ผมเสนออย่างนี้ ครับ ในเมื่อ เรากำลังหา ความเป็นกลางทางการเมือง กันอยู่
ก็ ควรจะเสนอ นิยาม ของความเป็นกลางทางการเมือง ในความคิด ความเห็นของแต่ละท่าน กันก่อน
ไม่ใช่จะมา บอกกันว่า มีหรือ ไม่มี ทั้งๆที่ ยังไม่รู้เลย ว่า ไอ้ที่มีหรือไม่ นั้น มัน คือ อะไร?
ผมยิ่งต้องบอกเลยว่าเป็นกลางทางการเมือง
เพราะนอกจากผมจะไม่รู้ว่า ผมจะได้ประโยชน์อะไรจากนโยบายต่างๆ
ผมก็ยังไม่รู้ด้วยว่าใครจะได้
แต่คำว่าไม่รู้แปลว่า ไม่มีหลักฐานชัดเจนนะครับ
คนที่นี่ พูดย้ำอยู่แต่ว่า อ่านดูก็จะรู้เอง หรือ คิดดูจะรู้เอง หรือ......
ก็น้อยครับที่จะบอกว่า "ประโยคไหนกันแน่" ที่ทำให้รู้ได้ว่า อะไรเป็นอะไร
มีคนอ่านข่าว 10 เมษา แล้วบอกว่า ไม่เกลียดทักษิณนี่ ไม่ใช่คนแล้ว
อีกคนก็บอกว่า อ่านข่าววันที่ 10 เมษ แล้ว เกลียดมาร์คมาก / เกลียดทหาร / เกลียดสลิ่ม / เกลียดเสื้อเหลือง
สรุปว่า ถ้าผมเป็นกลาง ผมต้องเกลียด หรือไม่เกลียดอย่างไร?
มันไม่ใช่ไงครับ
สำหรับผม อ่านข่าววันที่ 10 เมษ แล้ว คิดอย่างไร (ตามเหตุผลที่มี)
แม้จะคิดว่า ทักษิณจ้างมาทั้งหมด หรือเป็นความผิดพลาดของทหารอย่างไร
ผมก็ยังมองว่า ให้ความเห็นแบบ เป็นกลางทางการเมือง ครับ
ผมเสนออย่างนี้ ครับ ในเมื่อ เรากำลังหา ความเป็นกลางทางการเมือง กันอยู่
ก็ ควรจะเสนอ นิยาม ของความเป็นกลางทางการเมือง ในความคิด ความเห็นของแต่ละท่าน กันก่อน
ไม่ใช่จะมา บอกกันว่า มีหรือ ไม่มี ทั้งๆที่ ยังไม่รู้เลย ว่า ไอ้ที่มีหรือไม่ นั้น มัน คือ อะไร?
เพราะเขาบอกว่า ไม่มี ก็เลย ไม่นิยามอะไรเลย ไงครับ
จริงๆ แม้จะบอกว่าไม่มี ก็ต้องนิยามได้ถูกป่ะ เช่น
ต้องเป็นคนที่ไม่มีความคิดอะไรเลย
เพราะคนที่มีความคิดเห็นคือคนที่ไม่กลาง
ถ้าคุณหา นิเสธ (คุณสมบัติที่แย้งกัน) ไม่ได้ แปลว่า ไม่คุณหาคุณสมบัติ ผิดทาง ก็คือ กำหนด domain set ผิดทางแหละครับ
Edited by เคนอิจิ, 16 February 2013 - 15:42.