รับทุกจ๊อบ โผล่ทุกงาน ......... ท่าทางรายได้จะดีนะ อาชีพนี้
- RiDKuN_user and เกลียดคุณแม้วจังครับ like this
โดย Bayonet
on 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 09:35
รับทุกจ๊อบ โผล่ทุกงาน ......... ท่าทางรายได้จะดีนะ อาชีพนี้
โดย คนไทยคนหนึ่ง
on 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 05:03
ปฏิรูปตำรวจ :
ปัญหาโลกแตก (1) โดย
วสิษฐ เดชกุญชร
อาชีพตำรวจเป็นอาชีพที่อาภัพที่สุดอาชีพหนึ่ง คนที่ตะเกียกตะกายอยากเป็นตำรวจนั้น โดย
หลักการก็คือผู้ที่รักการผจญภัย
เต็มใจที่จะเสี่ยงชีวิตเสี่ยงอันตรายเพื่อป้องกันชีวิตและทรัพย์สินของ
ผู้อื่นให้พ้นจากโจรภัย
ตำรวจจึงควรเป็นผู้ที่ชาวบ้านรัก แต่เอาเข้าจริง ๆ
ตำรวจกลับเป็นผู้ที่คนส่วน มากเกลียดกลัว ไม่อยากเข้าใกล้
ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะตำรวจเป็นจำนวนไม่น้อยใช้ตำแหน่งหน้าที่ของตน หากินโดยมิชอบ
รีดไถบังคับเอาทรัพย์เอาประโยชน์แม้จากสุจริตชนที่ไม่มีความผิด
ตำรวจถูกรังเกียจอยู่แล้ว
เมื่อเอาตำรวจไปใช้ในรูปของการบังคับ เช่นในการปราบจลาจลหรือ ควบคุมฝูงชน
อย่างที่รัฐบาลเคยทำมาแล้ว ประชาชนจึงยิ่งรังเกียจตำรวจมากขึ้น รัฐบาลหลายชุด พยายามที่จะแก้ไขหรือปฏิรูปตำรวจ
แต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จ
ในเดือนพฤศจิกายน
พ.ศ.2549 สมัยที่ พล.อ. สุรยุทธ จุลานนท์ เป็นนายกรัฐมนตรี ผมได้รับ
แต่งตั้งให้เป็นประธานคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจ คณะกรรมการชุดนั้นเป็นชุดใหญ่ มี จำนวนกรรมการถึง
28 คน
มีนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่ทั้งในและนอกราชการร่วมเป็นกรรมการหลายคน
รวมทั้งผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติด้วย แบ่งออกเป็นคณะอนุกรรมการ
4-5 คณะตามลักษณะของงาน ก่อนการประชุมมีการสำรวจและรับฟังความเห็นของประชาชนทั่วประเทศ คณะกรรมการใช้เวลา ประชุมอยู่ประมาณหนึ่งปีก็ทำงานเสร็จ
โดยร่างเป็นกฎหมาย 2 ฉบับเสนอนายกรัฐมนตรี
ฉบับหนึ่ง แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติฉบับที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน อีกฉบับหนึ่งเป็นร่างกฎหมายว่า ด้วยคณะกรรมการพิจารณาเรื่องร้องทุกข์เกี่ยวกับตำรวจ นายกรัฐมนตรีนำร่างกฎหมายทั้งสองฉบับ ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา
เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้วจึงส่งไปให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณา
ก่อนที่จะเสนอรัฐสภา
ความพยายามของคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจนั้น
พอเริ่มต้นก็ได้รับการคัดค้านเสีย แล้ว
ผู้คัดค้านก็ไม่ใช่ใครอื่น แต่เป็นตำรวจนั่นเอง การคัดค้านทำอย่างเป็นล่ำเป็นสัน
ในเดือนกรกฎาคม 2550
พันตำรวจเอกผู้เป็นตัวตั้งตัวตีในการคัดค้านทำหนังสือประท้วงถึงและขอเข้าพบนายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรียอมให้คณะผู้คัดค้านเข้าพบ
และยอมให้มีการแก้ไขในคณะกรรมการกฤษฎีกา
ผู้บัญชา การตำรวจแห่งชาติจึงแต่งตั้งคณะทำงาน มี พล.ต.อ.สวัสดิ์
อมรวิวัฒน์ เป็นประธาน ยกร่างกฎหมาย เสนอให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณา แข่งกันกับร่างของคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจ ในที่สุดคณะกรรมการกฤษฎีกาจึงได้ร่างกฎหมายสุดท้าย
(อันเป็นผลของการยำใหญ่ร่างทั้งของคณะ กรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจแห่งชาติและร่างของคณะผู้คัดค้าน) ซึ่งรัฐบาลได้เสนอให้สภานิติ บัญญัติพิจารณาเมื่อต้นเดือนพฤศจิกายน
2550
ในขณะเดียวกัน
ผู้คัดค้านยังทำการรณรงค์อย่างแข็งขัน ด้วยการวิ่งเต้นขอพบสมาชิกสภานิติ
บัญญัติแห่งชาติ เพื่อผลักดันให้ช่วยคัดค้านร่างกฎหมายตำรวจ
และเมื่อปรากฏว่าสภารับหลักการและ
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นเพื่อพิจารณาร่างกฎหมายฉบับนั้น
ผู้คัดค้านก็ยื่นคำร้องต่อศาลปกครอง กลาง ขอให้ศาลไต่สวนฉุกเฉินและสั่งคุ้มครองชั่วคราว
แต่ศาลยกคำร้อง ด้วยเหตุผลว่าเป็นอำนาจของ
คณะรัฐมนตรีที่จะเสนอร่างให้สภาพิจารณาได้
จะเป็นเพราะการคัดค้านอย่างสุดเหวี่ยงหรือไม่ก็ตาม
ประจวบกับสภานิติบัญญัติแห่งชาติ จะหมดอายุลง
และสภายุติไม่รับพิจารณาร่างกฎหมายต่อไปอีกในตอนปลายเดือนธันวาคม 2550
ความพยายามที่จะปฏิรูปตำรวจในสมัยของรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
จึงจบลงเพียงเท่านั้น
หลังจากนั้น
พันตำรวจเอกผู้เป็นตัวตั้งตัวตีในการคัดค้านการปฏิรูปตำรวจได้ออกหนังสือเวียน
ถึงตำรวจตั้งแต่ระดับรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติลงไปจนถึงสารวัตรทั่วประเทศ นอกจากจะ
ประณามคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจด้วยถ้อยคำหยาบคายแล้ว
ผู้ออกหนังสือเวียนยังขอรับ บริจาคเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการ
“ล้มการปรับโครงสร้างตำรวจ” โดยอ้างว่าได้ออกเงินส่วนตัวไปแล้ว กว่าหนึ่งแสนบาท มีผู้บริจาคเงินตามที่ขอหลายสิบราย รวมเป็นเงินหลายแสนบาท ผู้บริจาคบางคนก็ คือผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
รองผู้บัญชาการ ตำรวจแห่งชาติ และผู้บัญชาการตำรวจภาค (ในสมัยนั้น) หลายคน บางคนเป็นกรรมการอยู่ในคณะกรรมการพัฒนาระบบงานตำรวจด้วย
พอถึง
พ.ศ.2552 สมัยรัฐบาลที่มีคุณอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นนายกรัฐมนตรี
คุณอภิสิทธิ์ก็แต่งตั้ง ผมให้เป็นประธานคณะกรรมการปฏิรูปงานตำรวจอีก แต่คราวนี้รัฐบาลกำหนดอายุของตนเองไว้เพียง
หนึ่งปี ก่อนที่จะยุบสภาเพื่อให้มีการเลือกตั้งทั่วไป คณะกรรมการจึงมิได้มีการเสนอการปฏิรูปใหม่ แต่
ได้หยิบยกเอาบางประเด็นของการปฏิรูปเดิมเสนอนายกรัฐมนตรีเป็นประเด็น ๆ ไป
และแทนที่จะนำเข้า สภาผู้แทนราษฎร
คุณอภิสิทธิ์ก็รับเอาข้อเสนอบางข้อที่ท่านเห็นชอบไปสั่งสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้
รับปฏิบัติ ในฐานะที่ท่านเป็นประธานคณะกรรมการนโยบายตำรวจแห่งชาติ สมัยนั้นจึงมีการ “ปฏิรูป”
ตำรวจอยู่บ้างในบางด้าน
ในเดือนกรกฎาคม
พ.ศ.2556 น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี มีคำสั่งแต่งตั้งพันตำรวจ
เอกผู้เป็นตัวตั้งตัวตีในการคัดค้านการปฏิรูปตำรวจเมื่อปี 2550-2551
เป็นประจำสำนักเลขาธิการนายก รัฐมนตรี
ถึงตอนนั้นผมจึงได้เข้าใจว่าการปฏิรูปตำรวจที่แล้วมาไม่สำเร็จเพราะใครและเพราะอะไร.
โดย หนูอ้อย
on 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 19:08
ดูรูปแล้วไม่ป่าเถื่อนนะ สำหรับคนร้อนใจก็ย่อมหงุดหงิดเป็นธรรมดา
ทุกวันเห็นทหารหลีกเลี่ยงการปะทะพวกม็อบไม่ได้ดังใจเลยไปลงที่วัตถุ
เดี๋ยวผลงานเศรษฐกิจ และโมเดล "สภาสมานฉันท์" ได้ผล
พวกม็อบอนุสาวรีย์ก็อาจดูเป็นตัวตลกไปเองเพราะสังคมไม่เอาด้วย
โดย พระฤๅษี
on 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 11:12
โดย Bookmarks
on 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 10:05
โดย ชาวสวน
on 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 19:01
อ่ะ เก็บภาพหมอทหารน่ารักๆ มาฝาก
คุณหมอน่ารักผู้กองคนสวย
เรืออากาศเอกนะคนนี้
คุณหมอ ออกลาดตระเวน ดูแลทหารที่อยู่เวร
แพทย์พระมงกุฎเกล้า, ปี4
คนนี้ร้อยโทแล้ว
คุณหมอ/ผู้หมวด [ เรือโท ทพญ.]
" นักบินหญิงเเห่งราชนาวีไท "
เรืออากาศเอกหญิง แพทยฺหญิงเชียวนะคนนี้
พอก่อนเดี๋ยวหนุ่มๆ สรท จะหาเรื่องป่วยให้หมอทหารน่ารักๆเหล่านี้งานหนักขึ้น
จากกระทู้ เกาะติด
เอามารวมไว้ด้วยกัน
โดย pream
on 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 16:33
โดย ณ ธาร
on 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 22:00
โดย ผึ้งน้อยตุหรัดตุเหร่
on 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 03:30
เจออีกภาพจากเพื่อนเสรีไทยครับ
Ple Sathorn
ดูสีหน้ามันสิครับ เพื่อนๆว่ามันมีความสุขหรือทุกข์กันล่ะครับ
โดย tonythebest
on 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 21:25
น่าเสียดายที่เสียงถ่มน้ำลายของผมไม่อาจบรรยายออกมาเป็นภาษาเขียนได้
งั้น เอาเป็นรูปไปแทนสิครับ
โดย ธีรเดชน้อย
on 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 21:13
สงสัยครับ คำสั่งลงวันที่ 26 ?
คำสั่งย้อนหลัง เพิ่งมาประกาศไงครับ อาจเป็นเพราะท่านเพิ่งเซ็นตอนดึก หรือ เมื่อวาน ยังไม่ได้ประกาศในวันนั้น
ที่สงสัยอย่างแรกคือ หากออกมาเมื่อวานวันนี้น่าจะเป็นข่าวแล้วทุกสื่อฯ
อย่างที่ 2 คือ คำสั่ง จำนวนฉบับน้อยกว่า ประกาศครับ จากกระทู้ท่าน ริดกุน http://webboard.seri...่/#entry1190442
อย่างที่ 3 จากเพจนี้
ฉบับที่ 42 แต่เป็นประกาศ ส่วนกระทู้ท่าน ริดกุน คำสั่งเพิ่งถึง ฉบับ 19 เลยสงสัยครับ
เพิ่มเติมที่มารูปครับ
ประกาศ คสช. ฉบับที่ 42/2557 เรื่องแก้ไขห้วงเวลา ห้ามออกนอกเคหะสถาน จาก 22.00-05.00 เป็นเวลา 00.01-04.00 เริ่ม 28 พ.ค. 2557 เป็นต้นไป #NOW26 #ktnews
โดย อานุง อัน รามา
on 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 20:44
โดย yenmanovic
on 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 - 14:47
Community Forum Software by IP.Board 3.4.6
Licensed to: serithai.net