จริงเรื่องบัตรเครดิตชาวนา  ผมมองออกตั้งแต่แรกและเคยเขียนไว้ตั้งแต่สมัยนั้นตอนบอร์ดเก่าแล้วว่า

เป็นกลลวงให้ชาวนาติดหนี้ แล้วยึดที่ชาวนาขายให้ต่างชาติ

 

เห็นด้วย แต่ชาวนาชอบบ่นว่า ไม่มีทุน เลยไม่รวย

 

อยากทราบว่าคุณมีความเห็นอย่างไรกับคนจำพวกนี้




#1141502 ทำไมประเทศไทยเป็นประเทศกำลังพัฒนา..(สำหรับคนที่พัฒนาแล้วเท่านั้นเข้ามาอ่าน-ตอ...

โดย Tom PR on 22 เมษายน พ.ศ. 2557 - 15:16

 

อยากถาม ตอม สักอย่างได้มะ
 
อยากถามว่า เกาหลีเหนือ เป็นประชาธิปไตย์ ไหม ในเมือมีการเลือกตั้งแว้ว
 
:D  :D  :D

กาลิลีโอ กล่าวไว้ว่า ...จะดูว่าคนโง่หรือฉลาดให้ดูที่คำถาม..จากคำถามของเอ็งบักคุง ข้าว่าเอ็งมันประเภท NGO วะ
ข้าไม่ตอบวะ..คำตอบว่าเกาหลีเหนือ เป็นประชาธิปไตย์ ไหม ..ใครๆก็รู้..ยกเว้น บักคุง ..หึหึ เอ็งมันด้อยพัฒนา

 

You can tell a man is clever by his answers. You can tell a man is wise by his questions.Naguib Mahfouz

คนฉลาด (clever) นั้นมักจะเป็นผู้ให้คำตอบ จุดประสงค์ของเขาคือการสร้างความประทับใจ หรือเพื่อดูการตอบสนองบนใบหน้าของคุณ

ผู้จัดเจน (wise) ถามคำถามเพราะเขาต้องการที่จะเรียนรู้เพิ่มเติม เขาไม่ต้องการให้คุณได้อะไรจากเขา เขาต้องการได้ความรู้จากคนอื่นโดยการตั้งคำถาม เขาจะไม่พยายามเปลี่ยนความคิดของใครๆ หากคุณมีความเต็มใจและความกระตือรือร้นเขาอาจจะแนะนำหนทางเพื่อให้คุณหาคำตอบได้ด้วยตัวเอง

แล้วเราก็มีผู้ที่ไม่ฉลาด
(ให้คำตอบผิดๅ) และไม่จัดเจน (ไม่ถามคำถามที่น่าสนใจ)

 

กาลิลีโอ พ ่อ ง




#1139788 Make me a German จาก Face คุณ กรณ์

โดย Tom PR on 20 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:48

 

 

 


 

ประเทศไทย กฎหมายไม่แรง เอาผิดยาก ฮั้วราคากัน ทำไมจะทำไม่ได้ ขายสมบัติชาติหมด เพื่อต้องการแข่งขันเสรี แต่จริงๆ แล้วมันไม่เสรี เพราะมันจะฮั้วกัน 

 

ในตลาดเสรีการฮั้วราคากันนั้น ทำไม่ได้ในระยะยาว แม้กระทั้งกลุ่ม OPEC ที่ฮั้วราคาน้ำมันกันในยุค 80 ก็ไม่สามารถที่จะสร้างราคาน้ำมันสูงๆแบบเทียมได้อย่างถาวร ท้ายที่สุดราคาน้ำมันก็ตกลงมาอยู่ในสภาพที่สะท้อนกับราคากลาง
 
ถ้าทำได้จริงกรุณายกตัวอย่างครับ

 

ไฟฟ้ามันกักตุนได้เหมือนน้ำมัน มั้ยครับ 

 

การฮั้วราคานั้น ไม่เกียวข้องกับการกักตุน ถ้าจะถามเชิงนี้ขอถามกลับ การสื่อสารโทรคมนาคาเช่น สัญญาณ wifi 3G GPRS สามารถถูกกักตุนได้หรือไม่ ทั้งที่ถูกกักตุนไม่ได้ทำไมจึงมีการแข่งขัน ทำไมเขาไม่ฮั้วกัน

 

นอกจากนั้น การผลิตไฟฟ้า ไม่จำเป็นต้องทำตลอด เขาสามารถทำได้ในเวลาที่ไฟฟ้ามีความต้องการ เราเรียกโรงงานไฟฟ้าแบบใช้ถ่านหิน

 

เข้าเรื่องการสื่อสาร ราคานาทีละ 3 บาท ทุกค่ายก็ราคานี้ เนต ก็ราคาเดียวกัน ผมว่าการแข่งขันไม่ค่อยมีนะ ราคาแทบจะไม่ต่างกันเลย สินค้าที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต อย่างไฟฟ้า ประปา ควรจะอยู่ในความควบคุมของรัฐบาล น่ะถูกแล้ว ปล่อยให้เสรี จะเอาอะไรไปต่อรอง ถ้าเป็นของเอกชน มันต้องคำนึงถึงผลกำไรเป็นหลักอยู่แล้ว

 

การแข่งขันมีน้อยเนื่องจากทุกค่ายต้องขอสัมปทาน  และภาษีราคาสูง และขอยืนยันว่าเน็ต และค่าโทรศัพท์ไม่ได้มีราคาเดียวกัน

 

การปล่อยให้มีการแแข่งขันเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว แต่วิธีการทำเป็นเรื่องยาก ต้องมีการวิจัยเพื่อหาว่าทำอย่างไรจึงจะบังคับให้มีการแข่งขันได้อย่างแท้จริง

 

ณ วันนี้ประชาชน 1 คนก็ไม่มีอะไรต่อรองกับรัฐบาล การไม่มีพวกพ้องการต่อรองก็ยิ่งน้อย ผู้ที่ต่อรองได้ต้องมีพวก โดยพวกๆนั้นต้องทำงานให้กับรัฐบาล นั่นยิ่งเป็นการส่งเสริมสภาวะทักษินครองเมืองให้กลับมา

 

การแข่งขันทำให้ผู้บริโภคไม่ต้องต่อรอง เขาก็แค่ย้ายผู้ให้บริการ




#1138473 Make me a German จาก Face คุณ กรณ์

โดย Tom PR on 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 14:35

 

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx

 

 

กฟผ.ผลิตไฟขายให้กฟน.และกฟภ.นำไปจำหน่ายให้ประชาชนอีกที ส่วนโรงงานขนาดใหญ่เขาผลิตไฟใช้กันเอง (จนได้รับรางวัลมาตรฐานมงกุฏไทย ดูได้จากที่นี่:  http://www.tgo.or.th...ndard&Itemid=69 ) หรือซื้อตรงจากกฟผ.  ค่าไฟฟ้าแพงเนื่องจากกฟน.และกฟภ ซื้อไฟจากกฟผ.ในราคาที่แพง   กฟผ.ก็ซื้อมาจากบ.ไฟฟ้าเอกชนและจากต่างประเทศในราคาแพง ที่ผลิตเองแพงขึ้น ก็เนื่องมาจากซื้อแก๊สธรรมชาติมาจากปตท.ในราคาแพงขึ้น   ไม่ใช่ไม่มีการแข็งขันตามที่เข้าใจ   ส่วนการซื้อไฟฟ้าจากบ.เอกชน มีการล็อคสเป็คให้ใช้เชื้อเพลิงเป็นLNG ที่ปตท.ขุดขึ้นมาจากต่างประเทศ ไม่มีใครซื้อ เลยมาบังคับให้กฟผ.ซื้อและล็อคสเป็คให้โรงไฟฟ้าเอกชนที่เข้าประมูลโรงไฟฟ้าIPPซื้อ 

 

ค่าไฟต่ำกว่านิดเดียวถูกใช้เป็นเหตุผลชนะประมูลโรงไฟฟ้า
1798547_710311065688403_1874963894_n.jpg

      

"ลองพิจารณาเหตุผลชุดนี้เปรียบเทียบอีกทางหนึ่งดีกว่า
วิเคราะห์การประมูล IPP พ.ศ.2556
1. การประมูล IPP พ.ศ. 2556 จะเป็นเหตุให้ประเทศเสียประโยชน์และประชาชนเดือดร้อนจากค่าครองชีพที่สูงขึ้น
ปัจจุบันค่าครองชีพของประชาชนคนไทยนับวันยิ่งจะสูงขึ้นจากราคาพลังงานที่ปรับตัวสูงขึ้นทั้งในส่วนของน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติซึ่งปัจจุบันเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตพลังงานไฟฟ้าถึงประมาณร้อยละ 68.2% ดังนั้นเมื่อราคาก๊าซธรรมชาติสูงขึ้นหรือแหล่งก๊าซธรรมชาติหยุดจ่ายก๊าซ กฟผ.ต้องนำเข้าไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้านในราคาแพงเช่นจากมาเลเซีย หรือต้องเดินเครื่องโรงไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงสำรองเช่น น้ำมันดีเซลและน้ำมันเตาซึ่งมีต้นทุนสูงก็จะกระทบต่อราคาไฟฟ้าและค่าครองชีพประชาชนโดยตรง แต่ กพช. ภายใต้การนำโดยนายกรัฐมนตรี ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร และกกพ. ซึ่งถือเป็นหน่วยงานของภาครัฐกลับไม่คำนึงถึงภาวะความเสี่ยงด้านพลังงานของประเทศและความเดือดร้อนของพี่น้องคนไทย ในทางกลับกัน กพช.นำโดยนายกรัฐมนตรียิ่งลักษ์ ชินวัตร กลับอนุมัติแผน PDP และกำหนดให้ กกพ. ดำเนินการออกข้อกำหนดการประมูล IPP ในทางตรงกันข้าม คือกำหนดให้การประมูล IPP ครั้งนี้ใช้เชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักเพียงชนิดเดียว ซึ่งหลายคนทราบดีอยู่แล้วว่าปัจจัยสำคัญที่ทำให้ราคาไฟฟ้าปรับตัวสูงขึ้นไม่ได้เกิดจากการบริหารงานของ กฟผ. แต่เกิดจากราคาเชื้อเพลิงก๊าซธรรมชาติที่ ปตท. เป็นผู้ผูกขาดในการจัดหาและจัดส่งให้ กฟผ. ยิ่งมีปริมาณในการจัดส่งมากเท่าใด ปตท. ยิ่งมีกำไรมากขึ้น อนาคตต่อไปไม่ว่าราคาก๊าซจะปรับตัวสูงขึ้นอย่างไร กฟผ. ก็ต้องซื้อจาก ปตท. เพราะ กฟผ. คงยอมให้ไฟฟ้าดับไม่ได้ สุดท้ายภาระก็จะตกอยู่ที่ประชาชนผู้ใช้ไฟฟ้าที่ต้องแบกรับค่าครองชีพที่สูงขึ้นซึ่งปัจจุบันราคาไฟฟ้าที่ประชาชนต้องจ่ายอยู่ที่ประมาณ 4.2 บาทต่อหน่วยและจะปรับเพิ่มขึ้นอย่างน้อยเป็นประมาณ 6 บาทต่อหน่วยในอีกไม่เกิน 8-10 ปีหากให้การประมูลครั้งนี้ผ่านไปได้โดยไม่มีทางเลือก ทั้งนี้รวมถึงต้นทุนอุตสาหกรรมที่จะต้องปรับตัวสูงขึ้นส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในขณะที่ปตท. ซึ่งเปรียบเสมือนพ่อค้าคนกลางซึ่งทำอย่างไรก็ไม่ขาดทุน
การประมูล IPP ครั้งนี้ถือเป็นโครงการที่อาจส่งผลกระทบต่อค่าครองชีพของประชาชนคนไทยทั้งประเทศและถือเป็นโครงการขนาดใหญ่ซึ่งมีมูลค่าโครงการสูงถึงประมาณ 1.5 แสนล้านบาท แต่ กกพ. ซึ่งเป็นผู้ออกข้อกำหนดการประมูล (TOR) กลับมีความพยายามปิดบังไม่ให้ประชนเข้าถึงข้อมูลเช่น ได้ เช่น รายละเอียด TOR และรายชื่อผู้เข้าร่วมประมูล เข้าข่ายขัดต่อกฎหมายตามมาตรา 57 วรรค 2 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยที่บัญญัติให้รัฐต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนอย่างทั่วถึงก่อนการดำเนินการ ในโครงการที่จะมีผลกระทบต่อส่วนได้ส่วนเสียของประชาชน

       เพียงเท่านั้นยังไม่พอ การเจรจาสัญญาซื้อขายไฟฟ้าระหว่างบริษัทเอกชนที่เป็นเครื่องมือของนักการเมืองในการแสวงหาผลประโยชน์จากความเดือดร้อนของประชาชนกับ กฟผ. ก็ดำเนินการโดยลับๆ จำกัดให้คนเพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่จะทราบถึงความเคลื่อนไหวทั้งที่เป็นโครงการขนาดใหญ่ส่งผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง อีกทั้งยังมีการใช้อำนาจจากทางการเมืองเพื่อบีบให้ กฟผ. ยอมลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้าเพื่อสร้าง Demand การใช้ก๊าซธรรมชาติ เพื่อนำไปสู่ผลประโยชน์อันมหาศาลจากการนำเข้าก๊าซธรรมชาติ (LNG) จำนวน 10 ล้านตันต่อปี ซึ่งเมื่อไม่นานมานี้ไทยภายใต้การนำของนายกยิ่งลักษณ์ได้มีการลงนามสัญญาซื้อขาย LNG จากประเทศกาต้า ซึ่งแสดงถึงความเชื่อมโยงถึงวัตถุประสงค์ที่แท้จริงที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังการประมูลIPP ของนักการเมือง
       ปัจจุบัน กฟผ. ถูกบีบบังคับให้ลงนามสัญญาซื้อขายไฟฟ้า และถูกบีบให้ยอมรับเงื่อนไขที่ทำให้รัฐเสียประโยชน์จาก นักการเมืองประกอบด้วย"

 

ดูต่อได้ที่: https://www.facebook...1&stream_ref=10

 

ไม่ได้เถียงคุณเลยครับ ว่าหนึ่งในสาเหตุที่ค่าไฟแพงเพราะ ปตท.

 

ปัญหาคือ (และกรุณาตอบให้ตรงคำถาม)

 

ทำไมเราทุกคนต้องจ่ายค่าไฟแต่กับ กฟผ ทำไมเราไม่มี และห้ามมีทางเลือกอื่น

 

เหตุใดประเทศอื่นๆที่เจริญแล้วเช่นเยอรมัน อเมริกาไม่มี ระบบ monopoly แบบนี้และเขาอยู่กันได้




#1138202 Make me a German จาก Face คุณ กรณ์

โดย Tom PR on 18 เมษายน พ.ศ. 2557 - 11:09

อีกเรื่องที่เยอรมันกับไทยต่างกันก็คือแนวความคิดเรื่องพลังงาน

ของเยอรมัน ค่าไฟฟ้าตามบ้านเรือนจะแพงมาก นัยว่าเน้นให้คนประหยัดการใช้พลังงาน แต่ค่าไฟฟ่าตามโรงงานสถานประกอบการจะถูกมากๆ ถ้าจำไม่ผิดเรียกได้ว่าครึ่งต่อครึ่งเลยก็ว่าได้ อันนี้ก็เหมือนกัน ประมาณว่าสถานประกอบการเป็นที่ประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดกระบวนการที่ต่อเนื่องในระบบเศรษฐกิจ เน้นให้คนเข้าไปใช้เวลาทำงานอยู่ในสถานประกอบการ ไม่อยากให้ใครนอนอยู่บ้าน ว่างั้น...

เป็นคำตอบที่ค่อนข้างแย่และไม่สามารถเอามาเปรียบเทียบกันกับไทยได้ เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นเป็นเอกชนครับ ขณะที่ของไทยเป็นของรัฐบาล 100%

 

ถ้าเคยอยู่เยอรมันจริงต้องรู้ว่าคนเยอรมันสามารถเลือกจ่ายค่าไฟฟ้าได้ http://www.verivox.d...preisvergleich/ มีหลายบริษัทให้เลือกหลากหลายราคา การเปิดเสรีไฟฟ้าของเยรมันนั้นเริ่มตั้งแต่ปี 1998

 

ในขณะที่ไทยต้องใช้จาก กฟผเท่านั้น ถ้าไม่ใช้ต้องผลิตเอง และต้องขอนักการเมืองในการผลิตไฟฟ้า (ถ้าไม่จ่ายใต้โต๊ะก็ฝันไปก่อน) ยกเว้นแต่ถ้าใช้ solar roof ไม่ต้องขอ

 

Germany faces a crucial energy choice
Q1 - 2014

 

It is difficult to overestimate the importance of the German economic engine to Europe and the world. When Germany faced a rigid labor market a decade ago, policymakers, corporate leaders, and labor organizations cooperated to address the problem, setting the stage for the nation’s formidable export performance in subsequent years. That performance sustained the European Union through the ruinous global financial crisis of 2008 and its lingering aftermath.

Now, however, Germany faces another decision with significant implications for its own economic future, as well as Europe’s. It must determine how to provide energy at competitive costs while also addressing a strong mandate to reduce carbon-dioxide emissions. An analysis of the linkages between Germany’s energy costs and economic performance in the context of its greenhouse gas policy and projections reveals that a steady but modulated overhaul of energy supplies, especially renewables, would enable the nation to change “achieve key energy policy goals” to “continue to reduce emissions” while not undermining its vital export economy.

Germany’s energy problem is basic. Rising electricity costs are threatening the health of the nation’s export economy, which accounts for about half of the nation’s GDP. The German export economy is also highly sensitive to any changes in its competitive position relative to that of rival economies.

Rising electricity prices in Germany, combined with flat North American energy prices, are making German products less competitive and forcing companies to relocate operations to other countries. Across the board, German industrial giants, and in particular energy-intensive companies, have begun moving abroad, gradually weakening the industrial base.

An analysis of two diverging energy-price scenarios shows the consequences for Germany’s economy. The first is a high-price path in which renewables are rapidly developed while a regime of energy intensive German industrial-policy protections are rapidly dismantled. The second is a competitive-energy scenario that assumes a moderate pace of renewables development and an increased role for gas and other thermal generation while maintaining industrial exemptions.

 

IHSQ-Insight-Germany-chart.png

The latter path would enhance the growth potential for the entire German economy, while the high-price approach would lead to considerable economic losses. Germany’s GDP in 2030 would be 6.2% higher under the competitive-energy scenario, for instance, while personal income would be 6.3% higher. Further research will determine the potential of increased European gas production to move Germany towards a lower cost, economically competitive—and low carbon—future.

 

มิหนำซ้ำที่ว่าไฟฟ้าสำหรับโรงงานสถานประกอบการจะราคาถูกมากก็ไม่จริง จนทำให้ผู้ผลิตหลายรายที่ใช้ไฟฟ้ามากต้องยกฐานการผลิตไปต่างประเทศ สาเหตุนั้นเกิดเนื่องมาจากรัฐบาลเยอรมันสนับสนุนไฟฟ้าทดแทน พลังงานไฟฟ้าของเยอรมันนั้นแพงกว่าอเมริกาถึง 2-3 เท่าดูได้จากกราฟ

 

หากเยอรมันยังมีแนวโน้มที่จะใช้ ไฟฟ้าในราคาแพงจากการใช้พลังงานทดแทนอยู่ จะทำให้เศรษฐกิจของเยอรมันตกต่ำลง ในขณะที่การปล่อยให้มีการแข่งขันระหว่างผู้ผลิตไฟฟ้าเท่านั้นที่จะทำให้พลังงานไฟฟ้าราคาถูกลง

 

ที่มา http://www.ihs.com/t...many-faces.aspx




#1136739 ระวังเราใกล้เข้าจุด “ชินชากับวิกฤติ”

โดย Tom PR on 16 เมษายน พ.ศ. 2557 - 17:41

ในอีกแง่ ถ้าคุณลองสังเกตดูการที่รัฐบาลนั้นไม่ได้บริหารประเทศ กลับไม่มีเหตุการณ์ข้าวของ สินค้าราคาแพง

 

ในสมัยประชาธิปปัตย์น้ำมันพืชขาดตลาด น้ำมันพืชราคาแพงทะลุฟ้า ในสมัยเพื่อไทย แพงทั้งแผ่นดิน

 

มีแต่ข่าวกลัวว่า GDP จะน้อยซึ่งเป็นการคาดการณ์เท่านั้น เพราะ GDP ส่วนใหญ่ที่ได้มาจากการคำนวนมาจาก การใช้จ่ายจากรัฐบาล (government spending) เนื่องจากเป็นรัฐบาลรักษาการณ์จึงใช้จ่ายมากๆเพื่อกระตุ้น GDP แบบหลอกๆไม่ได้

 

จริงๆแล้ว ถ้าลดการเก็บภาษีลง แล้วให้มีรัฐบาลที่ทำอะไรไม่ได้แบบนี้ไปนานๆ กลับจะเป็นผลดีเสียมากกว่า เพราะไม่มีอะไรมาบิดเบือนตลาด

 

GDP (Y) is the sum of consumption (C ), investment (I), government spending (G) and net exports (X – M)

 

Y = C + I + G + (X − M)




#1136683 Make me a German จาก Face คุณ กรณ์

โดย Tom PR on 16 เมษายน พ.ศ. 2557 - 16:05

ผมว่าเราต้องวิพาย์กกันหน่อยล่ะครับ
ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นในเยอรมัน
มันมี"ต้นตอ"มาจากอะไร?

มันถึงหมุนไปในวงจร อารยะ?

ตั้งกระทู้วิพากย์ใหม่ก็ดีครับ

คือในแต่ละประเทศจะมี"ปัญหาสังคม" อยู่แล้ว
ซึ่งจะมีมากกว่า1เรื่องเป็นปกติ

แต่ที่ผมสงสัยคือ ประเทศที่ภาพรวมเป็นระเบียบ อย่างเยอรมัน
ญี่ปุ่น มันมีต้นตอมาจากอะไร? รัฐบาล? ประชาชน? สวัสดิการประชาชน?
สาธารณูปโภค? การศึกษา? การบังคับใช้กฏหมาย?ตำแหน่งงาน?

หรืออะไร?

ใครพอรู้บอกทีครับ ว่ามันเริ่มจากอะไร

ได้ตอบไปแล้ว article ก็มีไว้ให้อ่าน ต้นตอมาจากการพัฒนาระเบียบทางเศรษฐกิจโดยปล่อยให้เป็นไปตามตลาดเสรี นั่นรวมไปถึงการล้มเลิกการควบคุมราคาสินค้า และการลดการเก็บภาษี ไปอ่านหนังสือ textbook กี่เล่มก็พูดเหมือนกัน

 

สาเหตุของ ความมหัศจรรย์ทางเศรษฐกิจของคนเยอรมันนั้นคุณสามารถอ่านได้ที่ Wirtschaftswunder

โดย wirtshaftswunder มีพื้นฐานจากการรับแนวคิดแบบ Ordoliberalism มาใช้ (Ordoliberalism is the German variant between social liberalism and neoliberalism that emphasizes the need for the state to ensure that the free market produces results close to its theoretical potential)

 

และบุคคลผู้อยู่เบื้องหลังคือ Ludwig ErhardGerman chancellor

 

ในขณะที่ปัญหาที่เยอรมันประสพอยู่มากตอนนี้มากจากนโยบาย ประชานิยมทั้งสิ้น ของแพง ต้องห้ามแพง ทุกอย่างต้องฟรี